title
stringlengths
8
870
text
stringlengths
0
298k
__index_level_0__
int64
0
54.3k
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3847 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโพลิไวนิลคลอไรด์เรซิน และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3847 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โพลิไวนิลคลอไรด์เรซิน และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน -------------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโพลิไวนิลคลอไรด์เรซิน มาตรฐานเลขที่ มอก. 632 - 2538 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2101 (พ.ศ. 2538) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโพลิไวนิลคลอไรด์เรซิน มาตรฐานเลขที่ มอก. 632 - 2538 ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2538 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพอลิไวนิลคลอไรด์เรซิน มาตรฐานเลขที่ มอก. 632 - 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 90 วัน นับแต่เว้นที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,756
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3603 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเคเบิลใยแก้วนำแสง เล่ม 3-30 : เคเบิลนอกอาคาร - ข้อกำหนดคุณลักษณะเป็นรายกลุ่มสำหรับเคเบิลนำ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3603 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เคเบิลใยแก้วนําแสง เล่ม 3-30 : เคเบิลนอกอาคาร - ข้อกําหนดคุณลักษณะเป็นรายกลุ่ม สําหรับเคเบิลนําแสงโทรคมนาคมสําหรับการต่อข้ามทะเลสาบและแม่น้ํา และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เคเบิลเส้นใยนําแสง เล่ม 3-30 : เคเบิลนอกอาคาร - ข้อกําหนดคุณลักษณะเป็นรายกลุ่ม สําหรับเคเบิลเส้นใยนําแสงโทรคมนาคมสําหรับผ่านทะเลสาบและแม่น้ํา ---------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เคเบิลใยแก้วนําแสงเล่ม 3-30 : เคเบิลนอกอาคาร - ข้อกําหนดคุณลักษณะเป็นรายกลุ่มสําหรับเคเบิลนําแสงโทรคมนาคมสําหรับการต่อข้ามทะเลสาบและแม่น้ํา มาตรฐานเลขที่ มอก.2167-2547 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3269 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เคเบิลใยแก้วนําแสง เล่ม 3-30 : เคเบิลนอกอาคาร - ข้อกําหนดคุณลักษณะเป็นรายกลุ่มสําหรับเคเบิลนําแสงโทรคมนาคมสําหรับการต่อข้ามทะเลสาบและแม่น้ํา ลงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เคเบิลเส้นใยนําแสง เล่ม 3-30 : เคเบิลนอกอาคาร - ข้อกําหนดคุณลักษณะเป็นรายกลุ่มสําหรับเคเบิลเส้นใยนําแสงโทรคมนาคมสําหรับผ่านทะเลสาบและแม่น้ํา มาตรฐานเลขที่ มอก.2167-2549 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,757
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ---------------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2539) ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2539 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้ง่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 2. แผ่นไม้ อัด | มอก.178-2549 | ขนาด | 300 | | | วัสดุและการทํา | 200 | | ความชิ้น | 400 | | การติดกาว | 1,000 | | ความด้านแรงดัด และโมดุลัสยืดหยุ่น | 500 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,758
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ----------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2538) ลงวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2538 เรื่อง กําหนดอัตราค่าใช้ง่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 8. ดินสอสี | มอก.1147-2549 | ขนาด | 200 | | | ลักษณะทั่วไป | 100 | | การติดแน่นของไส้ดินสอกับด้ามดินสอ | 200 | | ความโค้งงอ | 200 | | ระยะเยื้องศูนย์ | 200 | | สารเป็นพิษ :พลวง สารหนู แบเรียม แคดเมียมโครเมียม ตะกั่ว ปรอท ซิลีเนียม | 4,800 | | การบรรจุ | 50 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,759
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ----------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2538) ลงวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2538 เรื่อง กําหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 9. ไส้ดินสอสี | มอก.1148-2549 | ขนาด : เส้นผ่านศูนย์กลาง | 100 | | | ลักษณะทั่วไป | 50 | | ความด้านแรงดัดโค้ง | 200 | | ความคงทนของสีต่อแสง | 1,100 | | สารเป็นพิษ :พลวง สารหนู แบเรียม แคดเมียมโครเมียม ตะกั่ว ปรอท ซิลีเนียม | 4,800 | | การบรรจุ | 50 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,760
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3604 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลอดมีบัลลาสต์ในตัวสำหรับการให้แสงสว่างทั่วไป
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3604 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หลอดมีบัลลาสต์ในตัวสําหรับการให้แสงสว่างทั่วไป ------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลอดมีบัลลาสต์ในตัว สําหรับการให้แสงสว่างทั่วไป มาตรฐานเลขที่ มอก.2233-2548 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,761
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม --------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2538) ลงวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2538 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 13. น้ํามันสน | มอก.466-2550 | ลักษณะทั่วไป | 100 | | | สี | 300 | | ความหนาแน่นสัมพันธ์ | 600 | | ดัชนีหักเห | 600 | | การกลั่น | 1,100 | | ค่าของกรด | 600 | | จุดวาบไฟ | 350 | | น้ําหนักสุทธิ | 100 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,762
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 18 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ----------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 19 (พ.ศ. 2533) ลงวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 7. สบู่ซักล้าง | มอก.28 - 2550 | ลักษณะทั่วไป | 100 | | | ไขมันทั้งหมด | 800 | | ไขมันที่ไม่ได้ทําปฏิกิริยากับด่าง | 1,000 | | ไฮดรอกไซด์อิสระ | 600 | | สารที่ไม่ละลายในเอทานอล | 800 | | การบรรจุ | ภาชนะบรรจุ | 100 | | น้ําหนักสุทธิ | 500 | | เครื่องหมายและฉลาก | 100 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,763
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 19 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 19 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 281 (พ.ศ. 2520) ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2520 เรื่อง กําหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการทรวงสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 8. เซลแล็ก วาร์นิช | มอก.149 - 2550 | ระยะเวลาแห้งแข็ง | 250 | | | ตัวทําละลาย | - | | สารที่ไม่ระเหย | 600 | | คุณลักษณะของสารที่ไม่ระเหย | ค่าไอโอดีน | 800 | | สารที่ไม่ละลายในแอลกอฮอล์ร้อน | 800 | | ขี้ผึ้ง | 800 | | เถ้า | 600 | | ปริมาตรสุทธิ | 250 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,764
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 23 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 23 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม -------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 21 (พ.ศ. 2536) ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 เรื่อง กําหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 4. สารกระจาย กักฟอง อากาศ สําหรับ คอนกรีต | มอก.874 - 2548 | คุณลักษณะใช้งาน | การเยิ้ม | 500 | | | ระยะเวลาการก่อตัว | 500 | | ความต้านแรงอัด | 500 | | ความต้านแรงดัด | 500 | | คุณลักษณะทางฟิสิกส์และปริมาณสารเคมี | สิ่งที่เหลือจากการอบ | 500 | | ความหนาแน่นสัมพันธ์(เฉพาะชนิดเหลว) | 300 | | ปริมาณอากาศ - ด่าง | 300 | | ปริมาณอากาศในมอร์ดาร์ | 3,200 | | คลอไรด์ | 350 | | | | การบรรจุ : น้ําหนักสุทธิ | 200 | | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,765
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3605 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลอดมีบัลลาสต์ในตัวสำหรับการให้แสงสว่างทั่วไป เฉพาะด้านความปลอดภัย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3605 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หลอดมีบัลลาสต์ในตัวสําหรับการให้แสงสว่างทั่วไป เฉพาะด้านความปลอดภัย ------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลอดมีบัลลาสต์ในตัว สําหรับการให้แสงสว่างทั่วไป เฉพาะค้านความปลอดภัย มาตรฐานเลขที่ มอก.2234-2548 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,766
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม --------------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 29 (พ.ศ. 2537) ลงวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2537 เรื่อง กําหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 5. น้ํามันสน สําหรับ อุตสาหกรรม ยา | มอก.1212 - 2549 | ลักษณะทั่วไป | 100 | | | สี | 300 | | ดัชนีหักเห | 800 | | การละลายในเอทานอลที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส | 800 | | ความหนาแน่นที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส | 600 | | ส่วนที่เหลือจากการระเหย | 800 | | น้ําหนักสุทธิ | 100 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,767
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 25 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 25 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ---------------------------------- อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 16 (พ.ศ. 2538) ลงวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2538 เรื่อง กําหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไว้ ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 5. พาราฟินเหลว สําหรับ อุตสาหกรรม ยาและ เครื่องสําอางค์ | มอก.1247 - 2549 | ลักษณะชี้บ่ง | 800 | | | ลักษณะทั่วไป | 100 | | ความเป็นกรดหรือความเป็นด่าง | 400 | | ความหนาแน่นสัมพันธ์ | 600 | | ความหนืดคินิแมติกที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส | 600 | | พอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน | 800 | | สารที่สลายเป็นคาร์บอนได้ง่าย | 1,000 | | พาราฟินแข็ง | 600 | | ปริมาณสุทธิ | 100 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,768
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 29 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 29 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ------------------------------ อื่นๆ - ตามที่ได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 26 (พ.ศ. 2544) ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 เรื่อง แก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไปแล้ว นั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2548 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไว้ดังต่อไปนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | เลขที่มาตรฐาน | รายละเอียดการตรวจสอบ | อัตราค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง1 ชุด (บาท) | หมายเหตุ | | 5. โซเดียม ไฮดรอกไซด์ ประเภท อุตสาหกรรม | มอก.150 - 2549 | ลักษณะทั่วไป | 600 | | | โซเดียมไฮดรอกไซด์ | 600 | | โซเดียมคาร์บอเนต | 600 | | โซเดียมคลอไรด์ | 600 | | ไอร์ออน (III) ออกไซด์ | 600 | | สารที่ไม่ละลายน้ํา | 400 | | สารออกซิไดส์ | 600 | | ปรอท | 1,000 | | การบรรจุ : ปริมาณสุทธิ | 100 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,769
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3864 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกับดักเสิร์จ เล่มที่ 4 : กับดักเสิร์จออกไซด์โลหะไม่มีช่องว่างสำหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3864 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กับดักเสิร์จ เล่มที่ 4 : กับดักเสิร์จออกไซด์โลหะไม่มีช่องว่างสําหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ ---------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกับดักเสิร์จ เล่มที่ 4 : กับดักเสิร์จออกไซด์โลหะไม่มีช่องว่างสําหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2366 - 2551 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,770
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3865 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมบริภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่อาจมีสารอันตราย : การจำกัดการใช้สารอันตรายบางชนิด
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3865 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม บริภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่อาจมีสารอันตราย : การจํากัดการใช้สารอันตรายบางชนิด --------------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมบริภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่อาจมีสารอันตราย : การจํากัดการใช้สารอันตรายบางชนิด มาตรฐานเลขที่ มอก. 2368 - 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,771
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3606 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรถยนต์ขนาดใหญ่ที่ใช้เครื่องยนต์แบบจุดระเบิดด้วยการอัดเฉพาะด้านความปลอดภัย : สารมลพิษจากเครื่องยนต์ ระดับที่ 4
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3606 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม รถยนต์ขนาดใหญ่ที่ใช้เครื่องยนต์แบบจุดระเบิดด้วยการอัด เฉพาะด้านความปลอดภัย : สารมลพิษจากเครื่องยนต์ ระดับที่ 4 --------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสากรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรถยนต์ขนาดใหญ่ที่ใช้เครื่องยนต์แบบจุดระเบิดด้วยการอัด เฉพาะด้านความปลอดภัย : สารมลพิษจากเครื่องยนต์ ระดับที่ 4 มาตรฐานเลขที่ มอก.2315-2549 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,772
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3866 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มฉีดยาปราศจากเชื้อชนิดใช้ครั้งเดียว
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3866 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เข็มฉีดยาปราศจากเชื้อชนิดใช้ครั้งเดียว ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มฉีดยาปราศจากเชื้อชนิดใช้ครั้งเดียว มาตรฐานเลขที่ มอก. 1398 - 2540 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2249 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเข็มฉีดยาปราศจากเชื้อชนิดใช้ครั้งเดียว ลงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เข็มฉีดยาปราศจากเชื้อชนิดใช้ครั้งเดียว มาตรฐานเลขที่ มอก. 1398 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,773
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3867 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสายต่อใช้ในการแพทย์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3867 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สายต่อใช้ในการแพทย์ ---------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสายต่อใช้ในการแพทย์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2385 - 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,774
ประกาศสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบสังกะสีโดยกรรมวิธีทางไฟฟ้าแผ่นม้วน แผ่นแถบ และแผ่นตัดต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
ประกาศสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เรื่อง การกําหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบสังกะสีโดยกรรมวิธีทางไฟฟ้า แผ่นม้วน แผ่นแถบ และแผ่นตัด ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ---------------------------------- อื่นๆ - เพื่อความปลอดภัยและป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดแก่ประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศ คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเห็นสมควรกําหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบสังกะสีโดยกรรมวิธีทางไฟฟ้า แผ่นม้วน แผ่นแถบ และแผ่นตัด ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มาตรฐานเลขที่ มอก. 2223-2548 โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ก่อนตราพระราชกฤษฎีกา สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จึงให้มีการรับฟังความคิดเห็นของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องตามมาตรฐานดังกล่าว เพื่อประกอบการพิจารณาดําเนินการตราพระราชกฤษฎีกาต่อไป ทั้งนี้ ผู้ประสงค์จะแสดงความคิดเห็นให้แสดงความคิดเห็นพร้อมทั้งเหตุผล โดยระบุชื่อ ที่อยู่ของผู้ที่แสดงความคิดเห็นต่อสํานักงาน ฯ ภายในสามสิบวัน นับแต่วันประกาศ ผู้ที่ประสงค์จะทราบรายละเอียดการกําหนดมาตรฐานดังกล่าว โปรดติดต่อขอดูได้ที่กองนิติการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม หรือ www.tisi go.th จึงประกาศมาให้ทราบทั่วกัน ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2550 ไพโรจน์ สัญญะเดชากุล เลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
7,775
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3868 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กระบายความร้อนด้วยน้ำ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3868 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กระบายความร้อนด้วยน้ํา ------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กระบายความร้อนด้วยน้ํา มาตรฐานเลขที่ มอก. 787 - 2531 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1396 (พ.ศ. 2531) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กระบายความร้อนด้วยน้ํา ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2531 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ดีเซลขนาดเล็กระบายความร้อนด้วยน้ํา มาตรฐานเลขที่ มอก. 787 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,776
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3869 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบห้ามล้อของรถยนต์ : เฉพาะด้านความปลอดภัย และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมห้ามล้อสำหรับยานยนต์ประเภทรถยนต์นั่ง (M) รถบรรทุก (N) และรถพ่วง (O)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3869 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบห้ามล้อของรถยนต์ : เฉพาะด้านความปลอดภัย และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ห้ามล้อสําหรับยานยนต์ประเภทรถยนต์นั่ง (M) รถบรรทุก (N) และรถพ่วง (O) -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบห้ามล้อของรถยนต์ : เฉพาะด้านความปลอดภัย มาตรฐานเลขที่ มอก. 1466 - 2540 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2476 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบห้ามล้อของรถยนต์ : เฉพาะด้านความปลอดภัย ลงวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมห้ามล้อสําหรับยานยนต์ประเภทรถยนต์นั่ง (M) รถบรรทุก (N) และรถพ่วง (O) มาตรฐานเลขที่ มอก. 1466 - 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,777
ประกาศสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางนอกรถจักรยานยนต์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน และกำหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางในรถจักรยานยนต์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
ประกาศสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางนอกรถจักรยานยนต์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน และกําหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางในรถจักรยานยนต์ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน -------------------------- อื่นๆ - เพื่อความปลอดภัยและป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดแก่ประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศ คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเห็นสมควรกําหนดให้ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมดังต่อไปนี้ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน 1. ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางนอกรถจักรยานยนต์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มาตรฐานเลขที่ มอก. 682-2540 2. ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางในรถจักรยานยนต์ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มาตรฐานเลขที่ มอก. 683-2530 โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ก่อนตราพระราชกฤษฎีกา สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จึงให้มีการรับฟังความคิดเห็นของกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องตามมาตรฐานดังกล่าว เพื่อนํามาประกอบการพิจารณาดําเนินการตราพระราชกฤษฎีกาต่อไป ทั้งนี้ ผู้ประสงค์จะแสดงความคิดเห็นให้แสดงความคิดเห็นพร้อมทั้งเหตุผล โดยระบุชื่อ ที่อยู่ของผู้ที่แสดงความคิดเห็นต่อสํานักงาน ฯ ภายในสามสิบวัน นับแต่วันประกาศ ผู้ที่ประสงค์จะทราบรายละเอียดการกําหนดมาตรฐานดังกล่าว โปรดติดต่อขอดูได้ที่กองนิติการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม หรือ www.tisi.go.th จึงประกาศมาให้ทราบทั่วกัน ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2550 ไพโรจน์ สัญญะเดชากุล เลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
7,778
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3871 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นตะกั่วแดงสำหรับพื้นผิวเหล็กและเหล็กกล้า
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3871 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีรองพื้นตะกั่วแดงสําหรับพื้นผิวเหล็กและเหล็กกล้า ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นตะกั่วแดงสําหรับพื้นผิวเหล็กและเหล็กกล้า มาตรฐานเลขที่ มอก. 389- 2531 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 545 (พ.ศ. 2524) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นตะกั่วแดงสําหรับพื้นผิวเหล็กและเหล็กกล้า ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2524 แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1370 (พ.ศ. 2531) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นตะกั่วแดงสําหรับพื้นผิวเหล็กและเหล็กกล้า (แก้ไขครั้งที่ 1) ลงวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2531 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,779
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3607 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลสำหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณน้ำ - วิธีคาร์ลฟิสเชอร์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3607 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กลีเซอรอลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณน้ํา - วิธีคาร์ลฟิสเชอร์ ---------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณน้ํา - วิธีคาร์ลฟิสเชอร์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 1751 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3074 (พ.ศ. 2545) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณน้ํา - วิธีคาร์ลฟิสเชอร์ ลงวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,780
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3872 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นซิงก์โครเมต
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3872 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีรองพื้นซิงก์โครเมต -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นซิงก์โครเมต มาตรฐานเลขที่ มอก. 401 - 2534 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 578 (พ.ศ. 2525) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นซิงก์โครเมต ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2525 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1741 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นซิงก์โครเมต (แก้ไขครั้งที่ 1) ลงวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,781
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3608 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลสำหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า – วิธีแกรวิเมทรี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3608 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กลีเซอรอลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า – วิธีแกรวิเมทรี ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า - วิธีแกรวิเมทรึ มาตรฐานเลขที่ มอก. 1752 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3075 (พ.ศ. 2545) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า - วิธีแกรวิเมทรี ลงวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,782
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3873 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโต๊ะเทบิลเทนนิส
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3873 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โต๊ะเทบิลเทนนิส ------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโต๊ะเทบิลเทนนิส มาตรฐานเลขที่ มอก. 921 - 2533 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1581 (พ.ศ. 2533) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโต๊ะเทเบิลเทนนิส มาตรฐานเลขที่ มอก. 921 -2533 ลงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2533 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโต๊ะเทเบิลเทนนิส มาตรฐานเลขที่ มอก. 921 - 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 120 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,783
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3609 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลบริสุทธิ์สำหรับอุตสาหกรรม - การหาความหนาแน่นที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซีย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3609 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กลีเซอรอลบริสุทธิ์สําหรับอุตสาหกรรม - การหาความหนาแน่นที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลบริสุทธิ์สําหรับอุตสาหกรรม - การหาความหนาแน่นที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มาตรฐานเลขที่ มอก. 1753 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3076 (พ.ศ. 2545) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรอลบริสุทธิ์สําหรับอุตสาหกรรม - การหาความหนาแน่นที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ลงวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,784
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3874 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 2 การวัดขนาด
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3874 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 2 การวัดขนาด --------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 2 การวัดขนาด มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 2 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2727 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานยลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดจะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 2 การวัดขนาด ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,785
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3875 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 3 การวัดความหนาของโดม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3875 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 3 การวัดความหนาของโดม ---------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 3 การวัดความหนาของโดม มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 3 -2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2728 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 3 การวัดความหนาของโดม ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,786
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3876 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 4 การปราศจากข้อบกพร่องที่มองเห็นได้
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3876 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 4 การปราศจากข้อบกพร่องที่มองเห็นได้ --------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 4 การปราศจากข้อบกพร่องที่มองเห็นได้ มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 4 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2729 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 4 การปราศจากข้อบกพร่องที่มองเห็นได้ ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,787
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3610 (พ.ศ.2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอุตสาหกรรมเบนโซล – ศัพท์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3610 (พ.ศ.2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเบนโซล – ศัพท์ ------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอุตสาหกรรมเบนโซล – ศัพท์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 1820 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2778 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอุตสาหกรรมเบนโซล - ศัพท์ ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ฌ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,788
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3877 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 5 การทดสอบสมบัติความต้านแรงดึง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3877 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 5 การทดสอบสมบัติความต้านแรงดึง ---------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางกุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 5 การทดสอบสมบัติความต้านแรงดึง มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 5 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2730 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 5 การทดสอบสมบัติความต้านแรงดึง ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,789
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3878 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 6 การทดสอบความเสื่อมหลังการบ่มเร่ง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3878 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 6 การทดสอบความเสื่อมหลังการบ่มเร่ง ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 6 การทดสอบความเสื่อมหลังการบ่มเร่ง มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 6 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2731 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 6 การทดสอบความเสื่อมหลังการบ่มเร่ง ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,790
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3611 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาสภาพด่าง - วิธีไททริเมทริก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3611 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาสภาพด่าง - วิธีไททริเมทริก -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาสภาพด่าง - วิธีไททริเมทริก มาตรฐานเลยที่ มอก. 1822 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2780 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาสภาพด่าง - วิธีไททริเมทริก ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,791
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3879 (พ.ศ. 2551)ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 7 การทดสอบความต้านทานแรงอัดของคอยล์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3879 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 7 การทดสอบความต้านทานแรงอัดของคอยล์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 7 การทดสอบความต้านทานแรงอัดของคอยส์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 7 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2732 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 7 การทดสอบความต้านทานแรงอัดของคอยล์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,792
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3612 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม – การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3612 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม – การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า --------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า มาตรฐานเลขที่ มอก. 1823 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2781 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,793
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3880 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 8 การทดสอบการบิดระหว่างการอัดคอยล์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3880 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 8 การทดสอบการบิดระหว่างการอัดคอยล์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม ---------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 8 การทดสอบการบิดระหว่างการอัดคอยล์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 8 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2733 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 8 การทดสอบการบิดระหว่างการอัดคอยล์สปริงและแฟลตสปริงไดอะแฟรม ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,794
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3881 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 9 การบรรจุและการแสดงเครื่องหมาย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3881 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 9 การบรรจุและการแสดงเครื่องหมาย ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 9 การบรรจุและการแสดงเครื่องหมาย มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 9 – 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2734 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 9 การบรรจุและการแสดงเครื่องหมาย ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,795
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3613 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกรดไนทริกสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้าซัลเฟต -วิธีกราวิเมทริก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3613 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กรดไนทริกสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้าซัลเฟต - วิธีกราวิเมทริก ---------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกรดไนทริกสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้าซัลเฟต - วิธีกราวิเมทริก มาตรฐานเลขที่ มอก. 1825 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2783 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกรดไนทริกสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้าซัลเฟต - วิธีกราวิเมทริก ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฏ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,796
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3882 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกำเนิดชนิดนำกลับมาใช้ใหม่ได้เล่ม 10 ข้อแนะนำในการเก็บ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3882 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 10 ข้อแนะนําในการเก็บ ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 10 ข้อแนะนําในการเก็บ มาตรฐานเลขที่ มอก. 1832 เล่ม 10 – 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2735 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมไดอะแฟรมยางคุมกําเนิดชนิดนํากลับมาใช้ใหม่ได้ เล่ม 10 ข้อแนะนําในการเก็บ ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,797
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3883 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมาตรพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ เฉพาะด้านความปลอดภัย และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมาตรพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ : ข้อกำหนดทั่วไป
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3883 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ เฉพาะด้านความปลอดภัย และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ : ข้อกําหนดทั่วไป ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมาตรพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับเฉพาะด้านความปลอดภัย มาตรฐานเลขที่ มอก. 1030 – 2537 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 1719 (พ.ศ. 2534) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมมาตรพลังไฟฟ้ากระแสสลับเฉพาะด้านความปลอดภัย ลงที่ 8 เมษายน 2534 และฉบับที่ 1962 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมาตรพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับ เฉพาะด้านความปลอดภัย (แก้ไขครั้งที่ 1) ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 และออกประกาศ เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมาตรพลังไฟฟ้ากระแสสลับ : ข้อกําหนดทั่วไป มาตรฐานเลขที่ มอก. 1030 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 180 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป อื่นๆ - ประกาศ ณ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,798
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3614 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแฮโลเจเนเทดไฮโดรคาร์บอนเหลวสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม -การทดสอบหาปริมาณส่วนที่เหลือจากการระเหย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3614 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แฮโลเจเนเทดไฮโดรคาร์บอนเหลวสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การทดสอบหาปริมาณส่วนที่เหลือจากการระเหย ------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแฮโลเจเนเทดไฮโดรคาร์บอนเหลวสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การทดสอบหาปริมาณส่วนที่เหลือจากการระเหย มาตรฐานเลขที่ มอก. 1827 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2785 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแฮโลเจเนเทดไฮโดรคาร์บอนเหลวสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การทดสอบหาปริมาณส่วนที่เหลือจากการระเหย ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,799
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3884 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัย - ข้อกำหนดสำหรับการจัดประชุม สัมมนาและนิทรรศการ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3884 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัย - ข้อกําหนดสําหรับการจัดประชุม สัมมนา และนิทรรศการ ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัย – ข้อกําหนดสําหรับการจัดประชุม สัมมนาและนิทรรศการ มาตรฐานเลขที่ มอก. 22300 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,800
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3885 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเทคโนโลยีการพิมพ์ - การควบคุมกระบวนการการผลิตในงานแยกสีฮาล์ฟโทน ปรู๊ฟ และพิมพ์เล่ม 7 : กระบวนการปรู๊ฟจากข้อมูลดิจิทัล
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3885 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เทคโนโลยีการพิมพ์ - การควบคุมกระบวนการการผลิตในงานแยกสีฮาล์ฟโทน ปรู๊ฟ และพิมพ์ เล่ม 7 : กระบวนการปรู๊ฟจากข้อมูลดิจิทัล ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเทคโนโลยีการพิมพ์ - การควบคุมกระบวนการการผลิตในงานแยกสีฮาล์ฟโทน ปรู๊ฟ และพิมพ์ เล่ม 7 : กระบวนการปรู๊ฟจากข้อมูลดิจิทัล มาตรฐานเลขที่ มอก. 2260 เล่ม 7 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ หมวด - ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,801
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3615 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์สำหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 6 : การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3615 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แอลกอฮอล์สําหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 6 : การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า --------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์สําหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 6 : การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า มาตรฐานเลขที่ มอก. 1810 เล่ม 6 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2774 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์สําหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 6 : การวิเคราะห์หาปริมาณเถ้า ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,802
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3886 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพาราฟินเหลวสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3886 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พาราฟินเหลวสําหรับอุตสาหกรรมอาหาร ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพาราฟินเหลวสําหรับอุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานเลขที่ มอก. 2383 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,803
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3616 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอนไฮดรัสไฮโดรเจนฟลูออไรค์สำหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณกรดที่ไม่ระเหย -วิธีไททริเมทริก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3616 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แอนไฮดรัสไฮโดรเจนฟลูออไรค์สําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณกรดที่ไม่ระเหย - วิธีไททริเมทริก -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอนไฮดรัสไฮโดรเจนฟลูออไรค์สําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณกรดที่ไม่ระเหย - วิธีไททริเมทริก มาตรฐานเลขที่ มอก. 1967 - 2543 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2812 (พ.ศ. 2544) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาพกรรมแอนไฮดรัสไฮโดรเจนฟลูออไรค์สําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณกรดที่ไม่ระเหย - วิธีไททริเมทริก ลงวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2544 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,804
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3887 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรมและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 1 ปูนสุก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3887 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ปูนไลม์อุตสาหกรรม และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 1 ปูนสุก ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรมมาตรฐานเลขที่ มอก. 319 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2403 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์เพื่อการอุตสาหกรรม และกําหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม ลงวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 1 ปูนสุก มาตรฐานเลขที่ มอก. 319 เล่ม 1 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 90 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,805
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3888 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรมและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 2 ปูนขาว
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3888 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ปูนไลม์อุตสาหกรรม และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 2 ปูนขาว ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรมมาตรฐานเลขที่ มอก. 319 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2403 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์เพื่อการอุตสาหกรรม และกําหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม ลงวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 2 ปูนขาว มาตรฐานเลขที่ มอก. 319 เล่ม 2 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 90 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,806
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3617 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอซีทิกแอนไฮไดรด์และบิวเทน - 1 - ออลสำหรับอุตสาหกรรม -การวิเคราะห์หาค่าโบรมีน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3617 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แอซีทิกแอนไฮไดรด์และบิวเทน - 1 - ออลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาค่าโบรมีน -------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอซีทิกแอนไฮไดรด์และบิวเท - 1 - ออลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาค่าโบรมีน มาตรฐานเลขที่ มอก. 2014 - 2543 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3004 (พ.ศ. 2544) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอซีทิกแอนไฮไดรด์และบิวเทน - 1 - ออลสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาค่าโบรมีน ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,807
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3889 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรมและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 3 หินปูน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3889 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ปูนไลม์อุตสาหกรรม และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 3 หินปูน ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรมมาตรฐานเลขที่ มอก. 319 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2403 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์เพื่อการอุตสาหกรรม และกําหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม ลงวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนไลม์อุตสาหกรรม เล่ม 3 หินปูน มาตรฐานเลขที่ มอก. 319 เล่ม 3 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 90 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,808
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3618 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทาลิกแอนไฮไดรด์สำหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 6 :การวิเคราะห์หาปริมาณทาลิกแอนไฮไดรด์ – วิธีไททริเมทริก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3618 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ทาลิกแอนไฮไดรด์สําหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 6 : การวิเคราะห์หาปริมาณทาลิกแอนไฮไดรด์ – วิธีไททริเมทริก --------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทาลิกแอนไฮไดรด์สําหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 6 : การวิเคราะห์หาปริมาณทาลิกแอนไฮไดรด์ – วิธีไททริเมทริก มาตรฐานเลขที่ มอก. 1690 เล่ม 6 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2974 (พ.ศ. 2544) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทาลิกแอนไฮไดรด์สําหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 6 : การวิเคราะห์หาปริมาณทาลิกแอนไฮไดรด์ – วิธีไททริเมทริก ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2544 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,809
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3890 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการควบคุมการขับขี่สำหรับรถจักรยานยนต์สองล้อ และรถจักรยานเสริมเครื่องยนต์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3890 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การควบคุมการขับขี่สําหรับรถจักรยานยนต์สองล้อ และรถจักรยานเสริมเครื่องยนต์ ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการควบคุมการขับขี่สําหรับรถจักรยานยนต์สองล้อ และรถจักรยานเสริมเครื่องยนต์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2354 – 2550 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,810
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3892 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 2 : ข้อกำหนดสวัสดิภาพของสัตว์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3892 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 2 : ข้อกําหนดสวัสดิภาพของสัตว์ ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 2 : ข้อกําหนดสวัสดิภาพของสัตว์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 2 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,811
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3619 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทาลิกแอนไฮไดรด์สำหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาปริมาณมาลีอิกแอนไฮไดรด์ - วิธีโพลาโรกราฟิก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3619 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ทาลิกแอนไฮไดรด์สําหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาปริมาณมาลีอิกแอนไฮไดรด์ - วิธีโพลาโรกราฟิก --------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทาลิกแอนไฮไดรด์สําหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาปริมาณมาลีอิกแอนไฮไดรด์ – วิธีโพลาโรกราฟิก มาตรฐานเลขที่ มอก. 1690 เล่ม 7 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2975 (พ.ศ. 2544) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทาลิกแอนไฮไดรด์สําหรับอุตสาหกรรม - การทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาปริมาณมาลีอิกแอนไฮไดรด์ – วิธีโพลาโรกราฟิก ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,812
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3897 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 11 : การทดสอบเพื่อประเมินความเป็นพิษต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3897 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 11 : การทดสอบเพื่อประเมินความเป็นพิษต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 11 : การทดสอบเพื่อประเมินความเป็นพิษต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 11 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,813
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3644 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเบาะรถยนต์ และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่นั่ง จุดยึดที่นั่ง และพนักพิงศีรษะของยานยนต์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3644 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เบาะรถยนต์ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ที่นั่ง จุดยึดที่นั่ง และพนักพิงศีรษะของยานยนต์ ------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเบาะรถยนต์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 896 - 2532 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาครฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 1543 (พ.ศ. 2532) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕-๑ เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเบาะรถยนต์ ลงวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2532 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่นั่ง จุดยึดที่นั่ง และพนักพิงศีรษะของยานยนต์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 896 - 2549 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,814
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3620 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรีนดิบสำหรับอุตสาหกรรม - การคำนวณหาสารประกอบ (อินทรีย์) ที่ไม่ใช่กลีเซอรอล (เอ็มโอเอ็นจี)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3620 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กลีเซอรีนดิบสําหรับอุตสาหกรรม - การคํานวณหาสารประกอบ (อินทรีย์) ที่ไม่ใช่ กลีเซอรอล (เอ็มโอเอ็นจี) ----------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรีนดิบสําหรับอุตสาหกรรม - การคํานวณหาสารประกอบ (อินทรีย์) ที่ไม่ใช่กลีเซอรอล (เอ็มโอเอ็นจี) มาตรฐานเลขที่ มอก. 1754 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3077 (พ.ศ. 2545) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกลีเซอรีนดิบสําหรับอุตสาหกรรม - การคํานวณหาสารประกอบ (อินทรีย์) ที่ไม่ใช่กลีเซอรอล (เอ็มโอเอ็นจี) ลงวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,815
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3900 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์เล่ม 14 : การชี้บ่งและการหาปริมาณสารที่สลายได้จากเครื่องมือแพทย์ที่เป็นเซรามิก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3900 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 14 : การชี้บ่งและการหาปริมาณสารที่สลายได้จากเครื่องมือแพทย์ที่เป็นเซรามิก ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 14 : การชี้บ่งและการหาปริมาณสารที่สลายได้จากเครื่องมือแพทย์ที่เป็นเซรามิก มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 14 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,816
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3901 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 15 : การชี้บ่งและการหาปริมาณสารที่สลายได้จากเครื่องมือแพทย์ที่เป็นโลหะและโลหะเจือ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3901 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 15 : การชี้บ่งและการหาปริมาณสารที่สลายได้จากเครื่องมือแพทย์ ที่เป็นโลหะและโลหะเจือ ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 15 : การชี้บ่งและการหาปริมาณสารที่สลายได้จากเครื่องมือแพทย์ที่เป็นโลหะและโลหะเจือ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 15 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 สุวิทย์ คุณกิตติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,817
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3903 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีรองพื้นอะลูมิเนียมรองพื้นสำหรับงานไม้และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีอะลูมิเนียมรองพื้นสำหรับงานไม้
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3903 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีรองพื้นอะลูมิเนียมรองพื้นสําหรับงานไม้ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีอะลูมิเนียมรองพื้นสําหรับงานไม้ ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นอะลูมิเนียมสําหรับงานไม้ มาตรฐานเลขที่ มอก. 328 – 2523 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 445 (พ.ศ. 2523) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นอะลูมิเนียมสําหรับงานไม้ลงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2523 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีอะลูมิเนียมรองพื้นสําหรับงานไม้ มาตรฐานเลขที่ มอก. 328 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 90 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,818
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3904 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้น (สีชั้นล่าง) สำหรับงานไม้สีรองพื้นสำหรับงานไม้
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3904 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีรองพื้น (สีชั้นล่าง) สําหรับงานไม้ สีรองพื้นสําหรับงานไม้ ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีรองพื้น (สีชั้นล่าง) สําหรับงานไม้ มาตรฐานเลขที่ มอก. 357 – 2531 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 2294 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สีรองพื้น (สีชั้นล่าง) สําหรับงานไม้ ลงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสีรองพื้นสําหรับงานไม้ มาตรฐานเลขที่ มอก. 357 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 90 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,819
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3621 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณไนโดรเจน -วิธีไททริเมทริกหลังการกลั่น
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3621 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณไนโดรเจน - วิธีไททริเมทริกหลังการกลั่น -------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณไนโดรเจน - วิธีไททริเมทริกหลังการกลั่น มาตรฐานเลขที่ มอก. 1821 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2779 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยูเรียสําหรับใช้ในอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณไนโดรเจน - วิธีไททริเมทริกหลังการกลั่น ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,820
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3905 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกระดาษหนังสือพิมพ์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3905 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระดาษหนังสือพิมพ์ ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระดาษหนังสือพิมพ์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 758 – 2531 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 1310 (พ.ศ. 2531) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกระดาษหนังสือพิมพ์ ลงวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2531 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกระดาษหนังสือพิมพ์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 758 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,821
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกำหนด ให้บริษัท เงินทุนปฏิบัติในการกู้ยืมเงินหรือรับเงิน จากประชาชน และการกำหนดอัตราดอกเบี้ยหรือส่วนลด ที่บริษัท เงินทุนอาจจ่ายหรืออาจเรียกได้
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกําหนด ให้บริษัท เงินทุนปฏิบัติในการกู้ยืมเงินหรือรับเงิน จากประชาชน และการกําหนดอัตราดอกเบี้ยหรือส่วนลด ที่บริษัท เงินทุนอาจจ่ายหรืออาจเรียกได้ ------------------------------ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 27 มาตรา 30 (1) และ (2) แห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ. 2522 ธนาคารแห่งประเทศไทยออกข้อกําหนดด้วยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกําหนดให้บริษัทเงินทุนปฏิบัติในการกู้ยืมเงินหรือรับเงินจากประชาชน และการกําหนดอัตราดอกเบี้ยหรือส่วนลดที่บริษัทเงินทุนอาจจ่ายหรืออาจเรียกได้ ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2533 ข้อ ๒ ในการกู้ยืมเงินหรือรับเงินจากประชาชน บริษัท เงินทุนต้องออกเอกสารการกู้ยืมเงินหรือออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้แก่ผู้ให้กู้โดยไม่จ่ายส่วนลด ข้อ ๓ ให้บริษัทเงินทุนจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมหรือรับจากประชาชนได้ไม่เกินอัตราที่บริษัทเงินทุนประกาศกําหนด ข้อ ๔ อัตราดอกเบี้ยตามข้อ 3 ไม่ใช้บังคับสําหรับการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงินและจากสถาบันการเงินต่างประเทศ ข้อ ๕ ให้บริษัทเงินทุนเรียกดอกเบี้ย เงินให้กู้ยืมหรือส่วนลดได้ไม่เกินอัตราที่บริษัทเงินทุนประกาศกําหนด เว้นแต่การให้กู้ยืมเพื่อการจัดหาที่อยู่อาศัยแก่ผู้มีรายได้น้อยตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกําหนด เฉพาะรายที่ได้ทําสัญญาผูกพันไว้ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ให้เรียกได้ไม่เกินอัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่บริษัทเงินทุนประกาศกําหนดในแต่ละครั้ง หักด้วยอัตราร้อยละ 1.5 ต่อปี ข้อ ๖ ให้บริษัทเงินทุนประกาศกําหนดอัตราดอกเบี้ยสําหรับเงินกู้ยืมหรือรับจากประชาชนตามจํานวนเงินระยะเวลาการกู้ยืม และเงื่อนไข รวมทั้งประกาศกําหนดอัตราดอกเบี้ยและส่วนลดสูงสุดที่บริษัท เงินทุนจะเรียกจากลูกค้า และอัตราดอกเบี้ยที่เรียกจากลูกค้าชั้นดี ทั้งนี้ ให้บริษัทเงินทุนส่งประกาศดังกล่าวให้ธนาคารแห่งประเทศไทย ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่บริษัทเงินทุนออกประกาศ พร้อมทั้งให้ปิดประกาศดังกล่าวในที่เปิดเผย ณ สํานักงานของตนทุกแห่ง ข้อ ๗ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2535 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2535 ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,822
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3906 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแซนดิงซีลเลอร์และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแซนดิงซีลเลอร์ไนโทรเซลลูโลส
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3906 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แซนดิงซีลเลอร์ และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แซนดิงซีลเลอร์ไนโทรเซลลูโลส ------------------------------ อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแซนดิงซีลเลอร์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 765 – 2531 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 1340 (พ.ศ. 2531) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแซนดิงซีลเลอร์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2531 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแซนดิงซีลเลอร์ในโทรเซลลูโลส มาตรฐานเลขที่ มอก. 765 – 2551 ขึ้นใหม่ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,823
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3622 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์สำหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาผลที่ได้จากการกลั่น
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3622 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แอลกอฮอล์สําหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาผลที่ได้จากการกลั่น ------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์สําหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาผลที่ได้จากการกลั่น มาตรฐานเลขที่ มอก. 1810 เล่ม 7 - 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2775 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์สําหรับอุตสาหกรรม - วิธีทดสอบ - เล่ม 7 : การวิเคราะห์หาผลที่ได้จากการกลั่น ลงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,824
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการกู้ยืมเงินโดยวิธีออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2538
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการกู้ยืมเงินโดยวิธีออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2538 --------------------------------- เพื่อดํารงไว้ซึ่งเสถียรภาพแห่งค่าของเงินตรา ธนาคารแห่งประเทศไทย ด้วยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เห็นควรกู้ยืมเงินโดยวิธีออกจําหน่ายพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย โดยมีข้อกําหนดดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะกู้ยืมเงินจากธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์และบริษัทหลักทรัพย์ โดยวิธีออกพันธบัตรประเภทอายุหนึ่งเดือน สามเดือน และหกเดือน ให้แก่ผู้ประมูลได้ ตามวงเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยจะแจ้งให้ทราบถ่วงหน้าตามสมควร ข้อ ๒ พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ตามข้อ 1 เป็นพันธบัตรชนิดออกให้ในนามผู้ทรงพันธบัตร และมีราคาที่ตราไว้หน่วยละหนึ่งล้านบาท ข้อ ๓ ผู้ที่ประสงค์จะประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยจะต้องปฏิบัติดังนี้ (1) ยื่นใบประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยตามแบบที่แนบ ภายในเวลา 10.00 น. ของวันประมูล (2) ยื่นใบประมูลพันธบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทยตามกําหนดดังนี้ (ก) พันธบัตรประเภทอายุหนึ่งเดือน ประมูลทุกวันศุกร์ (ข) พันธบัตรประเภทอายุสามเดือน ประมูลทุกวันศุกร์แรกและวันศุกร์ที่สามของเดือนทําการนั้น (ค) พันธบัตรประเภทอายุหกเดือน ประมูลทุกวันศุกร์แรกของเดือน กรณีวันประมูลใดตรงกับวันหยุดทําการของธนาคาร ให้ประมูลในวันทําการก่อนวันหยุดทําการนั้น (3) เสนออัตราดอกเบี้ยเป็นร้อยละต่อปี ทศนิยมไม่เกิน 2 ตําแหน่ง (4) ระบุจํานวนหน่วยพันธบัตรที่ต้องการซึ่งต้องมีมูลค่าตามราคาตราไม่ต่ํากว่า 10 ล้านบาท ข้อ ๔ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะจัดสรรพันธบัตรให้ผู้ที่ประมูลในอัตราดอกเบี้ยต่ําที่สุดทั้งจํานวนหรือบางส่วนก่อนแล้วจึงจะจัดสรรให้ผู้ที่ประมูลในอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นตามลําดับจนกว่าจะหมดจํานวนพันธบัตรก็ได้ ทั้งนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะแจ้งผลให้ผู้ที่ประมูลได้ทราบในวันประมูลพันธบัตรนั้น ๆ ข้อ ๕ เมื่อได้รับแจ้งจากธนาคารแห่งประเทศไทยตามข้อ 4 ผู้ที่ประมูลพันธบัตรได้ต้องทําคําขอซื้อและฝากพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยไว้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยตามแบบที่แนบ พร้อมชําระราคาพันธบัตร โดยยินยอมให้ธนาคารแห่งประเทศไทยหักบัญชีเงินฝากกระแสรายวันที่ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือสั่งจ่ายเช็คธนาคารแห่งประเทศไทยส่งให้ธนาคารแห่งประเทศไทย ในวันทําการธนาคารถัดจากวันที่ประมูลพันธบัตร ข้อ ๖ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะเป็นผู้เก็บรักษาพันธบัตรตามระเบียบนี้ไว้โดยจะออกใบรับให้แก่ผู้ที่ประมูลได้ การชําระราคาพันธบัตรตามข้อ 5 ให้ชําระแก่ธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเวลา 10.00 น. ของวันทําการธนาคารถัดจากวันที่ประมูลพันธบัตร เป็นจํานวนเงินที่คํานวณได้ตามวิธีการคํานวณดังนี้ โดยทศนิยมตําแหน่งที่สามให้ปัดทิ้ง ราคาพันธบัตรที่ต้องชําระ = ราคาตราของพันธบัตร 1 + อัตราดอกเบี้ยต่อปีที่ผู้ซื้อเสนอประมูล x จํานวนวันตามอายุของพับธบัตร 36500 ข้อ ๗ การโอนกรรมสิทธิ์และการจํานําพันธบัตรจะกระทําได้ระหว่างบุคคลตามที่ระบุในข้อ 1 ด้วยกัน หรือกับธนาคารแห่งประเทศไทยเท่านั้น โดยดําเนินการตามวิธีการดังนี้ (1) การโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร ก. ผู้โอนและผู้รับโอนต้องแจ้งให้ธนาคารทราบล่วงหน้าโดยส่งหนังสือโอนพันธบัตรและหนังสือรับโอนพันธบัตรซึ่งผู้มีอํานาจลงนามได้ลงนามเรียบร้อยแล้วตามแบบที่แนบทางโทรสารและส่งหนังสือโอนพันธบัตรและหนังสือรับโอนพันธบัตรต้นฉบับถึงธนาคารภายในเวลา 10.00 น. ของวันทําการธนาคารถัดจากวันที่แจ้ง เว้นแต่กรณีที่ตกลงให้กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรโอนไปยังผู้รับโอนในวันที่แจ้งให้ส่งหนังสือโอนพันธบัตรและหนังสือรับโนพันธบัตรถึงธนาคารภายในเวลา 16.30 น. ของวันที่แจ้ง การแจ้งให้ธนาคารทราบทางโทรสารตามวรรคหนึ่ง ให้แจ้งระหว่างเวลา 9.00 น.ถึง 15.00 น. ในวันทําการธนาคาร ข. เมื่อธนาคารตรวจสอบหนังสือโอนพันธบัตรและหนังสือรับโอนพันธบัตรของผู้โอนและผู้รับโอนแล้ว เห็นว่ามีรายละเอียดถูกต้องตรงกัน ธนาคารจึงจะดําเนินการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรให้ ค. ธนาคารจะจัดส่งบัญชีแสคงรายละเอียดพันธบัตรที่ผู้โอนและผู้รับโอนมีอยู่ ณ วันที่เปลี่ยน แปลงกรรมสิทธิ์และทุกวันทําการสิ้นเดือนให้แก่ผู้โอนและผู้รับโอน (2) การจํานําพันธบัตรรมตลอดถึงการถอนจํานําให้ปฏิบัติในทํานองเดียวกับ ก ข และ ค ทั้งนี้ ให้ใช้หนังสือจํานําถอนจํานําหรือหนังสือรับจํานํายินยอมให้ถอนจํานําตามแบบที่กําหนด ข้อ ๘ ในวันที่ครบกําหนดอายุพันธบัตรแต่ละประเภท ธนาคารแห่งประเทศไทยจะนําเงินค่าไถ่ถอนพันธบัตรตามราคาตราเข้าบัญชีเงินฝากกระแสรายวันที่ธนาคารแห่งประเทศไทยหรือสั่งจ่ายเช็คธนาคารแห่งประเทศไทยแก่บุคคลที่ปรากฏในทะเบียนกรรมสิทธิ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ข้อ ๙ ธนาคารแห่งประเทศไทยสงวนสิทธิที่จะไม่ออกจําหน่ายพันธบัตรชนิดใจชนิดหนึ่งหรือทั้งหมด หรือไม่รับใบประมูลของผู้ใด หรือจะจัดสรรพันธบัตรให้แก่ผู้ประมูลเป็นจํานวนเท่าใดก็ได้ตามแต่จะเห็นสมควร โดยจะแจ้งผลให้ผู้ยื่นประมูลทราบในวันประมูลพันธบัตรนั้น ๆ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 27 กรกฎาคม 2538 (นายวิจิตร สุพินิจ) ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,825
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3907 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์เล่ม 4 : การเลือกวิธีทดสอบเพื่อประเมินปฏิกิริยาที่มีต่อเลือด
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3907 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 4 : การเลือกวิธีทดสอบเพื่อประเมินปฏิกิริยาที่มีต่อเลือด ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพ ของเครื่องแพทย์ เล่ม 4 : การเลือกวิธีทดสอบเพื่อประเมินปฏิกิริยาที่มีต่อเลือด มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 4 – 2551 ไว้ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,826
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง บริษัทรับอนุญาต
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง บริษัทรับอนุญาต ------------------------- ธนาคารแห่งประเทศไทยขอประกาศให้ทราบทั่วกันว่า ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง บริษัทรับอนุญาต ลงวันที่ 16 พฤษภาคม 2534 ข้อ ๒ บุคคลใดที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจเป็นบริษัทรับอนุญาต จะต้องยื่นคําร้องขออนุญาตต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยผ่านธนาคารแห่งประเทศไทยตามแบบที่กําหนด โดยทําเป็นคู่ฉบับพร้อมด้วยเอกสารหลักฐานประกอบที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ (1) สําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท จํานวน 2 ฉบับ (2) สําเนาหรือภาพถ่ายใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จํานวน 2 ฉบับ (3) หนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับ จํานวน 2 ฉบับ (4) สําเนาหรือภาพถ่ายใบอนุญาตประกอบธุรกิจ (ถ้ามี) จํานวน 2 ฉบับ (5) แผนที่และแผนผังแสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ จํานวน 2 ฉบับ การยื่นคําร้องดังกล่าว ให้กระทําในเดือนมิถุนายนและเดือนธันวาคม ถ้าผู้ยื่นประสงค์จะประกอบธุรกิจในเขตปฏิบัติการของสาขาใดของธนาคารแห่งประเทศไทย ตามข้อ 6 ก ให้ยื่น ณ สํานักงานของสาขานั้น ส่วนผู้ยื่นที่จะประสงค์จะประกอบธุรกิจในเขตอื่นนอกจากเขตปฏิบัติการของสาขาดังกล่าว ให้ยื่น ณ ส่วนวิเคราะห์การต่างประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย ข้อ ๓ บริษัทรับอนุญาตใดประสงค์จะขอต่อใบอนุญาตประกอบธุรกิจเป็นบริษัทรับอนุญาตให้ยื่นคําร้องต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยผ่านธนาคารแห่งประเทศไทยตามที่ระบุในข้อ 2 วรรคสอง ภายในวันที่ 10 ตุลาคม ของปีที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ ทั้งนี้ ให้ยื่นสําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทฉบับปัจจุบัน และสําเนาหรือภาพถ่ายรายงานการประชุมและรายชื่อผู้ถือหุ้นฉบับล่าสุดด้วย ยกเว้นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และบริษัทมหาชนจํากัด ข้อ ๔ การยื่นรายงานตามแบบ ธ ต 62 (รายงานประจําปีปักษ์แสดงการซื้อขายเช็คเดินทางและการจ่ายเงินตราให้แก่ผู้ถือบัตรเครดิตต่างประเทศ 1 รายงานประจําเดือนแสดงบัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ งบกําไรขาดทุนและงบดุล ให้บริษัทรับอนุญาตยื่นต่อส่วนวิเคราะห์การต่างประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือสํานักงานสาขาของธนาคารแห่งประเทศไทยตามข้อ 6 ก แล้วแต่กรณี ข้อ ๕ ป้ายแสดงอัตราแลกเปลี่ยนเงินประจําวันที่บริษัทรับอนุญาตต้องจัดให้มีตามข้อ 7 วรรคสอง แห่งประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง คําสั่งรัฐมนตรีให้ไว้แก่บริษัทรับอนุญาต ลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2534 ให้แสดงอัตราแลกเปลี่ยนสําหรับเงินตราต่างประเทศสกุลที่สําคัญดังต่อไปนี้ ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ปอนด์สเตอร์ลิง ดอยซ์มาร์ค ดอลลาร์ออสเตรเลีย เยนญี่ปุ่น ดอลลาร์มาเลเซีย ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์สิงคโปร์ และฟรังก์สวิส ในกรณีที่บริษัทรับอนุญาตไม่มีธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเงินตราต่างประเทศที่กล่าวข้างต้นสกุลใด บริษัทรับอนุญาตไม่ต้องแสดงอัตราแลกเปลี่ยนสําหรับเงินตราต่างประเทศสกุลนั้น ข้อ ๖ เขตปฏิบัติการของธนาคารแห่งประเทศไทย มีดังนี้ ก. เขตปฏิบัติการของสาขา (1) สาขาภาคใต้ (สํานักงานตั้งอยู่ ณ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา) มีเขตปฏิบัติการในจังหวัดภาคใต้รวม 14 จังหวัด คือ สงขลา ภูเก็ต นครศรีธรรมราช กระบี่ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา และสตูล (2) สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สํานักงานตั้งอยู่ ณ อําเภอเมืองจังหวัดขอนแก่น)มีเขตปฏิบัติการในเขตจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวม 19 จังหวัด คือ ขอนแก่น หนองคาย อุดรธานี หนองบัวลําภู เลย สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ มุกดาหาร อุบลราชธานี และอํานาจเจริญ (3) สาขาภาคเหนือ (สํานักงานตั้งอยู่ ณ อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง)มีเขตปฏิบัติการในจังหวัดภาคเหนือรวม 17 จังหวัด คือ ลําปาง เชียงใหม่ กําแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี เชียงราย พะเยา ลําพูน แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน สุโขทัย ตาก พิษณุโลก พิจิตร และเพชรบูรณ์ ข. เขตปฏิบัติการของสํานักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร ธนาคารแห่งประเทศไทย สํานักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร มีเขตปฏิบัติการในจังหวัดต่าง ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวใน ก ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 ตุลาคม 2537 (นายวิจิตร สุพินิจ) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,827
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3909 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 6 : การทดสอบเพื่อประเมินผลที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ภายหลังการฝังวัสดุทางการแพทย์ในร่างกาย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3909 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 6 : การทดสอบเพื่อประเมินผลที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ ภายหลังการฝังวัสดุทางการแพทย์ในร่างกาย ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพ ของเครื่องแพทย์ เล่ม 6 : การทดสอบเพื่อประเมินผลที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ภายหลังการฝังวัสดุทางการแพทย์ในร่างกาย มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 6 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,828
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3910 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์เล่ม 17 : การกำหนดปริมาณที่ยอมให้มีของสารที่สกัดได้
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3910 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 17 : การกําหนดปริมาณที่ยอมให้มีของสารที่สกัดได้ ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องแพทย์ เล่ม 17 : การกําหนดปริมาณที่ยอมให้มีของสารที่สกัดได้ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 17 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,829
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินโดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน พ.ศ.2539
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินโดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน พ.ศ.2539 --------------------------------------- โดยที่สมควรปรับปรุงวิธีการให้ความอนุเคราะห์ทางการเงินแก่สถาบันการเงินธนาคารแห่งประเทศไทยจึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (1) ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้กู้ยืมเงินโดยมีหลักทรัพย์เป็นประกัน (พ.ศ. 2522) (2) ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับบริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน พ.ศ. 2537 ข้อ ๒ ในระเบียบนี้ "ธนาคาร" หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย "สถาบันการเงิน" หมายความว่า (1) ธนาคาร พาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ (2) บริษัทเงินทุนตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ "พันธบัตร" หมายความว่า พันธบัตรรัฐบาลหรือพันธบัตรธนาคาร และหมายความรวมถึงพันธบัตรที่ออกโดยองค์การของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นโดยรเฉพาะ และธนาคารเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการง่ายเงิน ทั้งนี้ตามที่ธนาคารกําหนด "บัญชีเงินฝากสถาบันการเงิน" หมายความว่า บัญชีเงินฝากกระแสรายวันซึ่งสถาบันการเงินเปิดไว้กับธนาคาร ข้อ ๓ ธนาคารจะพิจารณารับซื้อพันธบัตรจากสถาบันการเงินตามความจําเป็นตามรายชื่อพันธบัตรและราคารับซื้อที่ธนาคารกําหนด โดยมีข้อตกลงว่าสถาบันการเงินผู้ขายจะซื้อคืนพันธบัตรที่ขายนั้น ทั้งนี้ ธนาคารจะกําหนดวงเงินการซื้อขายพันธบัตรและแจ้งให้ทราบเป็นรายสถาบันการเงิน และให้ถือว่าวงเงินที่ธนาคารกําหนดตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการรับซื้อพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นวงเงินสภาพคล่องระหว่างวัน พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของวงเงินตามระเบียบนี้ ข้อ ๔ พันธบัตรที่ชนาการจะพิจารณารับซื้อในแต่ละคราว ต้องมีราคารับซื้อไม่ต่ํากว่าหนึ่งล้านบาท ข้อ ๕ สถาบันการเงินที่ประสงค์จะขายพันธบัตรต้องปฏิบัติดังนี้ (1) ทําหนังสือแสดงความตกลงตามแบบที่แนบ (2) มอบอํานาจให้บุคคลกระทําการแทนสถาบันการเงินในการติดต่อกับธนาคารทางโทรศัพท์ และลงนามในหนังสือเสนอขายพันธบัตรและหนังสือซื้อคืนพันธบัตรก่อนกําหนดตามแบบหนังสือมอบอํานาจที่แนบ (3) ฝากพันธบัตรที่สถาบันการเงินมีกรรมสิทธิ์และปราศจากภาระผูกพันไว้กับธนาคารเพื่อการซื้อขายตามแบบหนังสือที่แนบ (4) ยินยอมให้ธนาคารนําเงินเข้าบัญชีและหักเงินจากบัญชีเงินฝากสถาบันการเงิน ตามแบบหนังสือที่แนบ ข้อ ๖ ในการขายพันธบัตรแต่ละคราว ให้สถาบันการเงินปฏิบัติดังนี้ (1) แจ้งทางโทรศัพท์และส่งหนังสือเสนอนายพันธบัตรตามแบบที่แนบให้ธนาคาร ภายในเวลา 17.00 น. ของวันที่เสนอขาย (2) เสนอขายพันธบัตรในราคารับซื้อเป็นจํานวนเงินซึ่งเมื่อรวมกับยอดคงค้างของจํานวนเงินที่ธนาคารได้รับซื้อพันธบัตรไว้แล้ว ต้อง ไม่เกินวงเงินที่ธนาคารกําหนดตามข้อ 3 (3) ยินยอมให้ธนาคารเป็นผู้จัดสรรพันธบัตรที่สถาบันการเงินฝากไว้ (4) ตกลงซื้อคืนพันธบัตรในราคาซื้อคืนซึ่งเท่ากับผลรวมของราคาที่ธนาคารได้รับซื้อไว้กับค่าตอบแทนตามอัตราที่ธนาคารจะประกาศให้ทราบล่วงหน้าเป็นคราว ๆ (5) ซื้อคืนพันธบัตรภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ขายพันธบัตรนั้นให้แก่ธนาคาร ข้อ ๗ ธนาคารจะรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรในวันที่รับซื้อและโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรที่รับซื้อไว้ คืนให้สถาบันการเงินในวันที่มีการชําระราคาซื้อคืน ข้อ ๘ สถาบันการเงินที่ประสงค์จะซื้อคืนพันธบัตรก่อนกําหนด ต้องแจ้งให้ธนาคารทราบทางโทรศัพท์ก่อน และส่งหนังสือขอซื้อคืนพันธบัตรก่อนกําหนดตามแบบที่แนบให้ธนาคารภายในเวลา 17.00 น. ของวันที่ขอซื้อคืน ข้อ ๙ ในกรณีที่เงินในบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินไม่มีพอให้ธนาคารหักเพื่อชําระราคาซื้อคืนพันธบัตรในวันซื้อคืน ให้ถือว่าไม่มีการซื้อคืน ข้อ ๑๐ สถาบันการเงินที่ซื้อคืนพันธบัตรภายในกําหนด ให้มีสิทธิได้รับดอกเบี้ยพันธบัตรสําหรับระยะเวลาที่ขายพันธบัตรนั้น ข้อ ๑๑ สถาบันการเงินที่ไม่ซื้อคืนพันธบัตรภายในกําหนด ให้ปฏิบัติเกี่ยวกับดอกเบี้ยพันธบัตรดังนี้ (1) ในกรณีที่มีการจ่ายดอกเบี้ยภายหลังวันที่ธนาคารได้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและสถาบันการเงินเป็นผู้รับดอกเบี้ยงวดนั้น สถาบันการเงินต้องคืนดอกเบี้ยในส่วนที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ธนาคารได้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร โดยธนาคารจะหักบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินในวันถัดจากวันที่ครบกําหนดซื้อคืน (2) ในกรณีที่มีการจ่ายดอกเบี้ยภายหลังวันที่ธนาคารได้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและธนาคารเป็นผู้รับดอกเบี้ยพันธบัตรงวดนั้น ธนาคารจะคืนดอกเบี้ยพันธบัตรให้แก่สถาบันการเงินเฉพาะส่วนที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ธนาคารให้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร โดยนําเงินเข้าบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินในวันที่ธนาคารได้รับดอกเบี้ยพันธบัตรงวดนั้น ข้อ ๑๒ สถาบันการเงินใดประสงค์จะขอถอนคืนพันธบัตรที่ฝากไว้ ให้ทําหนังสือตามแบบที่แนบส่งให้ธนาคาร ข้อ ๑๓ ธนาคารสงวนสิทธิที่จะไม่รับซื้อพันธบัตรจากสถาบันการเงินที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อใดข้อหนึ่งแห่งระเบียบนี้ หรือมีพฤติการณ์ที่ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งระเบียบนี้ หรือมีเหตุไม่สมควรประการอื่น ข้อ ๑๔ สถาบันการเงินใดมีเงินกู้ยืมคงค้างชําระอยู่ตามหนังสือความตกลง ซึ่งได้ทําไว้กับธนาคารตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้กู้ยืมโดยมีหลักทรัพย์เป็นประกัน (พ.ศ. 2522) ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2522 ซึ่งได้ยกเลิกไปตามระเบียบนี้ ให้ชําระหนี้เงินกู้ยืมคงค้างนั้น ให้เสร็จสิ้นตามข้อกําหนดและเงื่อนไขที่ระบุในระเบียบหรือหนังสือความตกลงดังกล่าวได้ ข้อ ๑๕ บริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ใดขายพันธบัตร ไว้ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับบริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน พ.ศ. 2537 ซึ่งได้ยกเลิกไปตามระเบียบนี้ และยังไม่ถึงกําหนดซื้อคืนการซื้อคืนพันธบัตรให้เป็นไปตามข้อกําหนดในระเบียบดังกล่าว ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม 2539 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 มกราคม 2539 (นายวิจิตร สุพินิจ) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,830
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3911 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์เล่ม 18 : คุณลักษณะทางเคมีของวัสดุที่ใช้ทำ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3911 (พ.ศ. 2551) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การประเมินทางชีวภาพของเครื่องมือแพทย์ เล่ม 18 : คุณลักษณะทางเคมีของวัสดุที่ใช้ทํา ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินทางชีวภาพของเครื่องแพทย์ เล่ม 18 : คุณลักษณะทางเคมีของวัสดุที่ใช้ทํา มาตรฐานเลขที่ มอก. 2395 เล่ม 18 – 2551 ไว้ ดังมีรายการละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551 พลตํารวจเอก ประชา พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,831
ประกาศชนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง ดอกเบี้ยหรือส่วนลดที่บริษัทเงินทุนอาจจ่ายหรืออาจเรียกได้
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง ดอกเบี้ยหรือส่วนลดที่บริษัทเงินทุนอาจจ่ายหรืออาจเรียกได้ ------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 30 (1) และ (2) แห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ พ.ศ.2522 ธนาคารแห่งประเทศไทยออกข้อกําหนดด้วยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้บริษัทเงินทุนจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืมหรือรับจากประชาชนตามเอกสารการกู้ยืมเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน และดอกเบี้ยหรือส่วนลดบัตรเงินฝากได้ไม่เกินอัตราที่บริษัทเงินทุนนั้นประกาศกําหนด ในกรณีที่วันครบกําหนดชําระเงินตามเอกสารการกู้ยิมเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือบัตรเงินฝากตรงกับวันหยุดทําการของบริษัทเงินทุน ให้ถือเอาวันทําการวันแรกต่อจากวันหยุดทําการนั้นเป็นวันครบกําหนดชําระเงินตามเอกสารดังกล่าว ทั้งนี้ ให้บริษัทเงินทุนคิดดอกเบี้ยให้สําหรับวันหยุดทําการนั้นด้วยตามอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในเอกสาร กรณีเป็นบัตรเงินฝากที่ไม่กําหนดอัตราดอกเบี้ยให้บริษัทเงินทุนคิดดอกเบี้ยสําหรับวันหยุดทันการนั้นไม่ต่ํากว่าอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมเมื่อทวงถามตามที่บริษัทเงินทุนนั้นประกาศกําหนด ข้อ ๒ ให้บริษัทเงินทุนเรียกดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมหรือส่วนลดได้ไม่เกินอัตราที่บริษัทเงินทุนประกาศกําหนด เวันแต่การให้กู้ยืมเพื่อการจัดหาที่อยู่อาศัยแก่ผู้มีรายได้น้อยตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกําหนด เฉพาะรายที่ได้ทําสัญญาผูกพันไว้ก่อนวันที่ 1 มิถุนายน 2535 ให้เรียกได้ไม่เกินอัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่บริษัทเงินทุนประกาศกําหนดในแต่ละครั้ง หักด้วยอัตราร้อยละ 1.5 ต่อปี ข้อ ๓ ให้บริษัทเงินทุนประกาศกําหนดอัตราดอกเบี้ยสําหรับเงินกู้ยืมหรือรับจากประชาชน และดอกเบี้ยหรือส่วนลดสําหรับบัตรเงินฝากตามจํานวนเงิน ระยะเวลาการกู้ยืมหรือรับเงินหรือรับฝากเงิน และเงื่อนไข รวมทั้งประกาศกําหนดอัตราดอกเบี้ยและส่วนลดสูงสุดที่บริษัทเงินทุนจะเรียกจากลูกค้าและอัตราดอกเบี้ยที่เรียกจากลูกค้าชั้นดี ตลอดจนประกาศสูตรหรือวิธีคํานวณราคาบัตรเงินฝากที่บริษัทเงินทุนจะซื้อหรือขาย ทั้งนี้ ให้บริษัทเงินทุนส่งประกาศดังกล่าวให้ธนาคารแห่งประเทศไทยภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่บริษัทเงินทุนออกประกาศ พร้อมทั้งให้ปิดประกาศดังกล่าวในที่เปิดเผย ณ สํานักงานของบริษัทเงินทุนนั้นทุกแห่ง ข้อ ๔ ประกาศนี้ไม่ใช้บังคับแก่กรณีการกู้ยืมเงินและการให้กู้ยืมเงินระหว่างบริษัทเงินทุนกับสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงินหรือสถาบันการเงินต่างประเทศ หรือกรณีบริษัทเงินทุนกู้ยืมเงินหรือรับเงินจากประชาชนโดยออกตั๋วแลกเงิน ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นสิบห้าวันนับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 19 เมษายน พ.ศ.2538 (นายวิจิตร สูพินิจ) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,832
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3645 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 2 : การวัดความยาว
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3645 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถุงยางอนามัย เล่ม 2 : การวัดความยาว ------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 2 : การวัดความยาว มาตรฐานเลขที่ มอก. 625 เล่ม 2 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2544 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 2 : การวัดความยาว ลงวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2550 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,833
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการซื้อขายหลักทรัพย์กับสถาบันการเงินคู่ค้า
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการซื้อขายหลักทรัพย์กับสถาบันการเงินคู่ค้า --------------------------------- เพื่อให้การดําเนินนโยบายการเงิน และการปรับสภาพคล่องระยะยาวในระบบการเงินกระทําได้คล่องตัวยิ่งขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทยจะซื้อขายหลักทรัพย์ในลักษณะซื้อขายเสร็จเด็ดขาดกับสถาบันการเงินที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นคู่ตัวของธนาคาร ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ อื่นๆ - 1.ในระเบียบนี้ "ธนาคาร" หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย "คู่ค้าของธนาคาร" หมายความว่า สถาบันการเงินที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการค้าหลักทรัพย์หรือการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์อันเป็นตราสารแห่งหนี้ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และได้รับการคัดเลือกจากธนาคารให้เป็นคู่ค้าของธนาคารตามระเบียบนี้ หลักทรัพย์" หมายความว่า ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรธนาคารและพันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่ออกโดยรัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะที่ธนาคารเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน ทั้งนี้ ตามที่ธนาคารกําหนด อื่นๆ - 2. คู่ค้าของธนาคารต้องดําเนินการขอรับประโยชน์ตามระเบียบธนาคารว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และต้องทําหนังสือแสดงความตกลงตามแบบที่แนบ เพื่อผูกพันตามระเบียบนี้ และทําหนังสือมอบอํานาจตามแบบที่แนบ เพื่อให้ผู้รับมอบอํานาจทําหน้าที่ติดต่อกับธนาคารเพื่อเสนอซื้อหรือเสนอขายหลักทรัพย์กับธนาคารในลักษณะซื้อขายเสร็จเด็ดขาด ลงนามโนหนังสือยืนยันการซื้อขายเสร็จเด็ดขาดหลักทรัพย์กับธนาคาร และเพื่อรับแจ้งจากธนาคาร อื่นๆ - 3. ธนาคารจะพิจารณาซื้อหรือขายหลักทรัพย์กับคู่ค้าของธนาคารตามวิธีการดังต่อไปนี้ 3.1 ในกรณีที่ธนาคารประสงค์จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ธนาคารจะแจ้งรายละเอียดของหลักทรัพย์ทั้งหมดที่ธนาคารต้องการทําธุรกรรมให้คู่ค้าของธนาคารทราบทาง Reuters Dealing ภายในเวลาประมาณ 10.00 น. ของวันทําการ 3.2 คู่ค้าของธนาคารทุกรายต้องแจ้งเสนอขายหรือเสนอซื้อหลักทรัพย์กับธนาคารกลับมาโดยเสนอซื้อหรือขายเป็นอัตราผลตอบแทน (yield-to-maundy) ทศนิยมไม่เกิน 3 ตําแหน่ง ทั้งนี้ การเสนอขายหรือเสนอซื้อหลักทรัพย์ให้กระทําตามรูปแบบที่ธนาคารกําหนดผ่าน Reuters Dealing ภายในเวลา 10.30 น. ของวันเดียวกันตาม 3.1 3.3 คู่ค้าของธนาคารต้องเสนอขายหรือเสนอซื้อหลักทรัพย์ทุกรุ่นที่ธนาคารประสงค์จะซื้อหรือขายตาม 3.1 เป็นจํานวนรุ่นละไม่ต่ํากว่า 10 ล้านบาท และไม่มีเศษของล้านบาท โดยเสนออัตราผลตอบแทนเพียงรุ่นละหนึ่งอัตรา 3.4 ธนาคารจะพิจารณารับซื้อหรือขายหลักทรัพย์รุ่นใด เป็นจํานวนเท่าใดหรือไม่ก็ได้ โดยไม่จําเป็นต้องซื้อหรือขายกับคู่ค้าของธนาคารทุกราย และจะแจ้งผลการพิจารณาให้คู่ค้าของธนาคารทราบทาง Reuters Dealing ในเวลาประมาณ 12.00 น. ของวันเดียวกัน 3.5 คู่ค้าของธนาคารต้องส่งหนังสือยืนยันการซื้อขายหลักทรัพย์รับธนาคารตามผลการพิจารณาดังกล่าวใน 3.4 ตามแบบที่ธนาคารกําหนดก่อนเวลา 12.00 น.ของวันทําการถัดไป โดยในการคํานวณราคาพันธบัตรให้ใช้สูตรการคํานวณราคาพันธบัตรตามประกาศของธนาคาร ทั้งนี้ ธนาคารจะส่งหนังสือยืนยันการซื้อขายหลักทรัพย์ของธนาคารให้กับคู่ค้าของธนาคารด้วย 3.6 ให้คู่ค้าของธนาคารชําระราคาหรือส่งมอบหลักทรัพย์ใน 2 วันทําการถัดจากวันที่ได้เสนอซื้อหรือเสนอขายหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เวันแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น 3.7 การโอนกรรมสิทธิ์ในหลักทรัพย์ให้กระทําตามวิธีการที่กําหนดในระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยผู้ซื้อหลักทรัพย์จะต้องโอนเงินชําระราคาหลักทรัพย์ผ่านระบบบาทเนต ภายในเวลา 14.00 น. ของวันถึงกําหนดชําระราคา อื่นๆ - 4. หากคู่ค้าของธนาคารไม่สามารถชําระราคาหลักทรัพย์ได้หรือไม่สามารถส่งมอบหลักทรัพย์ตามที่ตกลงซื้อขายไว้กับธนาคาร ธนาคารจะดําเนินการดังนี้ 4.1 ในกรณีคู่ค้าของธนาคารผิดนัดชําระราคา หากคู่ค้าของธนาคารไม่สามารถชําระราคาหลักทรัพย์ที่ตกลงจะซื้อจากธนาคารได้ในวันถึงกําหนด ธนาคารจะคิดค่าปรับเป็นรายวันตามอัตราดอกเบี้ยสูงสุดที่ตกลงซื้อขายในตลาดซื้อคืนพันธบัตรในแต่ละวัน และตามจํานวนวันที่ผิดนัดชําระราคา ทั้งนี้ หากมีวันหยุดทําการรวมอยู่ด้วย ให้ใช้อัตราสูงสุดในวันทําการก่อนหน้านั้นในการคํานวณค่าปรับสําหรับวันหยุดดังกล่าว และเพื่อการนี้ คู่ค้าของธนาคารตกลงยินยอมให้ธนาคารหักเงินจากบัญชีเงินฝากหรือบัญชีชําระเงินที่มีอยู่ที่ธนาคารเพื่อชําระค่าปรับได้ 4.2 ในกรณีคู่ค้าของธนาคารผิดนัดชําระราคาหรือส่งมอบหลักทรัพย์เกินเวลา 5 วันทําการ หากคู่ค้าของธนาคารไม่สามารถชําระราคาหลักทรัพย์ที่ตกลงจะซื้อจากธนาคาร หรือไม่สามารถส่งมอบหลักทรัพย์ที่ตกลงจะขายให้กับธนาคารได้ครบตามจํานวนที่ได้ตกลงไปแล้วภายใน 5 วันทําการนับจากวันที่ต้องมีการชําระราคาหรือส่งมอบหลักทรัพย์ธนาคารจะยกเลิกสถานะการเป็นคู่ค้าของธนาคารทันที และธนาคารจะไม่รับพิจารณาเป็นคู่ค้าของธนาคารในคราวถัดไป นอกจากนั้น ในกรณีที่ราคาหลักทรัพย์เปลี่ยนแปลงไปจากราคาที่ได้ตกลงไว้และธนาคารมีผลเสียหาย ธนาคารจะเรียกเงินชดเชยจากคู่ค้าของธนาคารรายนั้นเท่ากับส่วนต่างระหว่างราคาหลักทรัพย์ได้ตกลงซื้อขายกับราคาตลาดของหลักทรัพย์ ณ สิ้นวันที่ 5 นับจากวันที่ถึงกําหนดชําระราคาหรือส่งมอบหลักทรัพย์ 4.3 ในกรณีคู่ค้าของธนาคารผิดนัดชําระราคาและ/หรือผิดนัดส่งมอบหลักทรัพย์ 2 ครั้งในรอบพิจารณาประเมินผลการเป็นคู่ค้าของธนาคาร ธนาคารจะหยุดทําการซื้อขายด้วยเป็นเวลา 2 เดือน นับแต่วันถึงกําหนดชําระราคาหรือส่งมอบหลักทรัพย์ที่ผู้ค้าของธนาคารผิดนัดครั้งหลังสุด อื่นๆ - 5. ธนาคารสงวนสิทธิที่จะยกเลิกสถานะการเป็นคู่ค้าของธนาคารในกรณีคู่ค้าของธนาคารฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ หรือมีพฤติการณ์ที่ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งระเบียบนี้ หรือมีเหตุไม่สมควรประการอื่น ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2542 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2542 (ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,834
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง อัตราค่าตอบแทนในการซื้อขายพันธบัตรกับสถาบันการเงิน โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง อัตราค่าตอบแทนในการซื้อขายพันธบัตรกับสถาบันการเงิน โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน --------------------------- อื่นๆ - เพื่ออนุวัติตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับสถาบันการเงิน โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน พ.ศ 2539 ธนาคารแห่งประเทศไทยขอประกาศให้ทราบว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยจะคิดค่าตอบแทนในการซื้อขายพันธบัตรตามระเบียบดังกล่าวในอัตราร้อยละ 4.0 ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 9 กรกฎาคม 2542 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2542 (ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,835
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชำระราคาพันธบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 ------------------------------------ เพื่อเป็นการส่งเสริมการ โอนเงินระหว่างสถาบันการเงินผ่านระบบบาทเนตสําหรับการทําธุรกรรมการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรพร้อมกับการชําระราคาแก่ธนาคารและสถาบันที่เป็นสมาชิกระบบบาทเนต ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ. 2542 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2541 ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกบทนิยามคําว่า "พันธบัตร" ในข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ. 2542 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2541 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “พันธบัตร" หมายถึง พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง และหุ้นกู้ซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน" ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 4.3 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ.2542 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2541 "4.3 กรณีสมาชิกประสงค์โอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร และให้มีการชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนต 4.3.1 เมื่อมีการตกลงระหว่างสมาชิกในเรื่องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรสมาชิกผู้โอนและสมาชิกผู้รับโอนต้องแจ้งให้ธนาคารทราบ โดยส่งหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนต หนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตตามแบบที่แนบ ซึ่งผู้มีอํานาจลงนามได้ลงนามเรียบร้อยแล้วทางโทรสารและส่งต้นฉบับหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตต้นฉบับหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนต ถึงธนาคารภายในเวลา 10.00 น.ของวันทําการถัดจากวันที่แจ้ง เว้นแต่กรณีที่ตกลงให้กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรโอนไปยังสมาชิกผู้รับโอนในวันที่แจ้ง ให้ส่งต้นฉบับหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนต ต้นฉบับหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตถึงธนาคารภายในเวลา 15.30 น. ของวันที่แจ้ง การแจ้งให้ธนาคารทราบทางโทรสารตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกแจ้งระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. ในวันทําการธนาคาร 4.3.2 เมื่อธนาคารตรวจสอบหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนต หนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตที่ส่งทางโทรสารกับต้นฉบับของสมาชิกแล้วเห็นว่าถูกต้องตรงกัน และบัญชีพันธบัตรของสมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์มียอดเพียงพอสําหรับการโอน รวมทั้งสมาชิกผู้รับโอนพันธบัตรได้โอนเงินผ่านระบบบาทเนตเข้าบัญชีเงินฝากของสายงานพันธบัตรที่ธนาคาร โดยสายงามพันธบัตรของธนาคารได้รับใบแจ้งการเครดิตบัญชีแล้ว ธนาคารจะดําเนินการโอนเงินผ่านระบบบาทเนตให้กับสมาชิกผู้โอนพันธบัตร พร้อมกับดําเนินการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรให้ ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 4 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ. 2542 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2541 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ในกรณีเอกสารที่ส่งทางโทรสารกับฉบับไม่ถูกต้องตรงกัน หรือในกรณีบัญชีพันธบัตรของสมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์มียอดไม่เพียงพอสําหรับการโอน หรือในกรณีที่เงินในบัญชีเงินฝากของสมาชิกหรือของตัวแทนสมาชิกมีจํานวนไม่เพียงพอที่จะชําระราคาพันธบัตร ซึ่งอาจมีสาเหตุจากสมาชิกอื่นมีเงินไม่เพียงพอที่จะชําระราคาพันธบัตรให้กับตนได้ก่อนภายใต้ระเบียบนี้ หรือการโอนเงินผ่านระบบบาทเนตไม่สมบูรณ์ ให้ถือว่าไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร และธนาคารจะแจ้งให้สมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์และสมาชิกผู้รับโอนกรรมสิทธิ์ทราบในวันนั้น ภายในเวลา 16.30 น." ข้อ ๔ ให้ผนวกแบบหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตและแบบหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนต ที่แนบท้ายระเบียบนี้ เป็นเอกสาร แนบท้ายระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ.2542 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2541 ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม 2542 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 ตุลาคม 2542 (ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,836
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3646 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 3 : การวัดความกว้าง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3646 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถุงยางอนามัย เล่ม 3 : การวัดความกว้าง --------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 3 : การวัดความกว้าง มาตรฐานเลขที่ มอก. 625 เล่ม 3 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2545 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 3 : การวัดความกว้าง ลงวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2550 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,837
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชำระราคาพันธบัตรพ.ศ.2542
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ.2542 ----------------------------------------------- เพื่อพัฒนาตลาดรองพันธบัตรและอํานวยความสะดวกในการโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรและชําระราคาพันธบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงวางระเบียบไว้ดังนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการเก็บรักษาพันธบัตรเพื่อการโอนกรรมสิทธิ์ระหว่างสมาชิก พ.ศ.2539 ลงวันที่ 4 เมษายน 2539 ข้อ ๒ ในระเบียบนี้ "ธนาคาร" หมายถึง ธนาคารแห่งประเทศไทย "สมาชิก" หมายถึง บุคคลที่มีกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน "พันธบัตร" หมายถึง พันธบัตรซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน "บัญชีพันธบัตร" หมายถึง บัญชีแสดงรายละเอียดพันธบัตรที่สมาชิกเป็นผู้ทรงกรรมสิทธิ์ "บัญชีเงินฝาก" หมายถึง บัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย "ตัวแทนสมาชิก" หมายถึง ผู้มีบัญชีเงินฝากที่ธนาคารแห่งประเทศไทย และตกลงยินยอมเป็นผู้จ่ายเงิน หรือรับเงิน เพื่อชําระหรือรับชําระราคาพันธบัตรแทนสมาชิกตามที่สมาชิกนั้นมอบหมาย ข้อ ๓ สมาชิกที่ประสงค์ที่จะได้รับประโยชน์ตามระเบียบนี้จะต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้ 3.1 ทําหนังสือแสดงความตกลงตามแบบที่แนบ เพื่อผูกพันตามระเบียบนี้ 3.2 ทําหนังสือมอบอํานาจตามแบบที่แนบ เพื่อให้ผู้รับมอบอํานาจทําหน้าที่ติดต่อกับธนาคารเพื่อแจ้งการโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร การลงนามในหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรตามแบบที่แนบ การโอนเงินจากบัญชีเงินฝากเพื่อชําระราคาพันธบัตรและการนําเงินจากการรับชําระราคาพันธบัตรเข้าบัญชีเงินฝาก และเพื่อการรับแจ้งจากธนาคาร 3.3 ทําหนังสือขอส่งมอบพันธบัตรตามแบบที่แนบ เพื่อมอบพันธบัตรที่สมาชิกมีกรรมสิทธิ์และปราศจากภาระผูกพันเก็บรักษาไว้ที่ธนาคาร รวมทั้งหนังสือขอรับคืนพันธบัตรตามแบบที่แบบเมื่อประสงค์จะถอนพันธบัตรคืน 3.4 ทําหนังสือแสดงความยินยอมตามแบบที่แนบ ยินยอมให้ธนาคารนําเงินเข้าบัญชีเงินฝากหรือหักเงินออกจากบัญชีเงินฝากตามราคาพันธบัตรที่โอนหรือรับโอนกรรมสิทธิ์ระหว่างสมาชิก 3.5 ทําหนังสือแสดงความยินยอมของตัวแทนสมาชิกตามแบบที่แนบ ยินยอมให้ธนาคารนําเงินเข้าบัญชีเงินฝาก หรือหักเงินออกจากบัญชีเงินฝาก เพื่อชําระราคาพันธบัตรที่โอนหรือรับโอนกรรมสิทธิ์ระหว่างสมาชิก ข้อ ๔ การโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรทางบัญชี 4.1 กรณีสมาชิกประสงค์โอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรอย่างเดียว 4.1.1 เมื่อมีการตกลงระหว่างสมาชิกในเรื่องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร สมาชิกผู้โอนและสมาชิกผู้รับโอนต้องแจ้งให้ธนาคารทราบ โดยส่งหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรตามแบบที่แนบ ซึ่งผู้มีอํานาจลงนามได้ลงนามเรียบร้อยแล้วทางโทรสาร และส่งต้นฉบับหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรถึงธนาคารภายในเวลา 10.00 น. ของวันทําการถัดจากวันที่แจ้ง เว้นแต่กรณีที่ตกลงให้กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรโอนไปยังสมาชิกผู้รับโอนในวันที่แจ้ง ให้ส่งต้นฉบับหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรถึงธนาคารภายในเวลา 15.30 น. ของวันที่แจ้ง การแจ้งให้ธนาคารทราบทางโทรสารตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกแจ้งระหว่างเวลา 9.00 น.ถึง 15.00 น. ในวันทําการธนาคาร 4.1.2 เมื่อธนาคารตรวจสอบหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรที่ส่งทางโทรสารกับต้นฉบับของสมาชิกแล้ว เห็นว่าถูกต้องตรงกัน และบัญชีพันธบัตรของสมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์มียอดเพียงพอสําหรับการโอนแล้ว ธนาคารจึงจะดําเนินการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรให้ 4.2 กรณีสมาชิกประสงค์โอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร และให้มีการชําระราคาพันธบัตรจากบัญชีเงินฝากของสมาชิกที่ธนาคารหรือบัญชีเงินฝากของตัวแทนสมาชิก 4.2.1 เมื่อมีการตกลงระหว่างสมาชิกในเรื่องการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร สมาชิกผู้โอนและสมาชิกผู้รับโอนต้องแจ้งให้ธนาคารทราบ โดยส่งหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตร หนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรตามแบบที่แนบ ซึ่งผู้มีอํานาจลงนามได้ลงนามเรียบร้อยแล้วทางโทรสาร และส่งต้นฉบับหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตร ต้นฉบับหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตร ถึงธนาคารภายในเวลา 10.00 น. ของวันทําการถัดจากวันที่แจ้ง เว้นแต่กรณีที่ตกลงให้กรรมสิทธิ์ในพันธบัตร โอนไปยังสมาชิกผู้รับโอนในวันที่แจ้ง ให้ส่งต้นฉบับหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรและต้นฉบับหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตร ถึงธนาคารภายในเวลา 15.30 น. ของวันที่แจ้ง การแจ้งให้ธนาคารทราบทางโทรสารตามวรรคหนึ่ง ให้สมาชิกแจ้งระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. ในวันทําการธนาคาร 4.2.2 เมื่อธนาคารตรวจสอบหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรที่ส่งทางโทรสารกับต้นฉบับของสมาชิกแล้วเห็นว่าถูกต้องตรงกัน และบัญชีพันธบัตรของสมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์มียอดเพียงพอสําหรับการโอนแล้วธนาคารจะตรวจสอบจํานวนเงินในบัญชีเงินฝากของสมาชิกผู้รับโอนกรรมสิทธิ์หรือของตัวแทนสมาชิก หากจํานวนเงินในบัญชีเงินฝากมีจํานวนเพียงพอที่ชําระราคาพันธบัตรตามราคาที่ซื้อขายกัน ธนาคารจะดําเนินการหักเงินในบัญชีเงินฝากนั้น และนําเงินเข้าบัญชีเงินฝากของสมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรหรือของตัวแทนสมาชิก พร้อมกับดําเนินการ จดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรให้ ในกรณีเอกสารที่ส่งทางโทรสารกับต้นฉบับไม่ถูกต้องตรงกัน หรือในกรณีบัญชีพันธบัตรของสมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์มียอดไม่เพียงพอสําหรับการโอน หรือในกรณีที่เงินในบัญชีเงินฝากของสมาชิกหรือของตัวแทนสมาชิกมีจํานวนไม่เพียงพอที่จะชําระราคาพันธบัตร ซึ่งอาจมีสาเหตุจากสมาชิกอื่นมีเงินไม่เพียงพอที่จะชําระราคาพันธบัตรให้กับตนได้ก่อนภายใต้ระเบียบนี้ ให้ถือว่าไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร และธนาคารจะแจ้งให้สมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์และสมาชิกผู้รับโอนกรรมสิทธิ์ทราบในวันนั้นภายในเวลา 16.30 น. ข้อ ๕ สมาชิกผู้โอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรต้องชําระค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและค่าธรรมเนียมการจัดการชําระราคาพันธบัตรในอัตราที่ธนาคารกําหนด ข้อ ๖ ธนาคารจะจัดส่งบัญชีพันธบัตรแสดงรายละเอียดพันธบัตรที่สมาชิกมีอยู่ ณ วันที่เปลี่ยนแปลง และ ณ สิ้นวันทําการสุดท้ายของเดือนมิถุนายนและธันวาคมให้แก่สมาชิก ข้อ ๗ สมาชิกไม่สามารถดําเนินการตามข้อ 4 ไว้ ในระยะเวลา 15 วันก่อนวันถึงกําหนดชําระคืนต้นเงินกู้ของพันธบัตรนั้นๆ ข้อ ๘ ธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวดให้แก่สมาชิกผู้มีพันธบัตรนั้นอยู่ในบัญชีพันธบัตร ณ เวลาที่เริ่มต้นทําการงานในวันแรกแห่งระยะเวลา 10 วันก่อนวันถึงกําหนดชําระดอกเบี้ย ข้อ ๙ ธนาคารจะถือว่าสมาชิกเป็นผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรที่ปรากฏอยู่ในบัญชีพันธบัตรของตนโดยปราศจากภาระผูกพันใด ๆ ข้อ ๑๐ ในกรณีที่สมาชิกประสงค์จะขอรับพันธบัตรคืน จะต้องแจ้งความจํานงล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วันทําการ ข้อ ๑๑ ธนาคารไม่รับผิดชอบในความเสียหายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกิดจากการที่สมาชิกไม่สามารถโอนหรือรับโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร หรือไม่สามารถชําระหรือรับชําระราคาพันธบัตรตามเวลาที่กําหนดภายใต้ระเบียบนี้ได้ ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใดก็ตาม ข้อ ๑๒ ธนาคารสงวนสิทธิ์ที่จะไม่ดําเนินการจดทะเบียน โอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและจัดการชําระราคาพันธบัตรให้กับสมาชิกที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อใดข้อหนึ่งแห่งระเบียบนี้ หรือมีพฤติการณ์ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของระเบียบ หรือมีเหตุไม่สมควรประการอื่น ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม 2542 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2541 (ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,838
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกำหนดอัตราดอกเบี้ยในเงินที่ส่งมอบเพิ่ม (Variation Margin) และอัตรา ดอกเบี้ยเบี้ยปรับกรณีผิดนัดในวันที่ซื้อหรือขาย (Purchase Date) ในแต่ละวันทำการ จนถึงวันก่อนวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน และวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน (Repurchase Date)
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การกําหนดอัตราดอกเบี้ยในเงินที่ส่งมอบเพิ่ม (Variation Margin) และอัตรา ดอกเบี้ยเบี้ยปรับกรณีผิดนัดในวันที่ซื้อหรือขาย (Purchase Date) ในแต่ละวันทําการ จนถึงวันก่อนวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน และวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน (Repurchase Date) อื่นๆ - ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประกาศอัตราดอกเบี้ยที่ใช้ระหว่าง ธปท. และ ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ในการซื้อขายพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน ข้อ 5. วรรคสาม และข้อ 7. แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน พ.ศ.2543 ดังนี้ 1. อัตราดอกเบี้ยที่ใช้ในการคํานวณดอกเบี้ยของจํานวนเงินรวมสุทธิของเงินสดที่ได้ส่งมอบหรือรับมอบเพิ่มเติม (variation margin) ในแต่ละวันทําการของสัญญาซื้อขายพันธบัตรโดยมีข้อสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืนแต่ละสัญญา ตามข้อ 5 วรรคสามของระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน พ.ศ. 2543 ให้ใช้อัตราผลตอบแทนปิด (Closing Yield) ระยะ 1 วัน รอบบ่ายของตลาดซื้อคืน ธปท. 2. อัตราที่ใช้ในการคํานวณเบี้ยปรับหากมีการผิดนัดชําระราคาหรือส่งมอบพันธบัตรในวันที่ซื้อหรือขาย (Purchase Date) ในแต่ละวันทําการจนถึงวันก่อนวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน และวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน (Repurchase Date) ตามข้อ 7. ของระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน พ.ศ. 2543 ให้ใช้อัตราผลตอบแทนปิด (Closing Yield) ระยะ 1 วัน รอบเช้าของตลาดซื้อคืน ธปท. ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม 2543 เป็นต้นไป จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2543 ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,839
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการรับซื้อพันธบัตร โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน พ.ศ. 2543
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการรับซื้อพันธบัตร โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นเงินสภาพคล่องระหว่างวัน พ.ศ. 2543 ------------------------------------ โดยที่สมควรปรับปรุงวิธีการให้เงินสภาพคล่องระหว่างวัน เพื่อให้การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบบาทเนตมีความคล่องตัวยิ่งขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการรับซื้อพันธบัตร โดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นวงเงินสภาพคล่องระหว่างวัน พ.ศ. 2539 ข้อ ๒ ในระเบียบนี้ "ธนาคาร" หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย "สถาบันการเงิน" หมายความว่า (1) ธนาคารพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ (2) บริษัทเงินทุนตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ และ (3) สถาบันการเงินอื่นตามที่ธนาคารกําหนด "พันธบัตร" หมายความว่า ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาลหรือพันธบัตรธนาคารและหมายความรวมถึงพันธบัตรที่ออกโดยองค์การของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะ และธนาคารเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน ทั้งนี้ ดังรายชื่อพันธบัตรที่ธนาคารกําหนดไว้ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินโดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืน พ.ศ. 2539 "บัญชีเงินฝากสถาบันการเงิน" หมายความว่า บัญชีเงินฝากกระแสรายวันซึ่งสถาบันการเงินเปิดไว้กับธนาคาร ข้อ ๓ ในแต่ละวันธนาคารจะพิจารณารับซื้อพันธบัตรจากสถาบันการเงินตามรายชื่อพันธบัตรและราคารับซื้อที่ธนาคารกําหนด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสภาพคล่องของการโอนเงินผ่านระบบบาทเนตเท่านั้น ทั้งนี้ธนาคารจะนําเงินเข้าบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินภายในเวลา 8.30 น. และสถาบันการเงินตกลงว่าจะซื้อคืนพันธบัตร ที่ขายเมื่อสิ้นวันที่ขายภายในเวลา 17.00 น. โดยให้ธนาคารหักบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินในการชําระราคาซื้อคืน พันธบัตรที่ธนาคารจะพิจารณารับซื้อแต่ละวัน ต้องมีราคารับซื้อไม่ต่ํากว่าหนึ่งล้านบาท และไม่มีจํานวนเงินที่ต่ํากว่าหลักแสนบาท ข้อ ๔ สถาบันการเงินที่ประสงค์จะขายพันธบัตรต้องปฏิบัติดังนี้ (1) ทําหนังสือแสดงความตกลงตามแบบที่แนบ (2) มอบอํานาจให้บุคคลกระทําการแทนสถาบันการเงินในการติดต่อกับธนาคารทางโทรศัพท์ และลงนามในหนังสือมอบอํานาจถึงธนาคารตามแบบที่แนบ (3) ฝากพันธบัตรที่สถาบันการเงินมีกรรมสิทธิ์และปราศจากภาระผูกพันไว้กับธนาคารเพื่อการซื้อขายตามแบบหนังสือที่แนบ (4) ยินยอมให้ธนาคารจัดการเกี่ยวกับพันธบัตรที่สถาบันการเงินฝากไว้ คือ จัดสรรขาย ซื้อคืน โอนและรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรแทนสถาบันการเงิน ตลอดจนนําเงินเข้าบัญชีเงินฝากและหักบัญชีเงินฝากสถาบันการเงิน ทั้งนี้ ตามแบบหนังสือแสดงความยินยอมที่แนบ (5) แจ้งจํานวนเงินสภาพคล่องระหว่างวันที่ประสงค์จะขายพันธบัตรตามแบบหนังสือแจ้งจํานวนเงินสภาพคล่องระหว่างวันที่แนบ ข้อ ๕ สถาบันการเงินใดประสงค์จะเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินที่ขายพันธบัตร ในแต่ละวันจากที่ได้แจ้งไว้ หรือประสงค์จะขายพันธบัตรเพิ่มในระหว่างวัน หรือไม่ประสงค์จะขายพันธบัตรในวันหนึ่งวันใด สถาบันการเงินนั้นต้องแจ้งให้ธนาคารทราบทางโทรศัพท์ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง และส่งหนังสือแจ้งจํานวนเงินสภาพคล่องระหว่างวันตามแบบที่แนบภายในวันนั้น ในกรณีจะขอเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินที่ขายพันธบัตร ในแต่ละวันตลอดไปให้ส่งหนังสือแจ้งจํานวนเงินสภาพคล่องระหว่างวันให้ธนาคารทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 วัน ข้อ ๖ สถาบันการเงินมีหน้าที่ควบคุมดูแลให้มีพันธบัตรที่จะขายเพื่อเงินสภาพคล่องระหว่างวันให้เพียงพอกับปริมาณธุรกรรมที่ทําผ่านบาทเนตตลอดเวลา ข้อ ๗ เมื่อธนาคารได้นําเงินเข้าบัญชีเงินฝากสถาบันการเงิน การ ขายพันธบัตร โดยมีข้อตกลงว่าจะซื้อคืนมีผลผูกพันสถาบันการเงินทันที และสถาบันการเงินจะใช้ประโยชน์จากเงินดังกล่าวได้เฉพาะการ โอนเงินผ่านบริการบาทเนตเท่านั้น ข้อ ๘ สถาบันการเงินที่ประสงค์จะซื้อคืนพันธบัตรเพียงบางส่วนหรือทั้งหมดก่อนสิ้นวันในวันใด ต้องแจ้งให้ธนาคารทราบทางโทรศัพท์ก่อนและส่งหนังสือยืนยันการซื้อคืนพันธบัตรก่อนสิ้นวันตามแบบที่แนบให้ธนาคารภายในเวลา 10.00 น. ของวันทําการถัดไป พันธบัตรที่ธนาคารจะพิจารณาขายคืนบางส่วนตามวรรคแรก จํานวนเงินต้องไม่ต่ํากว่าหลักแสนบาท ข้อ ๙ ในกรณีที่เงินในบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินมีไม่พอให้ธนาคารหักเพื่อชําระราคาซื้อคืนพันธบัตร ณ สิ้นวันตามเวลาที่ธนาคารกําหนด ธนาคารจะให้สถาบันการเงินซื้อคืนพันธบัตรตามสัดส่วนเท่าที่เงินในบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินมีอยู่ เป็นจํานวนเงินที่ไม่ต่ํากว่าหลักแสนบาท สําหรับพันธบัตรส่วนที่เหลือถือว่าไม่มีการซื้อคืนในวันนั้น และธนาคารจะขายคืนในวันทําการถัดไป แต่ถ้าในวันทําการถัดไปเงินในบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินยังคงไม่พอให้หักชําระราคาซื้อคืนภายใน 12.00 น. สถาบันการเงินเป็นอันสิ้นสิทธิซื้อคืน ข้อ ๑๐ พันธบัตรที่ธนาคารจะขายคืนบางส่วนตามข้อ 7 หรือพันธบัตรที่ธนาคารขายคืนบางส่วน เนื่องจากสถาบันการเงินมีเงินในบัญชีไม่พอหักตามข้อ 8 มูลค่าพันธบัตรหลังจากที่ธนาคารขายคืนนั้นต้องมีมูลค่าเพียงพอที่ จะครอบคลุมยอดเงินสภาพคล่องระหว่างวันคงค้าง ข้อ ๑๑ สถาบันการเงินที่ซื้อคืนพันธบัตรก่อนสิ้นวันหรือเมื่อสิ้นวันที่ขาย ธนาคารจะขายคืนตามราคาที่รับซื้อไว้ กรณีที่ซื้อคืนพันธบัตรในวันทําการถัดจากวันที่ขาย ธนาคารจะขายคืนในราคาที่เท่ากับผลรวมของราคาที่ธนาคารรับซื้อกับค่าตอบแทนตามอัตราที่ธนาคารกําหนดและจํานวนวันที่รับซื้อ ทั้งนี้ ตามวิธีคํานวณที่ธนาคารกําหนด ข้อ ๑๒ สถาบันการเงินที่ไม่ซื้อคืนพันธบัตรภายในกําหนด ให้ปฏิบัติเกี่ยวกับดอกเบี้ยพันธบัตรดังนี้ (1) ในกรณีที่มีการจ่ายดอกเบี้ยภายหลังวันที่ธนาคารได้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและสถาบันการเงินเป็นผู้รับดอกเบี้ยงวดนั้น สถาบันการเงินต้องคืนดอกเบี้ยในส่วนที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ธนาคารได้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร โดยธนาคารจะหักบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินในวันถัดจากวันสิ้นสิทธิซื้อคืน (2) ในกรณีที่มีการจ่ายดอกเบี้ยภายหลังวันที่ธนาคาร ได้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและธนาคารเป็นผู้รับดอกเบี้ยพันธบัตรงวดนั้น ธนาคารจะคืนดอกเบี้ยพันธบัตรให้แก่สถาบันการเงินเฉพาะส่วนที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ธนาคาร ได้รับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร โดยนําเงินเข้าบัญชีเงินฝากสถาบันการเงินในวันที่ธนาคารได้รับดอกเบี้ยพันธบัตรงวดนั้น ข้อ ๑๓ สถาบันการเงินใดประสงค์จะขอถอนคืนพันธบัตรที่ฝากไว้ให้ทําหนังสือตามแบบที่แนบส่งให้ธนาคาร ข้อ ๑๔ กําหนดเวลาที่ระบุไว้ตามระเบียบนี้ ธนาคารอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความจําเป็นและสมควร ข้อ ๑๕ ธนาคารสงวนสิทธิดังนี้ (1) คิดค่าธรรมเนียมเมื่อมีเหตุจําเป็น (2) ไม่รับซื้อพันธบัตรจากสถาบันการเงินที่ฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามข้อใดข้อหนึ่งแห่งระเบียบนี้ หรือมีพฤติการณ์ที่ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งระเบียบนี้หรือมีเหตุไม่สมควรประการอื่น ข้อ ๑๖ สถาบันการเงินใดขายพันธบัตรไว้ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการรับซื้อพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าผู้ขายจะซื้อคืนเพื่อเป็นวงเงินสภาพคล่องระหว่างวัน พ.ศ. 2539 ซึ่งได้ยกเลิกไปตามระเบียบนี้ และยังไม่ซื้อคืนพันธบัตร การซื้อคืนพันธบัตรให้เป็นไปตามข้อกําหนดในระเบียบดังกล่าว ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2543 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2543 (ลงชื่อ) จัตุมงคล โสณกุล (ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล) ผู้ว่าการ
7,840
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การประเมินมูลค่ารวมของพันธบัตรและเงินที่จะต้องชำระเพิ่ม (Variation Margin) ในการซื้อขายพันธบัตรระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การประเมินมูลค่ารวมของพันธบัตรและเงินที่จะต้องชําระเพิ่ม (Variation Margin) ในการซื้อขายพันธบัตรระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดหลักเกณฑ์การประเมินมูลค่ารวมของพันธบัตรและหลักเกณฑ์จํานวนเงินที่จะต้องชําระเพิ่มเติมตาม ข้อ 4.3 ข้อ 5 ข้อ 7.3 ข้อ 7.4 และข้ออื่นๆที่เกี่ยวข้องแห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน พ.ศ. 2543 ดังต่อไปนี้ อื่นๆ - 1. มูลค่ารวมของพันธบัตร อัตราส่วนลด (Initial Margin) ในการซื้อหรือขายพันธบัตรและช่วงอัตราปลอดการเรียกเงินเพิ่ม (Variation Margin) 1.1 มูลค่าตลาดของพันธบัตร เพื่อประโยชน์ในการประเมินราคาพันธบัตรที่ซื้อหรือขาย ให้ใช้ราคาตลาดรวมดอกเบี้ยค้างรับที่คํานวณจนถึงวันที่ประเมินราคาพันธบัตร (Dirty Price) ที่เผยแพร่ใน Web Site ของศูนย์ซื้อขายตราสารหนี้ไทย (TBDC) ซึ่งได้มาโดยการนําอัตราผลตอบแทนตลาด (Market Yield) ตามรายละเอียดที่กําหนดในตารางนี้ มาคํานวณตามวิธีการที่กําหนดไว้ใน "มาตรฐานการเสนอซื้อขายและคํานวณราคาสําหรับการซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล" ทั้งนี้ พันธบัตรที่ซื้อหรือขายแต่ละรุ่นต้องมีมูลค่าตามราคาตราไม่ต่ํากว่า 100,000 บาทและไม่มีเศษของ 100,000 บาท ยกเว้นพันธบัตร ธปท. ต้องมีมูลค่าตามราคาตราไม่ต่ํากว่า 1,000,000 บาทและไม่มีเศษของ 1,000,000 บาท | | | | --- | --- | | หัวข้อ | รายละเอียดที่กําหนด | | (1) อัตราผลตอบแทนพันธบัตร | ก) พันธบัตรรัฐบาล อัตราผลตอบแทนตลาดขาซื้อ (Bid Yield)เฉลี่ยของไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer)ข) พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล Interpolate ให้ตรงกับอายุของพันธบัตรรัฐวิสาหกิจนั้นๆ พอดี บวกกับ Spread ตามกลุ่มของรัฐวิสาหกิจผู้ออกและอายุของพันธบัตรค) พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล Interpolate ให้ตรงกับอายุของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยพอดีง) ตั๋วเงินคลัง ไม่ใช้ทั้งนี้ให้ใช้อัตราผลตอบแทนในวันก่อนหน้าวันประเมินราคาพันธบัตร 1 วันหรือวันล่าสุดที่มี | | | | | --- | --- | | หัวข้อ | รายละเอียดที่กําหนด | | (2) แหล่งข้อมูล | Web Site ของศูนย์ซื้อขายตราสารหนี้ไทย (TBDC) | | (3) การคํานวณราคาตลาดของพันธบัตร | คํานวณราคารวมดอกเบี้ยค้างรับ (Dirty Price) ของพันธบัตรจนถึงวันที่ประเมินราคา (ถึงแม้ว่าจะใช้อัตราผลตอบแทนตลาดของวันก่อนหน้า) ตามสูตรการคํานวณราคาพันธบัตรที่ประกาศโดย ธปท. ในกรณีของตั๋วเงินคลังให้ใช้ราคาตรา | | (3) มูลค่าตลาดของพันธบัตร | มูลค่าตลาดของพันธบัตรเท่ากับผลคูณของราคาตราของพันธบัตรจํานวนหน่วยและราคาตลาดของพันธบัตร | 1.2 อัตราส่วนลด (Initial Margin) ในการซื้อหรือขายพันธบัตร และช่วงอัตราปลอดการเรียกเงินเพิ่ม (Variation Margin) ในการพิจารณาจํานวนเงินที่จะต้องเรียกเพิ่มเติมตามนัยแห่งระเบียบข้อ 5 และข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้พิจารณาอัตราส่วนลดประกอบกับช่วงอัตราก่อนที่จะมีการเรียกเงินเพิ่ม ตามตารางนี้ | | | | | | --- | --- | --- | --- | | ประเภทของพันธบัตร | อัตราส่วนลด | ช่วงอัตราปลอดการเรียกเงินเพิ่ม | หมายเหตุ | | 2.1 พันธบัตรรัฐบาล | ร้อยละ 3 | ร้อยละ 2 | | | 2.2 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ | ร้อยละ 5 | ร้อยละ 3 | | | 2.3 พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย | ร้อยละ 3 | ร้อยละ 2 | | | 2.4 ตั๋วเงินคลัง | ร้อยละ 5 | ไม่มี | ไม่มีการเรียก Margin | อื่นๆ - 2. การคํานวณราคาซื้อขาย ราคาขายคืนหรือซื้อคืน และเงินที่ต้องส่งมอบเพิ่มเติม 2.1 นิยามและสูตรการคํานวณราคาซื้อขายพันธบัตร ราคาซื้อขายพันธบัตร (Purchase Price) หมายถึง จํานวนเงินที่ใช้ในการซื้อพันธบัตร ณ วันเริ่มต้นของธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืนโดย | | | --- | | Purchase Price x (1 + Initial Margin) ≤ มูลค่าของพันธบัตร | 2.2 นิยามและสูตรการคํานวณราคาขายคืนหรือซื้อคืน ราคาขายคืนหรือซื้อคืน (Repurchase Price) ณ วันประเมินราคาหมายถึง ผลรวมของราคาซื้อขายพันธบัตร (Purchase Price) กับดอกเบี้ยค้างรับจนถึงวันประเมินราคา โดยมีสูตรการคํานวณดังนี้ | | | --- | | Repurchase Price = Purchase Price x (1 + (Repurchase Rate x จํานวนวัน)) 365 | โดยจํานวนวันเท่ากับจํานวนวันที่ธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืนคงค้างอยู่และในวันสิ้นสุดของแต่ละธุรกรรมจํานวนวันจะเท่ากับอายุของธุรกรรมนั้นๆ ตามที่ตกลงกันไว้ ณ วันเริ่มต้นธุรกรรม 2.3 การคํานวณเงินที่ส่งมอบเพิ่มเติมและเงื่อนไขอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การเรียกเงินเพิ่ม (Margin Call) จะเกิดขึ้นในกรณีดังต่อไปนี้ | | | --- | | ก. ((1 + Initial Margin x Repurchase Price) - มูลค่าพันธบัตร > Variation Margin Repurchase Price หรือข. ((1 + Initial Margin) x Repurchase Price) - มลค่าพันธบัตร < -Variation Margin Repurchase Price | โดย Variation Margin หมายถึง ช่วงอัตราปลอดการเรียกเงินเพิ่มตามที่กําหนดไว้สําหรับพันธบัตรแต่ละประเภทตามในประกาศนี้ข้อ 1.2 และในกรณีที่มีพันธบัตรหลายประเภทในหนึ่งธุรกรรม Variation Margin จะเท่ากับค่าเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักของ Variation Margin ของพันธบัตรเหล่านั้น (ถ่วงน้ําหนักตามราคาขายคืนหรือซื้อคืนของแต่ละพันธบัตร) ในกรณีที่มีการเรียกเงินเพิ่ม จํานวนเงินที่ต้องส่งมอบเพิ่มเติมเท่ากับ | | | --- | | ก.[(1 + Initial Margin) x Repurchase Price] - มูลค่าพันธบัตร หรือข. มูลค่าพันธบัตร - [(1 + Initial Margin) x Repurchase Price] แล้วแต่กรณี | เงื่อนไขอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียกเงินเพิ่มมีดังต่อไปนี้ ก. ให้นํายอดเงินเพิ่มของแต่ละธุรกรรม มารวมกันเป็นยอดเงินเพิ่มสุทธิสําหรับแต่ละไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะจ่ายหรือเรียกเงินเพิ่มในจํานวนเท่ากับยอดเงินเพิ่มสุทธิดังกล่าว ข. ถ้ายอดเงินเพิ่มสุทธิสําหรับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ต่ํากว่า 10,000 บาท ธนาคารแห่งประเทศไทยจะยกเว้นการจ่ายหรือเรียกเงินเพิ่มกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายนั้น ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม 2543 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2543 ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,841
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง กำหนดเวลาการปฏิบัติงานประจำวัน และระบบการสื่อสารระหว่างธนาคารแห่ง ประเทศไทยกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ในการซื้อขายพันธบัตรโดยมี สัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง กําหนดเวลาการปฏิบัติงานประจําวัน และระบบการสื่อสารระหว่างธนาคารแห่ง ประเทศไทยกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ในการซื้อขายพันธบัตรโดยมี สัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดเวลาการปฏิบัติงานประจําวันและระบบการสื่อสารที่ใช้ระหว่าง ธปท. และไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ในการซื้อขายพันธบัตร โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน ตามข้อ 2. ข้อ 3. ข้อ 4. ข้อ 5. ข้อ 6. และ ข้อ 7. แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน พ.ศ.2543 ดังนี้ อื่นๆ - 1. การทําธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน (ธุรกรรมขาแรก) (ตามข้อ 3. และข้อ 4.) | | | | | --- | --- | --- | | ธุรกรรม | ระบบสื่อสาร | เวลา | | ธปท. แจ้งความประสงค์ไปยังไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทุกราย | Reuters Dealing | ประมาณ 9.15 วัน | | ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทุกรายแจ้งข้อเสนอซื้อหรือเสนอขายพันธบัตรมาให้ ธปท. | Reuters Dealing | ภายใน 9.30 น. | | ธปท. แจ้งผลการพิจารณาการรับซื้อหรือขายพันธบัตรให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทราบ | Reuters Dealing | ประมาณ 9.45 น. | | ผู้ขายยืนยันการขายและซื้อคืนไปยังผู้ซื้อ | หากไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) เป็นผู้ขายให้ใช้ Bilateral Communication ของระบบบาทเนต หาก ธปท. เป็นผู้ขาย ให้ใช้ระบบ SWIFT (MT599) | ภายใน 11.00 น. | | ผู้ซื้อแจ้งยืนยันธุรกรรมกลับไปยังผู้ขาย | หากไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) เป็นผู้ซื้อ ให้ใช้ Bilateral Communication ของระบบบาทเนต หาก ธปท. เป็นผู้ซื้อให้ใช้ระบบ SWIFT (MT599) | ภายใน 12.00 น. | อื่นๆ - 2. การเรียก margin ตามข้อ 5 | | | | | --- | --- | --- | | ธุรกรรม | ระบบสื่อสาร | เวลา | | ธปท. แจ้งให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทราบจํานวนเงินสดที่ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ต้องส่งมอบหรือรับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) | ระบบ SWIFT (MT 599) | ภายใน 8.45 น. | | ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทักท้วงหากไม่ถูกต้อง | Bilateral Communication ของระบบบาทเนต | ภายใน 9.15 น. | | ธปท. หักบัญชีหรือส่งเงินเข้าบัญชีของไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ที่ ธปท. แล้วแต่กรณี | ระบบบาทเนต | ตั้งแต่ 9.30 น. | อื่นๆ - 3. การทําธุรกรรมขายคืนหรือซื้อคืนกับไพรมารี ดีลเลอร์ (ธุรกรรมขาหลัง) (ตามข้อ 6) | | | | | --- | --- | --- | | ธุรกรรม | ระบบสื่อสาร | เวลา | | ธปท. จะแจ้งจํานวนเงินรวมสุทธิที่ได้ส่งมอบหรือรับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) ทั้งหมดของสัญญาที่ครบกําหนด รวมทั้งดอกเบี้ยของจํานวนเงินดังกล่าว ให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทราบ | ระบบ SWIFT (MT 599) | ภายใน 9.00 น. | | ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทักท้วงหากไม่ถูกต้อง | Bilateral Communication ของระบบบาทเนต | ภายใน 9.15 น. | | ธปท. หักบัญชีหรือส่งเงินเข้าบัญชีของ ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ที่ ธปท.แล้วแต่กรณี | ระบบบาทเนต | ตั้งแต่ 9.30 น. | หมายเหตุ : ในกรณีที่ระบบสื่อสารที่เป็นระบบ SWIFT หรือ Bilateral Communication ของระบบบาทเนตขัดข้อง จะใช้แฟกซ์ในการสื่อสารแทน ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม 2543 เป็นตันไป จนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2543 ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,842
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน พ.ศ. 2543
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการซื้อขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) โดยมีสัญญาว่าจะ ขายคืนหรือซื้อคืน พ.ศ. 2543 -------------------------------------- เพื่อเป็นการพัฒนาตลาดตราสารหนี้และเพื่อพัฒนาเครื่องมือในการดําเนินนโยบายการเงินให้ธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถปล่อยหรือดูดซับสภาพคล่องจากระบบการเงินได้อย่างเหมาะสมอันเป็นงานของธนาคารกลางตามนัยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มาตรา 5 มาตรา 28 และมาตรา 40 ประกอบกับพระราชกฤษฎีกากําหนดกิจการธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มาตรา 12 (10) (10 ทวิ) และ (10 ตรี) ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงวางระเบียบ ไว้ดังต่อไปนี้ อื่นๆ - 1. ในระเบียบนี้ (1) "ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer)" หมายความว่า สถาบันการเงินที่ ธปท. แต่งตั้งให้เป็นคู่ค้าของ ธปท. เพื่อทําหน้าที่เป็นตัวกลางในการปล่อยหรือดูดซับสภาพคล่องจากระบบการเงิน (2) "ผู้ซื้อ" หมายความว่า ผู้ที่ซื้อพันธบัตรโดยมีข้อสัญญาว่าจะขายคืน (3) "ผู้ขาย" หมายความว่า ผู้ที่ขายพันธบัตรโดยมีข้อสัญญาว่าจะซื้อคืน (4) "พันธบัตร" หมายความว่าพันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หุ้นกู้ พันธบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทย และตั๋วเงินคลัง เฉพาะที่ ธปท. เป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน ทั้งนี้ ตามที่ ธปท. กําหนด (5) "ธปท." หมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย (6) "ระเบียบ ธปท.ว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร" หมายความว่า ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีละการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม อื่นๆ - 2. การแสดงเจตนา การบอกกล่าวและการสื่อสารใด ๆ ระหว่าง ธปท. และ ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ให้เป็นไปตามที่ ธปท. ประกาศกําหนด อื่นๆ - 3. ในกรณีที่ ธปท. ประสงค์จะซื้อพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือขายพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะซื้อคืน ธปท. จะแจ้งให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทุกรายทราบ ภายในเวลาประมาณ 9.15 น. อื่นๆ - 4. ในการซื้อพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือการขายพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะซื้อคืนในแต่ละคราวนั้น ให้มีขั้นตอนดําเนินการ ดังนี้ 4.1 เมื่อได้รับแจ้งถึงความประสงค์ตามข้อ 3. จาก ธปท. ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทุกรายต้องแจ้งข้อเสนอซื้อหรือเสนอขายมายัง ธปท. ภายในเวลา 9.30 น. ของวันเดียวกันโดยจะต้องเสนอซื้อหรือเสนอขายไม่ต่ํากว่า 10 ล้านบาท และไม่มีเศษของล้านบาท 4.2 ธปท. จะพิจารณารับซื้อหรือขายพันธบัตรกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายใดเป็นจํานวนเท่าใดหรือไม่ก็ได้ และจะแจ้งผลของการพิจารณาให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทราบภายในเวลาประมาณ 9.45 น. ของวันเดียวกัน 4.3 ผู้ขาย ไม่ว่าจะเป็น ธปท. หรือ ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) จะต้องยืนยันการขายและซื้อคืนไปยังผู้ซื้อ ตามผลการพิจารณาของ ธปท. ดังกล่าวในข้อ 4.2 พร้อมระบุรายละเอียดของพันธบัตร ตามแบบฟอร์มที่กําหนด ภายในเวลา 11.00 น. ของวันเดียวกัน โดยมูลค่ารวมของพันธบัตรที่จะส่งมอบให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ธปท. ประกาศกําหนด 4.4 ผู้ซื้อ ไม่ว่าจะเป็น ธปท. หรือ ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) จะต้องแจ้งยืนยันธุรกรรมตามข้อ 4.3 กลับไปยังผู้ขายตามแบบฟอร์มที่กําหนด ภายในเวลา 12.00 น. ของวันเดียวกัน และให้ถือว่าสัญญาซื้อโดยมีสัญญาว่าจะขายคืนหรือสัญญาขายโดยมีสัญญาว่าจะซื้อคืนได้เกิดขึ้นทันที รวมทั้งให้ถือว่าไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) และ ธปท. ประสงค์ที่จะจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตร ตามสัญญาดังกล่าว 4.5 ผู้ขายต้องส่งหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตสําหรับสัญญาขาย พร้อมทั้งส่งหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตสําหรับสัญญาซื้อคืนมายังนายทะเบียน (สายเงินฝากและตราสารหนี้ ธปท.) ภายในเวลา 14.00 น. ของวันเดียวกัน 4.6 ผู้ซื้อต้องส่งหนังสือรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตสําหรับสัญญาซื้อ พร้อมทั้งส่งหนังสือโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและรับชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนตสําหรับสัญญาขายคืนมายังนายทะเบียน (สายเงินฝากและตราสารหนี้ ธปท.) ภายในเวลา 14.00 น. ของวันเดียวกัน 4.7 การโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรให้กระทําตามวิธีการที่กําหนดในระเบียบ ธปท. ว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร อื่นๆ - 5. ทุกสิ้นวันทําการจนถึงวันก่อนวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน ให้ผู้ซื้อและผู้ขายเปรียบเทียบมูลค่าตลาดของพันธบัตรที่ซื้อหรือขาย กับเงินที่ได้ชําระค่าซื้อทั้งหมดรวมทั้งดอกเบี้ยที่เกี่ยวข้อง หากมูลค่าตลาดของพันธบัตรที่ซื้อหรือขายต่ํากว่าหรือสูงกว่าเกณฑ์ที่กําหนด ธปท.จะแจ้งให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทราบจํานวนเงินที่ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ต้องส่งมอบหรือรับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) ภายในเวลา 8.45 น. ของวันทําการถัดไป หากไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายใดมีข้อทักท้วง ให้ทักท้วงภายในเวลา 9.15 น. หากไม่มีข้อทักท้วง ธปท. จะหักบัญชีหรือส่งเงินเข้าบัญชีของไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ที่ ธปท. แล้วแต่กรณีตามจํานวนเงินดังกล่าวผ่านระบบบาทเนตตั้งแต่เวลา 9.30 น. ทั้งนี้ ผู้รับมอบเงินจะต้องจ่ายดอกเบี้ยของจํานวนเงินดังกล่าวให้แก่ผู้ส่งมอบเงินเพิ่มตามอัตราและวิธีการที่ ธปท. ประกาศกําหนด อื่นๆ - 6. ในวันขายคืนหรือซื้อคืนพันธบัตร ให้มีขั้นตอนดําเนินการ ดังนี้ 6.1 ธปท. จะแจ้งจํานวนเงินรวมสุทธิที่ได้ส่งมอบหรือรับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) ทั้งหมดของสัญญาที่ครบกําหนด รวมทั้งดอกเบี้ยของจํานวนเงินดังกล่าว ให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทราบภายในเวลา 9.00 น. หากไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายใดมีข้อทักท้วง ให้ทักท้วงภายในเวลา 9.15 น. 6.2 หากไม่มีข้อทักท้วง ธปท. จะหักบัญชีหรือส่งเงินเข้าบัญชีของไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) แล้วแต่กรณี ตามจํานวนเงินในข้อ 6.1 ผ่านระบบบาทเนต ตั้งแต่เวลา 9.30 น. 6.3 ให้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรผ่านระบบบาทเนต ตามหนังสือโอนและรับโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรและชําระราคาพันธบัตรที่ได้ส่งมายังนายทะเบียน (สายเงินฝากและตราสารหนี้ ธปท.) แล้วตามข้อ 4.5 และ 4.6 ทั้งนี้ การโอนกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรให้กระทําตามวิธีการที่กําหนดในระเบียบ ธปท. ว่าด้วยการโอนกรรมสิทธิ์พันธบัตร อื่นๆ - 7. ในกรณีที่มีการผิดนัดชําระราคาหรือส่งมอบพันธบัตร ให้ปฏิบัติดังนี้ 7.1 หากไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ตกเป็นผู้ที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราวหรือเด็ดขาด หรือไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ยื่นขอความยินยอมจาก ธปท. เพื่อขอฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายล้มละลาย ในกรณีเช่นนี้ ให้สัญญาซื้อโดยมีข้อสัญญาว่าจะขายคืนหรือขายโดยมีข้อสัญญาว่าจะซื้อคืน เป็นอันเลิกกัน และให้นํามูลหนี้ของสัญญาทั้งสองฝ่ายมาหักกลบลบกัน 7.2 ในวันที่ซื้อหรือขาย (Purchase Date) หากผู้ซื้อผิดนัดชําระราคา หรือผู้ขายผิดนัดส่งมอบพันธบัตร ภายในเวลา 14.00 น. ให้ผู้ผิดนัดชําระเบี้ยปรับให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งคํานวณตามอัตราที่ ธปท. ประกาศกําหนดโดยคิดจากจํานวนเงินที่ซื้อขาย ในกรณีเช่นนี้ ให้ผู้ผิดนัดชําระราคาหรือส่งมอบพันธบัตร พร้อมเบี้ยปรับ ภายในเวลา 15.30 น. ของวันที่ซื้อหรือขาย (Purchase Date) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ธปท. ประกาศกําหนด หากผู้ผิดนัด ไม่ชําระราคาหรือส่งมอบพันธบัตร พร้อมเบี้ยปรับ ภายใน 15.30 น. ตามวรรคก่อน ให้สัญญาเป็นอันเลิกกัน 7.3 ในวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน (Repurchase Date) หาก 7.3.1 ผู้ซื้อผิดนัดไม่ส่งคืนพันธบัตรและ/หรือเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) (ถ้ามี) พร้อมดอกเบี้ยของเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (ถ้ามี) ภายในเวลา 14.00 น หรือ 7.3.2 ผู้ขายผิดนัดไม่ชําระราคาซื้อคืนพันธบัตรและ/หรือเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) (ถ้ามี) พร้อมดอกเบี้ยของเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (ถ้ามี) ภายในเวลา 14.00 น. ให้ผู้ผิดนัดชําระเบี้ยปรับให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งคํานวณตามอัตราที่ ธปท. ประกาศกําหนด โดยคิดจากฐานราคาขายคืนและหรือเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) (ถ้ามี) พร้อมดอกเบี้ยของเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (ถ้ามี) ที่ผิดนัด ในกรณีเช่นนี้ ให้ผู้ผิดนัดชําระเงินและ/หรือส่งมอบพันธบัตร พร้อมเบี้ยปรับ ภายในเวลา 15.30 น. ของวันที่ขายคืนหรือซื้อคืนนั้น (Repurchase Date) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ธปท. ประกาศกําหนด หากภายในเวลา 15.30 น. ผู้ผิดนัดยังไม่ชําระเงินและ/หรือส่งมอบพันธบัตร พร้อมเบี้ยปรับ ตามวรรคก่อน ให้ผู้ผิดนัดสิ้นสิทธิที่จะขายคืนหรือซื้อคืน ในการนี้ ให้ ธปท. เรียกคืนหรือส่งมอบส่วนต่างระหว่าง (ก) ราคาพันธบัตรที่ซื้อหรือขาย ตามมูลค่าตลาด และเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) (ถ้ามี) และดอกเบี้ยของเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (ถ้ามี) พร้อมเบี้ยปรับ กับ (ข) จํานวนเงินที่ได้ตกลงกันว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน และเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) (ถ้ามี) และดอกเบี้ยของเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (ถ้ามี) พร้อมเบี้ยปรับ ซึ่งคํานวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ธปท. ประกาศกําหนดโดยหักจากหรือโอนเข้าบัญชีของไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ผ่านระบบบาทเนต ในเวลา 9.30 น. ของวันทําการถัดไป 7.4 ในแต่ละวันทําการจนถึงวันก่อนวันที่ขายคืนหรือซื้อคืน หากผู้ซื้อหรือผู้ขายฝ่ายที่ต้องชําระเงินเพิ่มเติมตามข้อ 5. วรรคสอง มีเงินในบัญชีไม่เพียงพอให้ ธปท. หัก ภายในเวลา 11.00 น. ของวันที่ต้องชําระเงินเพิ่มเติมนั้น ให้ถือว่าเป็นการผิดนัด และให้ผู้ผิดนัดชําระเบี้ยปรับให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามอัตราที่ ธปท. ประกาศกําหนด โดยคิดจากจํานวนเงินที่ผิดนัด ในกรณีเช่นนี้ ให้ผู้ผิดนัดโอนเงินเข้าบัญชีให้เพียงพอเพื่อให้ ธปท. หักเงินที่ต้องชําระเพิ่มเติมนั้นพร้อมเบี้ยปรับภายในเวลา 17.00 น. ของวันที่ผิดนัดนั้น หากภายในเวลา 17.00 น. ผู้ผิดนัดมีเงินในบัญชีไม่เพียงพอให้ ธปท. หักตามวรรคก่อน ให้สัญญาที่ก่อให้มีการเรียกเงินเพิ่มดังกล่าวเป็นอันเลิกกัน ผู้ผิดนัดเป็นอันสิ้นสิทธิที่จะขายคืนหรือซื้อคืน ในกรณีเช่นนี้ ให้ ธปท. เรียกคืนหรือส่งมอบส่วนต่างระหว่าง (ก) ราคาพันธบัตรที่ซื้อหรือขายตามมูลค่าตลาด และเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) (ถ้ามี) และดอกเบี้ยของเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (ถ้ามี) พร้อมเบี้ยปรับ กับ (ข) จํานวนเงินที่ได้ตกลงกันว่าจะขายคืนหรือซื้อคืน และเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (Variation Margin) (ถ้ามี) และดอกเบี้ยของเงินที่รับมอบเพิ่มเติม (ถ้ามี) พร้อมเบี้ยปรับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ธปท.ประกาศกําหนด โดยหักจากหรือโอนเข้าบัญชีของไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ผ่านระบบบาทเนต ในเวลา 9.30 น.ของวันทําการถัดไป อื่นๆ - 8. ในกรณีที่ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายใดผิดนัดตามข้อ 7.2 วรรคหนึ่ง ข้อ 7.3 วรรคหนึ่งหรือข้อ 7.4 วรรคหนึ่ง รวมกันตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไปในรอบการพิจารณาประเมินผลการเป็นไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ธปท. จะระงับสิทธิการทําธุรกรรมกับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายดังกล่าว เป็นเวลา 2 เดือน นับแต่วันผิดนัดครั้งหลังสุด หรือเท่ากับจํานวนเวลาที่เหลือก่อนครบรอบการพิจารณาประเมินผลการเป็นคู่ค้านั้น แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า อื่นๆ - 9. ในกรณีที่ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายใดผิดนัดตามข้อ 7.2 วรรคสองข้อ 7.3 วรรคสองหรือข้อ 7.4 วรรคสอง ให้ไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) รายนั้นพ้นจากสถานะการเป็นไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ทันที และไม่ได้รับการพิจารณาเป็นไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ของ ธปท. ในรอบการพิจารณาถัดไปด้วย อื่นๆ - 10. ถ้ามีปัญหาใด ๆ เกี่ยวกับการตีความหรือการดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบ ประกาศ กฎหรือข้อบังคับที่ออกตามระเบียบนี้ ธปท. จะเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด อื่นๆ - 11. การดําเนินการอื่นใดของไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ซึ่งบ่งชี้ว่าไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) ดําเนินการในทิศทางที่ไม่สอดคล้องและ/หรือส่งผลในทางลบต่อแนวทางของทางการในการดําเนินนโยบายการเงิน นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน และ/หรือการสร้างเสถียรภาพในระบบการเงิน ธปท. อาจพิจารณระงับสิทธิการทําธุรกรรมซื้อขายพันธบัตรโดยมีสัญญาว่าจะขายหรือซื้อคืนตามระเบียบนี้กับไพรมารี ดีลเลอร์ (Primary Dealer) นั้น ทั้งเป็นการชั่วคราวหรือถาวรก็ได้ ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม 2543 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 ธันวาคม 2543 ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,843
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 13/2550 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 13/2550 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกํากับ ในพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ---------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อแต่งตั้งพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยคังรายนามที่ปรากฎ เป็นเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกํากับในพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ตามข้อ 10 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 12/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย พระราชกฤษฎีกากําหนดกิจการธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มาตรา 12 (13) อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยแต่งตั้งให้พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ดังรายนามต่อไปนี้ เป็นเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกํากับในพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย 1. นายธานินทร์ มุกดาประกร 2. นายพงศ์อดุล กฤษณะราช 3. นายโอบเอื้อ ครุฑานุช 4. นายพิรัชชัย ประกอบทรัพย์ 5. นายประภาส โสธรนพบุตร 6. นางสร้อยสุคนธ์ นิยมวานิช 7. นายประณีต โชติกีรติเวช 8. นายอมร กังวาฬ 9. นางวิมลรัตน์ เศารยะ 10. นายสุกิจ สหนุกูล 11. นายชัยรัตน์ ถาวโรฤทธิ์ 12. นายวิโรจน์ นริศวรานนท์ 13. นายศักดิ์สิทธิ์ สถิตย์พนาพร 14. นายยรรยง ดํารงศิริ 15. นายอนันต์ อิงวิยะ 16. นายองอาจ สุขุมาลวรรณ์ 17. นายคํารงค์ ฐิติธนภัค 18. นายชัชวาล ตียะพาณิชย์ 19. นายทะนงศักดิ์ วรรณกาญ 20. นายวีระวุฒิ โภคาวัฒนา อื่นๆ - 5. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 5 กันยายน 2550 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 5 กันยายน 2550 (นางธาริษา วัฒนเกส) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,844
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) พ.ศ. 2546
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการธุรกรรมประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) พ.ศ. 2546 ------------------------------------------ เพื่อให้การดําเนินงานประมูลตราสารหนี้เป็นไปอย่างคล่องตัวยิ่งขึ้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้จัดทําระบบการประมูลตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) เพื่อให้บริการแก่ผู้มีสิทธิเข้าร่วมประมูลตามประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ อันเป็นงานของธนาคารกลางตามนัยพระราชบัญญัติธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มาศรา 31 ประกอบกับพระราชกฤษฎีกากําหนดกิจการธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มาตรา 12 (17) ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในระเบียบนี้ "ธปท." หมายถึง ธนาคารแห่งประเทศไทย "ตราสารหนี้" หมายถึง ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตร ธปท. เละพันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่ออกโดยองค์การของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นโดยเฉพาะ ที่ ธปท. เป็นผู้จัดการประมูล นายทะเบียน และตัวแทนจ่ายเงิน "ผู้ใช้บริการ e-Bidding" หมายถึง ผู้มีสิทธิเข้าร่วมประมูลตามประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ ที่ (1) เป็นผู้ใช้บริการตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Financial Services) พ.ศ. 2544 และ (2) ได้รับอนุญาตจาก ธปท. ให้ทําธุรกรรม e-Bidding ตามระเบียบนี้ เพื่อตนเองหรือผู้มีสิทธิเข้าร่วมประมูลอื่นด้วย "ธุรกรรมประมูล" หมายถึง การประมูลซื้อตราสารหนี้ด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ที่ผู้ออกตราสารหนี้และ ธปท. กําหนด "บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ " หมายถึง ระบบบริการสื่อสารข้อความด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Financial Services) พ.ศ. 2544 "คอมพิวเตอร์แม่ข่าย" หมายถึง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Financial Services) พ.ศ.2544 "คอมพิวเตอร์ลูกข่าย " หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการ e-Bidding "วันทําการ " หมายถึง วันที่ ธปท. เปิดทําการ "วันหยุดธนาคาร " หมายถึง วันที่ ธปท. ปิดทําการ ข้อ ๒ การแสดงเจตนา การบอกกล่าว และการสื่อสารใด ๆ ระหว่าง ธปท. กับผู้ใช้บริการ e-Bidding ให้เป็นไปตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Financial Services) พ.ศ. 2544 เว้นแต่จะ ได้มีการระบุเป็นอย่างอื่นไว้ในระเบียบนี้ ข้อ ๓ ในกรณีที่ระบบบริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ขัดข้อง ให้ใช้ระบบสื่อสารอื่นทางใดทางหนึ่ง ตามที่ ธปท. จะแจ้งให้ทราบ ข้อ ๔ ผู้ใช้บริการ e-Bidding ต้องปฏิบัติดังนี้ 4.1 ทําหนังสือแสดงความตกลงตามแบบที่ ธปท.กําหนด 4.2 ทําหนังสือมอบอํานาจให้บุคคลกระทําการแทนผู้ใช้บริการ e-Bidding ในการติดต่อกับ ธปท. ตามแบบที่กําหนด 4.3 ก่อนวันที่ผู้ใช้บริการ e-Biding จะเริ่มทําธุรกรรมประมูลครั้งแรกกับ ธปท. ตามระเบียบนี้ นอกจากผู้ใช้บริการ e-Bidding จะต้องแต่งตั้งผู้รับรอง (Certifier) เพื่อแต่งตั้งผู้ปฏิบัติงาน (Officer) ตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการให้บริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Financial Services) พ.ศ. 2544 แล้ว ผู้ใช้บริการ e-Bidding มีหน้าที่ต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ 4.3.1 ทําหนังสือมอบอํานาจให้บุคคลทําหน้าที่แต่งตั้งผู้จัดการสิทธิการใช้บริการ e-Bidding ตามแบบที่ ธปท. กําหนด 4.3.2 ให้บุคคลผู้รับมอบอํานาจตามข้อ 4.3.1 ทําหนังสือแต่งตั้งผู้จัดการสิทธิการใช้บริการ e-Bidding ตามแบบที่ ธปท. กําหนด 4.3.3 ให้ผู้จัดการสิทธิตามข้อ 4.3.2 ทําหนังสือกําหนดสิทธิในการทําธุรกรรม e-Bidding ตามแบบที่ ธปท. กําหนด แต่จะกําหนดสิทธิให้ตนเองไม่ได้ 4.4 ลงทะเบียนและจัดส่งเอกสารข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการ e-Bidding และผู้มีสิทธิเข้าร่วมประมูลตามประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ที่จะเข้าร่วมประมูลผ่านผู้ใช้บริการ e-Bidding (ถ้ามี) ตามหลักเกณฑ์ ที่ ธปท. กําหนด มาให้ ธปท. พิจารณาสิทธิการเข้าประมูลและเมื่อ ธปท. พิจารณาอนุมัติแล้ว ผู้ใช้บริการ e-Bidding จึงจะเริ่มทําธุรกรรมประมูลได้ ข้อ ๕ การทําธุรกรรมประมูล กับ ธปท. ในแต่ละคราวนั้น ให้มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ 5.1 ให้ผู้ใช้บริการ e-Bidding ส่งคําเสนอทําธุรกรรมประมูล มายัง ธปท.ตามวันและเวลาที่กําหนดในประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ ด้วยระบบบริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ โดยระบุรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่ ธปท. กําหนด และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ ในประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ ในกรณีที่ผู้ใช้บริการ e-Bidding ต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือยกเลิกคําเสนอทําธุรกรรมประมูล ผู้ใช้บริการ e-Bidding ต้องดําเนินการก่อนเวลาปิดรับคําเสนอหากพ้นเวลาดังกล่าว ให้คําเสนอครั้งหลังสุดก่อนพ้นเวลาดังกล่าวเป็นอันมีผลผูกพันผู้ใช้บริการ e-Bidding 5.2 เมื่อ ธปท. ประมวลผลการประมูล และส่งให้ผู้ออกตราสารหนี้เพื่อพิจารณาอนุมัติจัดสรรตราสารหนี้แล้ว ธปท.จะประกาศผลการประมูล และแจ้งผลการจัดสรรตราสารหนี้ให้ผู้ใช้บริการ e-Bidding ที่เข้าประมูลทราบภายในวันประมูล ด้วยระบบบริการด้านการเงินด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อ ธปท. แจ้งผลการจัดสรรตราสารหนี้ซึ่งจะไม่เกินวงเงินที่เสนอซื้อแล้วให้ถือว่าผู้ใช้บริการ e-Bidding ยินยอมผูกพันตนตามผลการจัดสรรนั้น และมีผลให้สัญญาซื้อตราสารหนี้เกิดขึ้นตั้งแต่นั้นมา 5.3 ผู้ใช้บริการ e-Bidding ต้องตรวจดูผลการจัดสรรตราสารหนี้จากคอมพิวเตอร์ลูกข่ายในวันประมูล ในกรณีที่ไม่สามารถตรวจดูผลการจัดสรรได้ตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ใช้บริการ e-Bidding แจ้ง ธปท. ทราบทางโทรศัพท์ถึงข้อขัดข้องภายในวันดังกล่าว เมื่อ ธปท. รับทราบแล้วจะดําเนินการแจ้งผลการจัดสรรตามวิธีการที่ ธปท. เห็นสมควร 5.4 ผู้ใช้บริการ e-Bidding ที่เข้าประมูลทุกราย ต้องส่งหนังสือยืนยันการประมูลซื้อตราสารหนี้ ตามข้อ 5.1 ที่มีลายมือชื่อของผู้มีอํานาจลงนาม มาให้ ธปท. ตามแบบวิธีการและเวลาที่ ธปท. กําหนด ทั้งนี้ เว้นแต่ ธปท. จะกําหนดเป็นอย่างอื่น ในกรณีที่ไม่ส่งหนังสือยืนยันการประมูลซื้อตราสารหนี้ หรือส่งแต่ข้อความในหนังสือยืนยันการประมูลซื้อตราสารหนี้ ไม่ตรงกับข้อความในคําเสนอตามข้อ 5.1 ให้ถือตามข้อความในคําเสนอ และ เมื่อได้รับแจ้งจาก ธปท. ผู้ใช้บริการ e-Bidding ต้องส่งหนังสือยืนยันหรือส่งหนังสือยืนยันฉบับใหม่ที่แก้ไขแล้ว มาให้ ธปท. โดยพลัน ข้อ ๖ การชําระราคาค่าตราสารหนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเวลาที่กําหนดในประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ ทั้งนี้ ในกรณีผู้ใช้บริการ e-Bidding เข้าทําธุรกรรมประมูลเพื่อผู้มีสิทธิเข้าร่วมประมูลอื่น ผู้ใช้บริการ e-Bidding ต้องชําระราคาค่าตราสารหนี้แทนโดยยินยอมให้ ธปท. หักเงินจากบัญชีเงินฝากที่มีอยู่ที่ ธปท. หรือโอนเงินผ่านระบบบาทเนต เข้าบัญชีกระแสรายวันงานจัดการตราสารหนี้ที่ ธปท. เมื่อ ธปท. ได้รับชําระราคาตามวรรคหนึ่งแล้ว ธปท. จะจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ตราสารหนี้ให้กับผู้ใช้บริการ e-Bidding หรือผู้มีสิทธิเข้าร่วมประมูลตามประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ที่เข้าร่วมประมูล ผ่านผู้ใช้บริการ e-Bidding แล้วแต่กรณี ข้อ ๗ ในกรณีวันถึงกําหนดชําระราคาค่าตราสารหนี้ตรงกับวันหยุดธนาคารให้เลื่อนวันถึงกําหนดชําระราคาออกไปเป็นวันทําการแรกหลังจากวันหยุดดังกล่าว ในกรณีมีเหตุขัดข้องหรือเหตุจําเป็นอื่นใด ผู้ออกตราสารหนี้อาจจะกําหนดวันถึงกําหนดชําระราคาใหม่ และ ธปท. จะแจ้งการเปลี่ยนแปลงให้ผู้ใช้บริการ e-Bidding ทราบ ข้อ ๘ ในกรณีที่ผู้ใช้บริการ e-Bidding ไม่ชําระราคาค่าตราสารหนี้ภายในวันและเวลาที่กําหนด ให้ถือว่าผู้ใช้บริการ e-Bidding ผิดนัดชําระหนี้ ข้อ ๙ กรมีที่มีการผิดนัดชําระหนี้ตามข้อ 8. ผู้ออกตราสารหนี้จะเรียกเบี้ยปรับและหรือดําเนินการอื่นใดตามประกาศของผู้ออกตราสารหนี้ ข้อ ๑๐ ธปท. อาจพิจารณาระงับสิทธิการทําธุรกรรมประมูลตามระเบียบนี้กับผู้ใช้บริการ e-Bidding เป็นการชั่วคราวหรือถาวร ในกรณีผู้ใช้บริการ e-Bidding ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้หรือระเบียบอื่นใดของ ธปท. หรือมีพฤติการณ์แห่งการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบการประมูลหรือแก่ประโยชน์ส่วนรวม หรือไม่สอดคล้องหรือส่งผลในทางลบต่อแนวทางของทางการในการดําเนินนโยบายการเงิน และหรือการสร้างเสถียรภาพในระบบการเงิน ข้อ ๑๑ หากมีปัญหาใด ๆ เกี่ยวกับการตีความ หรือการดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบ หรือประกาศ หรือข้อกําหนดใดที่ออกตามระเบียบนี้ ธปท. จะเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจิกายน 2546 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2546 (ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,845
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 16 /2550 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกำกับในพันธบัตรออมทรัพย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 16 /2550 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกํากับในพันธบัตรออมทรัพย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อแต่งตั้งพนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยดังรายนามที่ปรากฏ เป็นเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกํากับในพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ตามข้อ 10 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 12/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่ง อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย พระราชกฤษฎีกากําหนดกิจการธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มาตรา 12(13) อื่นๆ - 3. เนื้อหา 1. ให้ยกเลิกประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 13/2550 เรื่อง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกํากับในพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ฉบับลงวันที่ 5 กันยายน 2550 2. แต่งตั้งให้พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย ดังรายนามต่อไปนี้ เป็นเจ้าหน้าที่ลงลายมือชื่อกํากับในพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย 1. นายสมชาย เสตกรณุกูล 2. นางสาวปรางทิพย์ บุศยศิริ 3. นายนิรุธ รักษาเสรี 4. นายพิรัชชัย ประกอบทรัพย์ 5. นายประสพสุข พ่วงสาคร 6. นางสร้อยสุคนธ์ นิยมวานิช 7. นายปราณีต โชติกีรติเวช 8. นายอมร กังวาฬ 9. นางวิมลรัตน์ เศารยะ 10. นายสุกิจ สหนุกูล 11. นายวิโรจน์ นริศวรานนท์ 12. นายศักดิ์สิทธิ์ สถิตย์พนาพร 13. นายยรรยง ดํารงศิริ 14. นายอนันต์ อิงวิยะ 15. นายองอาจ สุขุมาลวรรณ์ 16. นายสุขชัย พูลสินากร 17. นายวีระยุทธ์ เลิศพูนวิไลกุล 18. นายชัชวาล ตียะพาณิชย์ 19. นายทนงศักดิ์ วรรณกาญ 20. นายวีระวุฒิ โภคาวัฒนา 21. นายประสงค์ วิริยะวิภาต 22. นางทัศนีย์ ตั้งพัฒนาศิริ อื่นๆ - 5. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2550 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกาขน 2550 (นางธาริษา วัฒนเกส) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,846
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2548
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการให้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2548 -------------------------------- โดยที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้จัดให้มีบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ผ่านทาง Website ของ ธปท. เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ใช้บริการกับ ธปท. ดังนั้น เพื่อให้มีระบบและกระบวนการเพื่อความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูลระหว่างกัน ที่สามารถยืนยันได้ว่าผู้ใช้บริการเป็นผู้ใดและสามารถตรวจสอบการรับและส่งข้อมูลได้ ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงได้ออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ อื่นๆ - ความทั่วไป ข้อ ๑ ในระเบียบนี้ "ธปท." หมายถึง ธนาคารแห่งประเทศไทย "บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต" หมายถึง ระบบบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตที่ ธปท.จัดทําขึ้น เพื่อให้บริการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ใช้บริการกับ ธปท. ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมายัง Website ของ ธปท. (www.bot.or.th) " ผู้ใช้บริการ" หมายถึง นิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดา ที่ได้รับอนุญาตจาก ธปท.ให้รับส่งข้อมูลตามระเบียบนี้ "คอมพิวเตอร์แม่ข่าย " หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ของ ธปท.ที่ให้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต "คอมพิวเตอร์ลูกข่าย" หมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้บริการ "กระบวนการเพื่อความปลอดภัยในการรับและส่งข้อมูลระหว่างกัน" หมายถึง กระบวนการในการบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตที่ ธปท.จัดให้มีขึ้นเพื่อ (1) ยืนขันว่าข้อความที่ผู้ใช้บริการหรือ ธปท. ได้ส่งผ่านบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเป็นข้อความของผู้ใช้บริการหรือของ ธปท.จริง อีกทั้งสามารถทําการพิสูจน์ตัวตน (Authentication) และยืนยันว่าผู้ปฏิบัติงานในบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเป็นบุคคลที่ได้รับสิทธิในการปฏิบัติงานจริง (2) ยืนยันว่าข้อความที่ผู้ใช้บริการหรือ ธปท. ได้รับผ่านบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเป็นข้อความเดียวกับที่ผู้ใช้บริการหรือ ธปท.ได้ส่งจริง และป้องกันมิให้บุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องล่วงรู้ข้อมูลในการรับและส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์แม่ข่ายกับคอมพิวเตอร์ถูกข่าย (3) กําหนดเวลา ณ จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งทั้ง ธปท. และผู้ใช้บริการไม่สามารถยกเลิกเพิกถอนข้อความที่ตนส่งไปได้ (4) มีระบบการบันทึกหลักฐาน (Log File) เกี่ยวกับข้อมูลหรือข้อความที่รับส่งในบริการเพื่อใช้ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลที่ส่งผ่านบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้ "ผู้จัดการสิทธิ" หมายถึง ผู้ใช้บริการ หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากผู้ใช้บริการให้เป็นผู้แต่งตั้ง เพิกถอน หรือกําหนดขอบเขตหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน (Officer) ในบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต "ผู้ปฏิบัติงาน (Officer)" หมายถึง ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้จัดการสิทธิให้เป็นผู้ปฏิบัติงานในบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต "คู่มือการใช้งาน" หมายถึง คู่มือการใช้งานบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตที่ ธปท.จัดทําให้ผู้ใช้บริการ ข้อ ๒ ผู้ที่ประสงค์จะขอใช้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ตามระเบียบนี้ให้ทําหนังสือแสดงความตกลงขอใช้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ตามแบบที่แนบ ข้อ ๓ ผู้ที่ประสงค์จะออกจากการเป็นผู้ใช้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตให้มีหนังสือแจ้งให้ ธปท. ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน เมื่อพ้นกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ผู้ใช้บริการเป็นอันพ้นจากการเป็นผู้ใช้บริการตามระเบียบนี้ ข้อ ๔ ธปท.เป็นผู้จัดทําชุดคําสั่งของ ธปท. และคู่มือการใช้งานให้แก่ผู้ใช้บริการ ข้อ ๕ ธปท.จะกําหนดเวลาทําการของบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และในกรณีที่มีเหตุจําเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเวลาทําการ ธปท.จะแจ้งให้ทราบล่วงหน้าในเวลาอันควร ข้อ ๖ ผู้ใช้บริการใดไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้หรือข้อกําหนดที่ออกตามระเบียบนี้ หรือ มีพฤติการณ์แห่งการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ระบบการให้บริการหรือแก่ประโยชน์ส่วนรวมประการอื่น ธปท. อาจระงับการให้ใช้บริการการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เป็นการชั่วคราวหรือตลอดไปอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้ การพิจารณาของ ธปท.ให้เป็นที่สุด อื่นๆ - สิทธิและหน้าที่ของผู้ใช้บริการ ข้อ ๗ ผู้ใช้บริการรับรู้ เข้าใจ และยอมรับในประสิทธิภาพ ขอบเขตความสามารถและข้อจํากัดของกระบวนการเพื่อความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูลระหว่างกัน และยอมรับว่าบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต มีมาตรการที่รัดกุมเพียงพอสําหรับป้องกันความผิดพลาดและการทุจริตต่าง ๆ แล้ว ธปท. สงวนสิทธิที่จะปรับปรุงหรือแก้ไขเพิ่มเติมกระบวนการเพื่อความปลอดภัยในบริการตามที่เห็นสมควร ข้อ ๘ ผู้ใช้บริการต้องจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ถูกข่าย อุปกรณ์อื่น ๆ ตามที่ ธปท. กําหนด ข้อ ๙ ผู้ใช้บริการต้องปฏิบัติตาม คู่มือการใช้งานและแนวทางการปฏิบัติงานที่ ธปท. กําหนด ข้อ ๑๐ ในกรณีที่คอมพิวเตอร์แม่ข่ายขัดข้อง คอมพิวเตอร์ลูกข่ายขัดข้อง หรือการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์แม่ข่ายกับคอมพิวเตอร์ลูกข่ายขัดข้องไม่ว่า ธปท. จะแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบหรือผู้ใช้บริการแจ้งให้ ธปท. ทราบ แล้วแต่กรณี ให้ผู้ใช้บริการปฏิบัติตามคู่มือการใช้งาน ข้อ ๑๑ ห้ามมิให้ผู้ใช้บริการแก้ไขชุดคําสั่งของธปท. ข้อ ๑๒ ผู้ใช้บริการต้องยินยอมและอํานวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ของ ธปท. ในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง และอื่น ๆ ตามที่ ธปท. เห็นสมควร ข้อ ๑๓ ผู้ใช้บริการต้องเก็บรักษาเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับระเบียบนี้ อื่นๆ - การใช้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ข้อ ๑๔ ในการใช้ระบบบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้บริการต้องปฏิบัติตามขั้นตอบ ดังนี้ (1) ให้ผู้จัดการสิทธิทําหนังสือแต่งตั้งและกําหนดสิทธิผู้ปฏิบัติงาน (Officer) ในบริการรับส่ง ข้อมูลทางอินเทอร์เนตตามแบบที่ ธปท. กําหนด โดย ธปท. จะทําหน้าที่กําหนดสิทธิการใช้บริการ รหัสประจําตัวผู้ใช้งาน (User ID) และรหัสผ่าน (Password) ครั้งแรก สําหรับผู้ปฏิบัติงาน (Officer) ในการเข้าใช้บริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต (2) การเพิกถอนผู้จัดการสิทธิและผู้ปฏิบัติงาน ตาม (1) ให้ผู้ใช้บริการทําหนังสือตามแบบที่ ธปท. กําหนด ข้อ ๑๕ ในการนําส่งข้อมูลให้กับ ธปท.ให้ผู้ใช้บริการดําเนินการดังนี้ (1) จัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบ และนําส่ง ตามเวลาที่ ธปท. กําหนด (2) ก่อนการส่งข้อมูลตาม (1) ผู้ใช้บริการ มีหน้าที่ต้องตรวจสอบข้อมูลและชื่อแฟ้มข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตามเกณฑ์ที่ ธปท. กําหนด (3) เมื่อผู้ใช้บริการจัดส่งข้อมูลมาขัง ธปท. แล้ว มีหน้าที่ติดตามผลการส่งข้อมูลโดยเรียกดูได้จากระบบบันทึกหลักฐาน (Log File) ของรายการข้อมูลที่นําส่ง ซึ่งจะทราบผลได้ทันทีภายหลังการส่งข้อมูล (4) กรณีที่ ธปท. ได้รับข้อมูลจากผู้ใช้บริการแล้ว หากผู้ใช้บริการ หรือ ธปท. พบว่าจําเป็นต้องแก้ไขข้อมูลที่ได้จัดส่งมาแล้ว ให้ผู้ใช้บริการจัดส่งข้อมูลที่แก้ไขแล้วมาใหม่ ข้อ ๑๖ ธปท.จะถือว่าได้รับข้อมูลจากผู้ใช้บริการ ตามวัน เวลาที่รับข้อมูลที่ปรากฏในระบบบันทึกหลักฐาน (Log File) บนคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ข้อ ๑๗ กิจกรรมใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ที่เกิดจากการกระทําของผู้จัดการสิทธิ หรือผู้ปฏิบัติงานให้ถือเป็นการกระทําของผู้ใช้บริการ ซึ่งมีผลบังคับตามระเบียบนี้ทั้งสิ้น ข้อ ๑๘ ธปท. จะแจ้งข่าวสารเกี่ยวกับการบริการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตให้ผู้ใช้บริการทราบทาง Web Site ของ ธปท. ข้อ ๑๙ ธปท. อาจระงับการให้บริการในเวลาใดก็ได้ตามที่เห็นสมควร โดยจะแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบล่วงหน้าเป็นเวลาพอสมควร อื่นๆ - เบ็ดเตล็ด ข้อ ๒๐ ชุดกําสั่งของ ธปท. คู่มือการใช้งาน และแนวทางการปฏิบัติงานเป็นทรัพย์สินของ ธปท. ข้อ ๒๑ ธปท. สงวนสิทธิที่จะแก้ไข เพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงระเบียบนี้ได้ตามที่เห็นสมควร โดยจะแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบล่วงหน้าเป็นเวลาพอสมควร ข้อ ๒๒ ถ้ามีปัญหาใด ๆ เกี่ยวกับการตีความตามระเบียบ หรือประกาศ หรือข้อกําหนดใดที่ออกตามระเบียบนี้ ธปท. จะเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด ข้อ ๒๓ ให้ถือว่าผู้ใช้บริการตกลงผูกพัน และปฏิบัติตามระเบียบนี้ ข้อกําหนดอื่นใดที่ออกตามระเบียบนี้ ตลอดจนคําวินิจฉัยของธปท. ตามข้อ 22 ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 17 พฤศจิกายน 2548 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2548 (ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,847
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส. 11 /2561 เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส. 11 /2561 เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน --------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ ภายใต้สภาพแวดล้อมทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีความผันผวน ไม่แน่นอนซับซ้อน และคาดเดายาก รวมทั้งแนวโน้มการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการให้บริการทางการเงินและการให้ความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนโดยคํานึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ได้อย่างครอบคลุม ประกอบกับสาธารณชนมีความคาดหวังจากสถาบันการเงินมากขึ้น ผู้ซึ่งทําหน้าที่กําหนดทิศทางและติดตามดูแลการดําเนินธุรกิจของสถาบันการเงิน จึงต้องมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ที่รอบด้านมากขึ้น เพื่อให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญต่าง ๆ ตลอดจนต้องมีคุณสมบัติที่เหมาะสมในด้านจริยธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงเห็นควรปรับปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน โดยสาระสําคัญของการปรับปรุงในครั้งนี้ คือ ให้สถาบันการเงินขอความเห็นชอบผู้บริหารในตําแหน่งสูงสุดของสถาบันการเงินทุก 4 ปี เพื่อให้มีการทบทวนคุณสมบัติและความเหมาะสมของบุคคลในตําแหน่งดั่งกล่าวอย่างสม่ําเสมอและให้ผู้ที่สถาบันการเงินยื่นขอความเห็นชอบให้ดํารงตําแหน่งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน ชี้แจงลักษณะหรือพฤติกรรมต่าง ๆ ทั้งในอดีตและในปัจจุบันที่อาจส่งผลกระทบเชิงลบต่อคุณสมบัติและความเหมาะสมในการเป็นกรรมการ ผู้จัดการผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน เช่น ประวัติการถูกสอบสวนโดยอดีตนายจ้างหรือนายจ้างปัจจุบันในประเด็นเกี่ยวกับการทําผิดกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับภายในองค์กรที่เกี่ยวกับความซื่อสัตย์สุจริต ประวัติความผิดที่ร้ายแรงตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทําลายล้างสูง รวมทั้งรับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลประกอบการพิจารณาที่ให้ไว้กับธนาคารแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ สถาบันการเงินที่จะยื่นขอความเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินต้องมีความระมัดระวังในการสรรหา คัดเลือกผู้จะมาดํารงตําแหน่งดังกล่าวให้ดียิ่งขึ้นเพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณสมบัติและความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับการปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่งดังกล่าวที่สถาบันการเงิน อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 24 (4) ถึงมาตรา 24 (6) มาตรา 24 (7) ข มาตรา 24 (8) ถึงมาตรา 24 (10) มาตรา 25 และมาตรา 81 (2) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ธนาคารแห่งประเทศไทยออกข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติและหลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน ให้สถาบันการเงินถือปฏิบัติตามความในประกาศฉบับนี้ อื่นๆ - 3. ประกาศที่ยกเลิก ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สนส. 13/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2554 อื่นๆ - 4. ขอบเขตการบังคับใช้ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงินทุกแห่งยกเว้นตําแหน่งกรรมการของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่มีสาขาในประเทศไทยไม่อยู่ภายใต้บังคับของประกาศฉบับนี้ อื่นๆ - 5. เนื้อหา 5.1 คําจํากัดความ ในประกาศฉบับนี้ 5.1.1 "ผู้มีอํานาจในการจัดการ" หมายความว่า (1) ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ กรรมการที่เป็นผู้บริหารของสถาบันการเงินหรือบริษัท แล้วแต่กรณี หรือผู้ซึ่งมีตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น (2) บุคคลซึ่งสถาบันการเงินหรือบริษัททําสัญญาให้มีอํานาจในการบริหารงานทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ (3) บุคคลที่ตามพฤติการณ์มีอํานาจควบคุมหรือครอบงําผู้จัดการหรือกรรมการ หรือการจัดการของสถาบันการเงินหรือบริษัท ให้ปฏิบัติตามคําสั่งของตนในการกําหนดนโยบายหรือการดําเนินงานของสถาบันการเงินหรือบริษัท 5.1.2 "กรรมการ" หมายความว่า ผู้ที่ดํารงตําแหน่งเป็นกรรมการในคณะกรรมการของสถาบันการเงิน 5.1.3 "กรรมการที่เป็นผู้บริหาร" หมายความว่า (1) กรรมการที่ทําหน้าที่บริหารงานในตําแหน่งผู้จัดการ รองผู้จัดการผู้ช่วยผู้จัดการ หรือผู้ซึ่งมีตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่น (2) กรรมการที่ทําหน้าที่รับผิดชอบในการดําเนินการหรือมีส่วนร่วมในการบริหารงานใด ๆ เยี่ยงผู้บริหาร และให้หมายความรวมถึงกรรมการที่เป็นสมาชิกของคณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) (3) กรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพัน เว้นแต่เป็นการลงนามผูกพันตามรายการที่คณะกรรมการมีมติอนุมัติไว้แล้วเป็นรายกรณี และเป็นการลงนามร่วมกับกรรมการรายอื่น 5.1.4 "ที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน" หมายความว่า บุคคลที่เป็นที่ปรึกษาของสถาบันการเงินหรือบุคคลที่อาจทําหน้าที่เปรียบเสมือนกรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ หรือผู้ช่วยผู้จัดการ แต่เพียงใช้ชื่อว่าเป็นที่ปรึกษาเท่านั้น รวมไปถึงบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าว แต่เรียกชื่ออย่างอื่นด้วย อย่างไรก็ตาม ไม่รวมถึงบุคคลที่รับจ้างทํางนให้แก่สถาบันการเงิน โดยมีลักษณะของงานที่ใช้ความรู้ความสามารถพิเศษด้านเทคนิค หรือใช้ความชํานาญเฉพาะด้าน เช่น ที่ปรึกษางานบัญชีที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ปรึกษาด้านภาษี ที่ปรึกษาด้านภาษา ที่ปรึกษาด้านการสื่อสารองค์กร ที่ปรึกษาด้านประกันภัย ที่ปรึกษาด้านแบบจําลองเชิงปริมาณขั้นสูง เป็นต้น 5.1.5 "กลุ่มธุรกิจทางการเงิน" หมายความว่า กลุ่มธุรกิจทางการเงิน ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การกํากับดูแลโครงสร้างและขอบเขตธุรกิจของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน 5.2 คุณสมบัติของกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินต้องมีคุณสมบัติและความสามารถที่เหมาะสม (Fit and Proper) โดยต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 (1) ถึงมาตรา 24 (9) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 (เอกสารแนบ 1) และลักษณะต้องห้ามเพิ่มเติมใน 3 ด้านหลัก ดังต่อไปนี้ 5.2.1 ด้านความซื่อสัตย์ สุจริต และชื่อเสียง (Honesty, Integrity and Reputation) กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินจะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามที่เกี่ยวกับประเด็นความซื่อสัตย์ สุจริต และชื่อเสียง ดังต่อไปนี้ (1) เคยถูกธนาคารแห่งประเทศไทยหรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สั่งถอดถอนจากการเป็นกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการหรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน หรือบริษัทหลักทรัพย์ใดมาก่อน เว้นแต่จะพ้นระยะเวลาที่กําหนดห้ามดํารงตําแหน่งดังกล่าวแล้ว หรือได้รับการยกเว้นจากธนาคารแห่งประเทศไทยหรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แล้วแต่กรณี (2) เคยถูกธนาคารแห่งประเทศไทยหรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือหน่วยงานของรัฐทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งมีหน้าที่กํากับและควบคุมสถาบันการเงิน กล่าวโทษ ร้องทุกข์ หรือกําลังถูกดําเนินคดี ในความผิดฐานฉ้อโกง หรือทุจริตตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของสถาบันการเงินและหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่น ๆ เว้นแต่ปรากฏว่าคดีถึงที่สุดโดยไม่มีความผิด (3) เคยถูกหน่วยงานอื่นของรัฐ ทั้งในและต่างประเทศ นอกจากที่ระบุไว้ในข้อ (2) กล่าวโทษ ร้องทุกข์ หรือกําลังถูกดําเนินคดี ในความผิดฐานฉ้อโกง หรือทุจริตทางการเงินเว้นแต่ปรากฏว่าคดีถึงที่สุดโดยไม่มีความผิด (4) มีหรือเคยมีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจหรือการดําเนินกิจการใด ๆ ที่ผิดกฎหมาย หรือที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวงผู้อื่นหรือประชาชน (5) มีหรือเคยมีประวัติส่วนตัวหรือพฤติกรรมที่เป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรมหรือเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค หรือมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนให้เกิดการกระทําดังกล่าวของบุคคลอื่น (6) มีหรือเคยมีพฤติกรรมที่แสดงถึงการทํางานอันส่อไปในทางไม่สุจริตหรือฉ้อฉล หรือมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนให้เกิดการกระทําดังกล่าวของบุคคลอื่น ซึ่งรวมถึงการเลือกปฏิบัติหรือแสวงหาประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจใดอันอาจก่อให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interest) (7) มีหรือเคยมีพฤติกรรมที่แสดงถึงการละเลยการตรวจสอบดูแลหรือการปฏิบัติงานที่พึงกระทําตามสมควรเยี่ยงกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการของสถาบันการเงิน ซึ่งทําให้สถาบันการเงินฝ่าฝืนกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ คู่มือการปฏิบัติงานภายในตลอดจนมติของคณะกรรมการ หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการพิจารณาสินเชื่อการตัดสินใจลงทุน หรือดําเนินการอื่นใด อันเป็นสาเหตุให้เกิดความไม่เชื่อมั่นในธุรกิจสถาบันการเงินหรือความเสียหายต่อชื่อเสียง ฐานะ หรือการดําเนินธุรกิจของสถาบันการเงินอย่างมีนัยสําคัญ หรือเกิดความเสียหายต่อลูกค้าของธุรกิจสถาบันการเงิน เช่น ทําให้การดํารงเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS Ratio) ต่ํากว่าที่กฎหมายกําหนด หรือทําให้ไม่สามารถดํารงสินทรัพย์สภาพคล่องได้ตามที่กฎหมายกําหนด เป็นต้น 5.2.2 ด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ (Competence, Capability and Experiences) กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่จําเป็นและเหมาะสมกับตําแหน่งหน้าที่ที่รับผิดชอบในระดับที่ผู้ประกอบวิชาชีพการเงินการธนาคารพึงมี และต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองอื่น ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามทุจริต นอกเหนือจากตําแหน่งที่ระบุไว้ตามมาตรา 24 (8) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ทั้งนี้ ให้รวมถึงผู้ดํารงตําแหน่งกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี หรือผู้ช่วยรัฐมนตรี ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี (2) เป็นผู้ที่พ้นจากการเป็นพนักงานของธนาคารแห่งประเทศไทยยังไม่ครบ 1 ปี ในตําแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการขึ้นไปหรือตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่นของส่วนงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะอยู่ในสายงานใด หรือในตําแหน่งผู้อํานวยการอาวุโสหรือตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่นในสายงานที่มีอํานาจในการตัดสินใจกําหนดนโยบายกํากับดูแลหรือการกํากับตรวจสอบสถาบันการเงิน (3) มีหรือเคยมีการทํางานที่แสดงถึงการขาดมาตรฐานทางบัญชีมาตรฐานการบริหารความเสี่ยง หรือมาตรฐานทางวิชาชีพอื่น ๆ ในการดําเนินธุรกิจ ซึ่งกําหนดโดยหน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานกําหนดมาตรฐานอื่น ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เช่น การอําพรางฐานะทางการเงินหรือผลการดําเนินงานที่แท้จริง การจงใจหลีกเลี่ยงการเปิดเผยข้อมูลในประเด็นอันเป็นสาระสําคัญ การถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เป็นต้น 5.2.3 ด้านสถานะทางการเงิน (Financial Soundness) กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินจะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามที่เกี่ยวกับประเด็นด้านสถานะทางการเงิน กล่าวคือ บุคคลดังกล่าวจะต้องไม่มีปัญหาในการชําระเงินต้น หรือดอกเบี้ยกับสถาบันการเงินหรือบริษัทที่ให้สินเชื่อ หรือเข้าข่ายจัดชั้นเป็นลูกหนี้ชั้นต่ํากว่ามาตรฐาน ชั้นสงสัย ชั้นสงสัยจะสูญ หรือสูญ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 5.3 การขอความเห็นชอบการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการหรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินต้องขอความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทยในการแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งบุคคลใหม่หรือแต่งตั้งบุคคลเดิมให้ดํารงตําแหน่งต่อไป โดยมีขั้นตอนดังนี้ 5.3.1 สถาบันการเงินต้องตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคลที่จะเสนอชื่อให้ดํารงตําแหน่งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน เพื่อให้แน่ใจว่าบุคคลดังกล่าวไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 (1) ถึงมาตรา 24 (9) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 รวมทั้งเป็นผู้มีคุณสมบัติที่เหมาะสม และไม่มีลักษณะต้องห้ามเพิ่มเติมใน 3 ด้านหลัก ตามที่กําหนดในข้อ 5.2 ของประกาศฉบับนี้ 5.3.2 ให้สถาบันการเงินมีหนังสือขอความเห็นชอบพร้อมเอกสารประกอบตามเอกสารแนบ 2 ส่งให้ฝ่ายกํากับธุรกิจสถาบันการเงิน สายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ หากธนาคารแห่งประเทศไทยไม่มีหนังสือแจ้งทักท้วง หรือขอข้อมูลเพิ่มเติมภายใน 15 วันทําการนับแต่วันที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รับหนังสือขอความเห็นชอบและเอกสารที่เกี่ยวข้องครบถ้วนให้ถือว่าธนาคารแห่งประเทศไทยให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งนั้นแล้ว 5.3.3 ให้สถาบันการเงินขอความเห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลที่จะดํารงตําแหน่งผู้บริหารในตําแหน่งสูงสุดของสถาบันการเงินจากธนาคารแห่งประเทศไทยทุกครั้งที่จะมีการต่อวาระหรือต่ออายุสัญญาเพื่อให้ดํารงตําแหน่งต่อไป หรือทุก 4 ปี นับแต่วันที่บุคคลดังกล่าวได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง แล้วแต่ระยะเวลาใดจะถึงก่อน อนึ่ง หากสถาบันการเงินไม่แน่ใจเกี่ยวกับตําแหน่งที่ต้องขอความเห็นชอบก่อนการแต่งตั้ง ก็สามารถหารือกับธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นรายกรณีได้ ทั้งนี้ สถาบันการเงินต้องไม่เปิดเผยรายชื่อของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้ดํารงตําแหน่งต่อสาธารณชนก่อนได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทยอย่างเป็นทางการ 5.4 ปัจจัยประกอบการพิจารณาให้ความเห็นชอบ ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการหรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทยจะพิจารณาลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 (1) ถึงมาตรา 24 (9) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน .ศ. 2551 รวมทั้งคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามที่กําหนดเพิ่มเติมใน 3 ด้านหลักตามประกาศฉบับนี้ อย่างไรก็ตาม กรณีที่บุคคลดังกล่าวขาดคุณสมบัติเนื่องจากมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 (4) ถึงมาตรา 24 (6) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ซึ่งให้อํานาจธนาคารแห่งประเทศไทยในการพิจารณายกเว้นได้ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 5.2.1 (1) ถึง ข้อ 5.2.1 (7) ข้อ 5.22 (3) และข้อ 5.2.3 ของประกาศฉบับนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจนําปัจจัยอื่นมาประกอบการพิจารณาตามเหตุผลและความจําเป็นในแต่ละกรณี โดยปัจจัยที่ใช้ประกอบการพิจารณามีดังต่อไปนี้ 5.4.1 การขาดคุณสมบัตินั้น มิได้ร้ายแรง หรือมิได้ส่งผลกระทบต่อสถาบันการเงินถึงขั้นไม่สมควรได้รับความเห็นชอบ 5.4.2 ระยะเวลาที่ล่วงเลยมานับจากการมีลักษณะต้องห้ามนั้นต้องไม่น้อยกว่า 10 ปี 5.4.3 การขาดคุณสมบัตินั้น มิได้มีผลกระทบต่อหน้าที่และความรับผิดชอบตามตําแหน่งที่ขอความเห็นชอบ 5.4.4 ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล หรือนัยสําคัญของหลักฐานหรือเหตุการณ์ตลอดจนผลการตรวจสอบของธนาคารแห่งประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่มีอํานาจตามกฎหมาย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 5.4.5 ไม่ขัดต่อหลักธรรมาภิบาลที่ดีของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) หรือไม่ขัดต่อกฎหมายอื่น 5.5 ข้อยกเว้นเกี่ยวกับลักษณะต้องห้ามของกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินตามมาตรา 24 (7) (ข) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 ธนาคารแห่งประเทศไทยกําหนดข้อยกเว้นเกี่ยวกับลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 (7) (ข) ดังนี้ 5.5.1 เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การกํากับดูแลความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงอนุญาตให้ผู้จัดการหรือผู้มีอํานาจในการจัดการของบริษัทที่ได้รับสินเชื่อหรือได้รับการค้ําประกันหรืออาวัลหรือมีภาระผูกพันอยู่กับสถาบันการเงินนั้น และเป็นบริษัทที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจทางการเงินเดียวกันกับสถาบันการเงินสามารถเป็นหรือทําหน้าที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินนั้นได้ 5.5.2 โดยที่มีกรณีเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งที่สถาบันการเงินมีความจําเป็นจะต้องส่งกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการของสถาบันการเงินของตนเข้าไปกํากับดูแลบริษัทที่ได้รับสินเชื่อหรือได้รับการค้ําประกันหรืออาวัลหรือมีภาระผูกพันอยู่กับสถาบันการเงินนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริษัทที่อยู่ในระหว่างการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ จึงสมควรอนุญาต ให้สถาบันการเงินสามารถส่งกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการ ไปเป็นผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการของบริษัทที่ได้รับสินเชื่อหรือได้รับการค้ําประกันหรืออาวัลหรือมีภาระผูกพันอยู่กับสถาบันการเงินนั้นและเป็นบริษัทที่อยู่ในระหว่างการปรับโครงสร้างหนี้กับสถาบันการเงินได้ หรืออีกนัยหนึ่ง ธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการของบริษัทที่ได้รับสินเชื่อหรือได้รับการค้ําประกันหรืออาวัลหรือมีภาระผูกพันอยู่กับสถาบันการเงิน ที่ได้รับการแต่งตั้งมาจากสถาบันการเงินสามารถเป็นหรือทําหน้าที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินนั้นได้ เพราะเหตุแห่งความจําเป็นที่จะต้องควบคุมดูแลลูกหนี้ดังกล่าวมาข้างตันนั้น ทั้งนี้ให้ปฏิบัติตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินในเรื่อง การมีบทบาทในองค์กรอื่นของกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการและที่ปรึกษาของสถาบันการเงินด้วย 5.6 การเพิกถอนการให้ความเห็นชอบบุคคลที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่าบุคคลซึ่งได้รับความเห็นชอบไปแล้ว มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 24 ( 1) ถึงมาตรา 24 (9) แห่งพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 หรือขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามเพิ่มเติมใน 3 ด้านหลัก ตามที่กําหนดในข้อ 5.2 ของประกาศฉบับนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยจะพิจารณาเพิกถอนการให้ความเห็นชอบการดํารงตําแหน่งของบุคคลดังกล่าวเมื่อใดก็ได้ 5.7 การแจ้งการเปลี่ยนแปลงกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงิน ในกรณีที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของสถาบันการเงินลาออก เสียชีวิต หรือเปลี่ยนแปลงหน้าที่ในตําแหน่งงานระดับเดียวกัน สถาบันการเงินต้องแจ้งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้ฝ่ายกํากับธุรกิจสถาบันการเงิน สายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทยทราบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อื่นๆ - 6. บทเฉพาะกาล บุคคลที่ได้รับความเห็นชอบให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารในตําแหน่งสูงสุดของสถาบันการเงินจากธนาคารแห่งประเทศไทยก่อนประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ โดยไม่มีการกําหนดวาระการดํารงตําแหน่งหรือมีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งคงเหลือเกินกว่า 4 ปี ณ วันที่ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ให้สถาบันการเงินยื่นขอความเห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวให้ดํารงตําแหน่งผู้บริหารในตําแหน่งสูงสุดของสถาบันการเงินจากธนาคารแห่งประเทศไทยตามข้อ 5.3.3 ภายในวันที่ 1 พฤษภาคม 2565 อื่นๆ - 7. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤษภาคม 2561 (นายวิรไท สันติประภพ) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,848
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 82/2561 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 51/2561 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 --------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 1/2560 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 32/91/61 | - | 35,000 | 7 ส.ค. 61 | 9 ส.ค. 61 | 8 พ.ย. 61 | 91 วัน | 91 วัน | | 32/182/61 | - | 35,000 | 7 ส.ค. 61 | 9 ส.ค. 61 | 7 ก.พ. 62 | 182 วัน | 182 วัน | | 2/364/61 | - | 40,000 | 7 ส.ค. 61 | 9 ส.ค. 61 | 6 มิ.ย. 62 | 301 วัน | 301 วัน | | 33/91/61 | | 35,000 | 14 ส.ค. 61 | 16 ส.ค. 61 | 15 พ.ย. 61 | 91 วัน | 91 วัน | | 33/182/61 | | 35,000 | 14 ส.ค. 61 | 16 ส.ค. 61 | 14 ก.พ. 62 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/FRB3ปี/2561 | 3M BIBOR -0.1 (สําหรับงวดเริ่มต้น 7 ส.ค.2561 จะประกาศในวันที่ 3 ส.ค.2561) | 15,000 | 17 ส.ค. 61 | 21 ส.ค. 61 | 7 ก.พ. 63 | 3 ปี | 1.47 ปี | | 34/91/61 | - | 40,000 | 21 ส.ค. 61 | 23 ส.ค. 61 | 22 พ.ย. 61 | 91 วัน | 91 วัน | | 34/182/61 | - | 35,000 | 21 ส.ค. 61 | 23 ส.ค. 61 | 21 ก.พ. 62 | 182 วัน | 182 วัน | | 3/2ปี/2561 | จะกําหนดและประกาศในวันที่ 21 ส.ค.2561 | 25,000 | 23 ส.ค. 61 | 27 ส.ค. 61 | 27 ส.ค. 63 | 2 ปี | 2 ปี | | 35/91/61 | - | 40,000 | 28 ส.ค. 61 | 30 ส.ค. 61 | 29 พ.ย. 61 | 91 วัน | 91 วัน | | 35/182/61 | | 35,000 | 28 ส.ค. 61 | 30 ส.ค. 61 | 28 ก.พ. 62 | 182 วัน | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 3/2ปี/2561 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (coupon Rate) | ธนาคารแห่งประเทศไทยจะกําหนดและประกาศในวันอังคารที่ 21 สิงหาคม 2561 | | การชําระดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่า ๆ กัน | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 27 กุมภาพันธ์ และ 27 สิงหาคม ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 27 สิงหาคม 2563 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2560 ธปท. จะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ในวันพุธที่ 15 สิงหาคม 2561 อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2561 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2561 (นางสาววชิรา อารมย์ดี) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,849
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการฝาก การถอน และการโอนตราสารหนี้ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน พ.ศ. 2549
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ว่าด้วยการฝาก การถอน และการโอนตราสารหนี้ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน พ.ศ. 2549 ------------------------------------ เพื่อรองรับการรวมศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (Central Securities Depository) การส่งมอบและชําระราคาตราสารหนี้ (Clearing & Settlement System) ภาครัฐและเอกชนไว้ที่บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ตามแผนพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ฉบับที่ 2 (2548-2557) ของกระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยการ โอนกรรมสิทธิ์พันธบัตรทางบัญชีและการจัดการชําระราคาพันธบัตร พ.ศ. 2542 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ ๒ ในระเบียบนี้ "ธปท." หมายถึง ธนาคารแห่งประเทศไทย "สมาชิก ธปท." หมายถึง บุคคลหรือนิติบุคคลที่มีกรรมสิทธิ์ในตราสารหนี้ที่ ธปท. เป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน ที่มียอดคงเหลืออยู่ที่ ธปท. ณ วันที่ 11 พฤษภาคม 2549 "ศูนย์รับฝาก" หมายถึง บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด "สมาชิกผู้ฝาก" หมายถึง นิติบุคคลที่เปิดบัญชีไว้ที่บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด "ตราสารหนี้" หมายถึง ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตร หุ้นกู้ ซึ่ง ธปท.เป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงิน "บัญชีตราสารหนี้ของ ธปท. เพื่อลูกค้ารายย่อย" หมายถึง บัญชีตราสารหนี้ที่ ธปท. เปิดไว้ที่ศูนย์รับฝากในฐานะที่ ธปท. ถือตราสารหนี้แทนสมาชิก ธปท. เพื่อประโยชน์ในการทําธุรกรรมการถอนและการ โอนตราสารหนี้ "บัญชีช่อยตราสารหนี้ของ ธปท. เพื่อลูกค้ารายย่อย" หมายถึง บัญชีตราสารหนี้ของสมาชิก ธปท. แต่ละราย ภายใด้ระบบงานการดูแลของ ธปท. สําหรับบันทึกข้อมูลการฝากการถอน การโอนตราสารหนี้ของสมาชิก ธปท. ข้อ ๓ ธปท. จะรับฝากตราสารหนี้ของสมาชิก ธปท. โดยจะไม่รับฝากเพิ่มเติม ไว้จนกว่าสมาชิก ธปท. จะขอถอนตราสารหนี้ออกเป็นใบตราสาร ขอโอนตราสารหนี้ไปฝากไว้ที่ศูนย์รับฝากเมื่อตราสารหนี้ครบกําหนดอายุ หรือตามเงื่อนไขที่ ธปท. จะประกาศกําหนด ข้อ ๔ การฝากตราสารหนี้ ในการฝากใบตราสาร ให้สมาชิกผู้ฝากยื่นใบตราสารและเอกสารแบบคําขอลงทะเบียนรับโอนตราสารหนี้ตามแบบที่แนบ ในกรณียื่นที่ ธปท. ให้ยื่นภายในเวลา 16.30 น. ของวันทําการ หรือ ในกรณียื่นที่ศูนย์รับฝาก ให้ยื่นภายในเวลา 10.00 น. ของวันทําการ และศูนย์รับฝากต้องยื่นเอกสารดังกล่าวที่ ธปท. ภายในเวลา 16.30 น. ของวันทําการ ธปท. จะฝากตราสารหนี้ให้ศูนย์รับฝากในฐานะผู้ถือแทนเจ้าของกรรมสิทธิ์ในตราสารเมื่อ ธปท. ได้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารเรียบร้อยแล้ว ข้อ ๕ การถอนตราสารหนี้ 5.1 ในกรณีที่สมาชิก ธปท. จะขอถอนตราสารหนี้เพื่อออกเป็นใบตราสารให้สมาชิก ธปท. ยื่นเอกสารแบบคําขอออกใบตราสาร ตามแบบที่แนบ โดยต้องยื่นที่ ธปท.ภายในเวลา 16.30 น. ของวันทําการ ธปท. จะออกใบตราสารตามจํานวนที่ขอถอนเมื่อ ธปท. ได้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารเรียบร้อยแล้ว 5.2 ในกรณีที่สมาชิกผู้ฝากจะขอถอนตราสารหนี้เพื่อออกเป็นใบตราสารให้สมาชิกผู้ฝากยื่นเอกสารแบบคําขอออกใบตราสาร ตามแบบที่แนบ โดยต้องยื่นที่ศูนย์รับฝาก ภายในเวลา 10.00 น. ของวันทําการ และศูนย์รับฝากต้องยื่นเอกสารดังกล่าวที่ ธปท. ภายในเวลา 16.30 น.ของวันทําการ ธปท. จะถอนตราสารหนี้และออกใบตราสารเมื่อ ธปท. ได้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารเรียบร้อยแล้ว ข้อ ๖ การโอนตราสารหนี้ ธปท. จะโอนตราสารหนี้ของสมาชิก ธปท. ออกจากบัญชีย่อยตราสารหนี้ของ ธปท. เพื่อลูกค้ารายย่อย เพื่อเข้าบัญชีตราสารหนี้ของสมาชิก ธปท. หรือ ผู้อื่นที่ศูนย์รับฝากเมื่อสมาชิก ธปท. ยื่นหนังสือ โอนตราสารหนี้ตามแบบที่แนบ โดยต้องยื่นที่ ธปท. ภายในเวลา 16.30 น. ของวันทําการ และ ธปท. จะโอนตราสารหนี้เข้าบัญชีตราสารหนี้ตามที่สมาชิก ธปท.ระบุ เมื่อ ธปท. ได้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารเรียบร้อยแล้ว ข้อ ๗ ในกรณีเอกสารการฝาก การถอน หรือการโอนตราสารหนี้ไม่ถูกต้องครบถ้วน ธปท. จะแจ้งให้สมาชิก ธปท. หรือสมาชิกผู้ฝากผ่านศูนย์รับฝากแล้วแต่กรณีทราบเพื่อดําเนินการต่อไป หากสมาชิก ธปท. หรือสมาชิกผู้ฝากไม่สามารถดําเนินการ ได้ทันภายในวันที่ยื่นเอกสาร ธปท. จะดําเนินการฝาก การถอน หรือ การโอนตราสารหนี้ ให้สมาชิก ธปท.หรือสมาชิกผู้ฝากเมื่อเอกสารดังกล่าวนั้นถูกต้องครบถ้วนแล้ว ข้อ ๘ ในการทําธุรกรรม การฝาก การถอนและการ โอนตราสารหนี้ ตลอดจนการขอออกใบตราสารจะต้องชําระค่าธรรมเนียมและค่าใช้ง่าย ตามอัตราที่ ธปท.ประกาศกําหนด ข้อ ๙ ธปท. จะจัดทําบัญชีแสดงรายละเอียดตราสารหนี้ที่สมาชิก ธปท. มีอยู่ ณ วันที่เปลี่ยนแปลง และ ณ สิ้นวันทําการสุดท้ายของเดือนมิถุนายน และธันวาคม ให้แก่สมาชิก ธปท. ข้อ ๑๐ สมาชิก ธปท. หรือสมาชิกผู้ฝากแล้วแต่กรณีจะไม่สามารถฝาก ถอน หรือโอนตราสารหนี้ในระหว่างวันปิดพักทะเบียนของตราสารหนี้แต่ละประเภท วันปิดพักทะเบียน หมายถึง ระยะเวลาที่กําหนดห้ามการโอน การจํานํา หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตามที่นายทะเบียนประกาศกําหนด หรือตามประกาศการจําหน่ายตราสารหนี้แต่ละรุ่น ข้อ ๑๑ ธปท. จะจ่ายดอกเบี้ยของตราสารหนี้ให้แก่สมาชิก ธปท. หรือสมาชิกผู้ฝากแล้วแต่กรณี ดังนี้ 11.1 กรณีสมาชิก ธปท. ได้แก่ ผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีย่อยตราสารหนี้ของ ธปท.เพื่อลูกค้ารายย่อยในวันกําหนดสิทธิ์ของตราสารหนี้แต่ละประเภท 11.2 กรณีสมาชิกผู้ฝาก ได้แก่ ผู้ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ์รับดอกเบี้ยของตราสารหนี้ที่ศูนย์รับฝากแจ้งต่อ ธปท.ในวันกําหนดสิทธิ์ของตราสารหนี้แต่ละประเภทวันกําหนดสิทธิ์ หมายถึง เวลาที่เริ่มต้นทําการงานในวันแรกแห่งระยะเวลา 10 วัน หรือ 30 วันก่อนวันถึงกําหนดชําระดอกเบี้ย ข้อ ๑๒ ธปท.สงวนสิทธิ์ที่จะปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม หรือเปลี่ยนแปลงระเบียบ ประกาศหรือเอกสารอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับระเบียบฉบับนี้ ได้ตามความจําเป็นและสมควร ทั้งนี้ ธปท. จะแจ้งให้สมาชิก ธปท. หรือสมาชิกผู้ฝากผ่านศูนย์รับฝากทราบล่วงหน้า ข้อ ๑๓ ธปท. สงวนสิทธิ์ที่จะไม่ดําเนินการฝาก การถอน หรือการ โอนตราสารหนี้ให้แก่สมาชิก ธปท. หรือสมาชิกผู้ฝาก กรณีที่สมาชิก ธปท. หรือสมาชิกผู้ฝากฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อใดข้อหนึ่งแห่งระเบียบนี้ มีพฤติการณ์ไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของระเบียบ หรือมีเหตุไม่สมควรประการอื่น ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 (ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,850
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3623 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกรดบอริก บอริกออกไซด์และไดโซเดียมเททระบอเรตสำหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณทองแดง – วิธีซิงก์ไดเบนซิลไดไทโอคาร์บาเมตโฟโตเมทริก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3623 (พ.ศ. 2549) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กรดบอริก บอริกออกไซด์และไดโซเดียมเททระบอเรตสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณทองแดง – วิธีซิงก์ไดเบนซิลไดไทโอคาร์บาเมตโฟโตเมทริก -------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกรดบอริก บอริกออกไซด์และไดโซเดียมเททระบอเรตสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์หาปริมาณทองแดง – วิธีซิงก์ไดเบนซิลไดไทโอคาร์บาเมตโฟโตเมทริก มาตรฐานเลขที่ มอก. 2015 - 2543 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3005 (พ.ศ. 2544) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกรดบอริก บอริกออกไซด์และไดโซเดียมเททระบอเรตสําหรับอุตสาหกรรม - การวิเคราะห์ หาปริมาณทองแดง – วิธีซิงก์ไดเบนซิลไดไทโอคาร์บาเมตโฟโตเมทริก ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2549 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,851
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 51/2561 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 82/2561 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 --------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 1/2560 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 49/91/61 | - | 45,000 | 3 ธ.ค. 61 | 6 ธ.ค. 61 | 7 มี.ค. 62 | 91 วัน | 91 วัน | | 49/182/61 | - | 45,000 | 3 ธ.ค. 61 | 6 ธ.ค. 61 | 6 มิ.ย. 62 | 182 วัน | 182 วัน | | 4/365/61 | - | 40,000 | 3 ธ.ค. 61 | 6 ธ.ค. 61 | 6 ธ.ค. 62 | 365 วัน | 365 วัน | | 4/2ปี/2561 | 1.92 | 30,000 | 6 ธ.ค. 61 | 11 ธ.ค. 61 | 26 พ.ย. 63 | 2 ปี | 1.96 ปี | | 50/91/61 | - | 45,000 | 11 ธ.ค. 61 | 13 ธ.ค. 61 | 14 มี.ค. 62 | 91 วัน | 91 วัน | | 50/182/61 | - | 45,000 | 11 ธ.ค. 61 | 13 ธ.ค. 61 | 13 มิ.ย. 62 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/FRB3ปี/2560 | 3M BIBOR -0.1 เท่ากับ 1.51478 สําหรับงวดเริ่มต้น 7 พ.ย.2561 | 15,000 | 14 ธ.ค. 61 | 18 ธ.ค. 61 | 7 ก.พ. 63 | 3 ปี | 1.14 ปี | | 51/91/61 | - | 40,000 | 18 ธ.ค. 61 | 20 ธ.ค. 61 | 21 มี.ค. 62 | 91 วัน | 91 วัน | | 51/182/61 | - | 30,000 | 18 ธ.ค. 61 | 20 ธ.ค. 61 | 20 มิ.ย. 62 | 182 วัน | 182 วัน | | 52/91/60 | - | 40,000 | 25 ธ.ค. 61 | 27 ธ.ค. 61 | 28 มี.ค. 62 | 91 วัน | 91 วัน | | 52/182/60 | - | 30,000 | 25 ธ.ค. 61 | 27 ธ.ค. 61 | 27 มิ.ย. 62 | 182 วัน | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2560 ธปท. จะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ในวันพุธที่ 12 ธันวาคม 2561 อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561 (นางสาววชิรา อารมย์ดี) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,852
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3647 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 5 การทดสอบรูรั่ว – การทดสอบการรั่วซึมของน้ำ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3647 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถุงยางอนามัย เล่ม 5 การทดสอบรูรั่ว – การทดสอบการรั่วซึมของน้ํา -------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 5 การทดสอบรูรั่ว - การทดสอบการรั่วซึมของน้ํา มาตรฐานเลขที่ มอก. 625 เล่ม 5 - 2541 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2546 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถุงยางอนามัย เล่ม 5 การทดสอบรูรั่ว - การทดสอบการรั่วซึมของน้ํา ลงวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2550 โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
7,853
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 12/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย
ระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 12/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ----------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกระเบียบ เพื่อให้การกู้ยืมเงินเพื่อดํารงไว้ซึ่งเสถียรภาพแห่งค่าของเงินตราโดยวิธีออกพันธบัตรครอบคลุมการออกพันธบัตรเพื่อการออมทรัพย์ จําหน่ายให้แก่ประชาชนทั่วไป ทั้งนี้ เพื่อขยายฐานนักลงทุน อันจะเอื้อต่อการพัฒนาตลาดเงินและตลาดตราสารหนี้ อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย พระราชกฤษฎีกากําหนดกิจการธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2485 มาตรา 12 (13) อื่นๆ - เนื้อหา ข้อ 1 ธนาคารแห่งประเทศไทยจะกู้ยืมเงินโดยวิธีออกพันธบัตรออมทรัพย์ตามวงเงินและกําหนดชําระคืนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด ข้อ 2 พันธบัตรออมทรัพย์เป็นชนิดออกให้ในนามผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรตามราคาที่ตราไว้เป็นหน่วย หน่วยละหนึ่งพันบาท ข้อ 3 ธนาคารแห่งประเทศไทยจะจําหน่ายและจัดสรรพันธบัตรออมทรัพย์ให้แก่ผู้มีสิทธิซื้อตามเงื่อนไขที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจมอบหมายให้บุคคลใดเป็นผู้แทนจัดจําหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์โดยมีค่าบําเหน็จตอบแทนก็ได้ โดยผู้แทนจัดจําหน่ายต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในการจัดจําหน่ายที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด ข้อ 4 ผู้มีสิทธิซื้อ ได้แก่ บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทย หรือมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย สหกรณ์ มูลนิธิ วัด สถานศึกษา โรงพยาบาล และบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ไม่มีสิทธิซื้อ ผู้ไม่มีสิทธิซื้อ ได้แก่ ธนาคาร บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน บริษัทประกัน กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กองทุนส่วนบุคคลที่บริหารโดยสถาบันการเงิน กองทุนรวม คณะบุคคลบรรษัท สํานักงานประกันสังคม รัฐวิสาหกิจ บริษัท ห้างหุ้นส่วน หน่วยงานธุรกิจ หรือนิติบุคคลที่แสวงหากําไร ธนาคารแห่งประเทศไทยอาจปรับเปลี่ยนประเภทของผู้มีสิทธิซื้อและผู้ไม่มีสิทธิซื้อสําหรับการออกพันธบัตรออมทรัพย์แต่ละรุ่นตามความเหมาะสม ข้อ 5 ผู้เสนอขอซื้อพันธบัตรออมทรัพย์ต้องดําเนินการและชําระราคาตามวิธีการและกําหนดเวลาที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด ข้อ 6 ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นนายทะเบียนและตัวแทนการจ่ายเงินพันธบัตรออมทรัพย์ และจัดการอื่น ๆ ที่จําเป็นเพื่อประ โยชน์ในการนี้ ข้อ 7 ธนาคารแห่งประเทศไทยจะคํานวณดอกเบี้ยจากราคาตราของพันธบัตรออมทรัพย์ตามอัตราดอกเบี้และแบ่งชําระดอกเบี้ยตามงวดที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนดสําหรับพันธบัตรแต่ละรุ่น เป็นจํานวนเงินงวดละเท่าๆ กัน เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้งโดยดอกเบี้ยงวดสุดท้ายชําระพร้อมกับต้นเงิน ณ วันไถ่ถอนพันธบัตรออมทรัพย์ การจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรออมทรัพย์ในแต่ละงวดจะจ่ายให้แก่ผู้มีชื่อเป็นผู้ทรงกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรออมทรัพย์ในทะเบียน ณ เวลาที่เริ่มต้นทําการงานในวันแรกแห่งระยะเวลา 30 วันก่อนถึงวันกําหนดชําระดอกเบี้ย หรือตามระยะเวลาที่นายทะเบียนประกาศกําหนด ข้อ 8 หากวันครบกําหนดชําระดอกเบี้ย หรือวัน ไถ่ถอนพันธบัตรออมทรัพย์ตรงกับวันหยุดทําการของธนาคารแห่งประเทศไทย จะเลื่อนไปชําระในวันทําการถัดไป ข้อ 9 การ โอนกรรมสิทธิ์ การจํานํา หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่นายทะเบียนให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ ประกาศและพิธีปฏิบัติในการดําเนินการที่เกี่ยวกับการเป็นนายทะเบียนของธนาคารแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ การโอนกรรมสิทธิ์ การจํานํา หรือการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่นายทะเบียน สามารถกระทําได้ตลอดเวลา แต่ไม่สามารถกระทําในระหว่างระยะเวลา 30 วันก่อนถึงกําหนดชําระคืนต้นเงิน หรือตามระยะเวลาที่นายทะเบียนประกาศกําหนด ในกรณีที่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ประสงค์จะดําเนินการผ่านผู้แทนจัดจําหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ อาจมีค่าใช้จ่ายในการดําเนินการตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด ข้อ 10 การออกใบพันธบัตร มิให้ถือว่าฉบับใดสมบูรณ์ เว้นแต่พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทยซึ่งผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยแต่งตั้งขึ้น ได้ลงลายมือชื่อกํากับในใบพันธบัตรฉบับนั้น และการชําระต้นเงินกู้ตามใบพันธบัตรนี้ จะกระทําได้ต่อเมื่อได้รับคืนใบพันธบัตรแล้ว ข้อ 11 ธนาคารแห่งประเทศไทยสงวนสิทธิ์ที่จะปรับเปลี่ยนการจําหน่ายพันธบัตรหรือไม่รับคําเสนอขอซื้อของผู้มีสิทธิซื้อรายใดก็ได้ ตามความจําเป็นและเหมาะสม อื่นๆ - วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2550 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2550 (นางธาริษา วัฒนเกส) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,854
ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเป็นบริษัทรับอนุญาต
ประกาศเจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจเป็นบริษัทรับอนุญาต ---------------------------------- อาศัยอํานาจตามความในข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 5 แห่งประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง คําสั่งรัฐมนตรีให้ไว้แก่บริษัทรับอนุญาต ลงวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2548 เจ้าพนักงานออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ บริษัทรับอนุญาตต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เป็นนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทยประกอบธุรกิจด้านการออกเช็คเดินทางหรือบัตรเครดิตต่างประเทศ และมีทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแล้วไม่ต่ํากว่า 100 ล้านบาท (2) เป็นนิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทยและมีบริษัทที่มีธุรกิจเกี่ยวเนื่องในต่างประเทศซึ่งมีเครือข่ายให้บริการ ระหว่างประเทศด้านการออกเช็คเดินทาง หรือบัตรเครดิตต่างประเทศ โดยบริษัทที่มีธุรกิจเกี่ยวเนื่องดังกล่าวต้องมีทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแล้วไม่ต่ํากว่า 100 ล้านบาทหรือเทียบเท่า ข้อ ๒ ห้ามมิให้ตั้งหรือยอมให้บุคคลซึ่งมีลักษณะต้องห้ามอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ทําหน้าที่เป็นกรรมการผู้มีอํานาจควบคุม กรรมการผู้มีอํานาจในการบริหาร ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการ (1) เป็นบุคคลที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ หรือเป็นบุคคลล้มละลาย (2) เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน (3) มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีประวัติการกระทําความผิดเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ข้อ ๓ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงในภายหลังว่าบุคคลซึ่งทําหน้าที่เป็นกรรมการผู้มีอํานาจควบคุม กรรมการผู้มีอํานาจในการบริหาร ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการ มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 2 ให้บริษัทรับอนุญาตเปลี่ยนตัวบุคคลที่ดํารงตําแหน่งดังกล่าว ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ปรากฏข้อเท็จจริง หรือได้รับแจ้งจากเจ้าพนักงาน ข้อ ๔ บุคคลใดที่ประสงค์จะประกอบธุรกิจเป็นบริษัทรับอนุญาต จะต้องยื่นคําร้องขออนุญาตต่อรัฐมนตรีผ่านธนาคารแห่งประเทศไทย พร้อมด้วยเอกสารหลักฐานประกอบที่เกี่ยวข้องโดยจัดทําเป็น 2 ชุด ดังต่อไปนี้ (1) คําร้องขอประกอบธุรกิจเป็นบริษัทรับอนุญาตตามแบบที่กําหนด (2) หนังสือรับรองว่ากรรมการผู้มีอํานาจควบคุม กรรมการผู้มีอํานาจในการบริหารผู้จัดการ ผู้มีอํานาจในการจัดการ ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 2 ตามแบบที่กําหนด (3) สําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือรับรองของสํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท กระทรวงพาณิชย์ซึ่งรับรองไว้ไม่เกิน 6 เดือนนับแต่วันยื่นคําร้องโดยให้รับรองในรายการดังต่อไปนี้ - รายชื่อกรรมการ - ผู้มีอํานาจลงนาม - ทุนจดทะเบียนและเรียกชําระแล้ว - สถานที่ตั้ง (4) สําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับ และบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (5) เอกสารหลักฐานแสดงการมีธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับบริษัทในต่างประเทศซึ่งมีเครือข่ายให้บริการระหว่างประเทศด้านการออกเช็คเดินทางหรือบัตรเครดิตต่างประเทศ พร้อมสําเนาหรือภาพถ่ายหนังสือรับรองทุนจดทะเบียนของบริษัทในต่างประเทศ เอกสารหลักฐานที่แสดงการประกอบธุรกิจระหว่างประเทศด้านการออกเช็คเดินทางหรือบัตรเครดิตต่างประเทศ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) (6) แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ และแผนผังแสดงจุดที่ประกอบธุรกิจการยื่นคําร้องดังกล่าว ให้กระทําในเดือนมิถุนายนและเดือนธันวาคม ถ้าผู้ประสงค์จะประกอบธุรกิจในเขตปฏิบัติการของสํานักงานแห่งใดของธนาคารแห่งประเทศไทย ตามข้อ 5 ให้ยื่น ณ สํานักงานแห่งนั้น ข้อ ๕ เขตปฏิบัติการของธนาคารแห่งประเทศไทย มีดังนี้ ก. เขตปฏิบัติการของสํานักงานภาค (1) สํานักงานภาคใต้ (สํานักงานตั้งอยู่ ณ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา) มีเขตปฏิบัติการในจังหวัดภาคใต้รวม 14 จังหวัด คือ สงขลา ภูเก็ต นครศรีธรรมราช กระบี่ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา และสตูล (2) สํานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (สํานักงานตั้งอยู่ ณ อําเภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น) มีเขตปฏิบัติการในจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวม 19 จังหวัด คือ ขอนแก่น หนองคาย อุดรธานี หนองบัวลําภู เลย สกลนคร นครพนม กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ มุกดาหาร อุบลราชธานี และอํานาจเจริญ (3) สํานักงานภาคเหนือ (สํานักงานตั้งอยู่ ณ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่) มีเขตปฏิบัติการในจังหวัดภาคเหนือรวม 17 จังหวัด คือ เชียงใหม่ ลําปาง กําแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี เชียงราย พะเยา ลําพูน แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน สุโขทัย ตาก พิษณุโลก พิจิตร และเพชรบูรณ์ ข. เขตปฏิบัติการของสํานักงานใหญ่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สํานักงานใหญ่ กรุงเทพมหานคร มีเขตปฏิบัติการในจังหวัดอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวในข้อ ก. ข้อ ๖ เจ้าพนักงานอาจเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณาไม่อนุญาต หรือ ถอนใบอนุญาต หรือไม่ต่ออายุใบอนุญาตได้ หากเจ้าพนักงานมีข้อสงสัยหรือมีเหตุที่เชื่อได้ว่าผู้ยื่นคําร้องขออนุญาต บริษัทรับอนุญาต กรรมการผู้มีอํานาจควบคุม กรรมการผู้มีอํานาจในการบริหาร ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการ กระทําการ ดังต่อไปนี้ (1) ไม่ปฏิบัติ หรือฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน หรือกฎข้อบังคับคําสั่ง และประกาศที่ได้ออกเพื่อดําเนินการตามกฎหมายนั้น (2) ปฏิบัติการอันเป็นภัยต่อระบบการแลกเปลี่ยนเงิน (3) ปฏิบัติการอันเป็นภัยต่อสาธารณชนในทางเศรษฐกิจ (4) เป็นบุคคลที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ หรือเป็นบุคคลล้มละลาย (5) ไม่มีธุรกรรมตามที่ได้รับใบอนุญาตเป็นระยะเวลา 2 ปีติดต่อกัน (6) เหตุอื่นใดตามที่เจ้าพนักงานเห็นสมควร ในกรณีที่รัฐมนตรีสั่งถอนหรือแจ้งไม่ต่ออายุใบอนุญาตของบุคคลรับอนุญาตนั้นให้ผู้จัดการ ส่งคืนใบอนุญาตต่อเจ้าพนักงานภายใน 15 วัน ข้อ ๗ บริษัทรับอนุญาตต้องดําเนินการ ดังนี้ (1) ประกอบธุรกิจได้เฉพาะที่สํานักงานของบริษัทรับอนุญาตเท่านั้น ในกรณีที่ประสงค์จะเพิ่มจุดประกอบธุรกิจภายในสถานที่เดิมที่ได้รับอนุญาต ให้ยื่นคําร้องขออนุญาตโดยทําเป็นหนังสือพร้อมแนบแผนผังแสดงจุดบริการใหม่ และในกรณีขายจุดประกอบธุรกิจในสถานที่ประกอบการเดิม ให้บริษัทรับอนุญาตมีหนังสือแจ้งให้เจ้าพนักงานทราบ พร้อมแผนผังแสดงจุดที่ประกอบธุรกิจแห่งใหม่ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ข้าย (2) แสดงใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเป็นบริษัทรับอนุญาตที่กระทรวงการคลังออกให้ไว้ ณ สํานักงานของตนในที่แลเห็นได้ โดยเปิดเผย (3) จัดให้มีป้ายที่ชัดเจนและจัดตั้งไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่ายเพื่อแสดงอัตราแลกเปลี่ยนประจําวันสําหรับสกุลเงินทุกสกุลที่บริษัทรับอนุญาตรับซื้อหรือขายเช็คเดินทาง หรือจ่ายเงินตราให้แก่ผู้ถือบัตรเครดิตต่างประเทศ ข้อ ๘ ให้บริษัทรับอนุญาตถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ (1) การรับซื้อเช็คเดินทาง หรือจ่ายเงินตราให้แก่ผู้ถือบัตรเครดิตต่างประเทศ ให้กระทําได้ไม่จํากัดจํานวน (2) การขายเช็คเดินทางให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ (ก) เรียกให้ลูกค้าแสดงหลักฐาน หนังสือเดินทาง หรือเอกสารการเดินทางอื่น (ข) ขายให้แก่ลูกค้าเป็นมูลค่าคนหนึ่งไม่เกิน 5,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาหรือเทียบเท่าตามอัตราตลาดต่อการเดินทางหนึ่งครั้ง (3) การรับซื้อหรือขายเช็คเดินทาง หรือจ่ายเงินตราให้แก่ผู้ถือบัตรเครดิตต่างประเทศทุกครั้ง บริษัทรับอนุญาตต้องจัดให้มีหลักฐานแสดงการซื้อ ขาย หรือการง่ายเงินตราโดยมีรายละเอียดดังนี้ (ก) วันที่ซื้อหรือขาย (ข) ชื่อ นามสกุล และที่อยู่ของลูกค้า (ค) ชนิด จํานวน และสกุลเงินตราต่างประเทศ (ง) อัตราแลกเปลี่ยนที่ซื้อหรือขาย (จ) ยอดรวมเงินบาท (ฉ) เลขหมายลําดับของหลักฐาน (ช) เลขที่หนังสือเดินทาง หรือเอกสารการเดินทางอื่น (เฉพาะกรณีขายเช็คเดินทางให้ลูกค้า) ให้บริษัทรับอนุญาตมอบหลักฐานแสดงการซื้อหรือขายเช็คเดินทาง หรือการง่ายเงินตราดังกล่าวให้แก่ลูกค้า และจัดให้มีสําเนาเก็บไว้ที่สํานักงานของตน โดยเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่า 3 ปี เพื่อให้เจ้าพนักงานสามารถตรวจสอบได้เมื่อต้องการ (4) บริษัทรับอนุญาตต้องจัดให้มีสมุดบัญชี และดูแลให้มีการบันทึกรายการเกี่ยวกับการซื้อหรือขายเช็คเดินทาง หรือการจ่ายเงินตราให้แก่ผู้ถือบัตรเครดิตต่างประเทศทุกชนิด ทุกสกุลให้เรียบร้อย ถูกต้องและทันเวลา รวมทั้งต้องมีผู้ตรวจสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ตรวจสอบเป็นประจําอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง สมุดบัญชีที่กล่าวในวรรคแรก จะต้องเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่า 3 ปี เพื่อให้เจ้าพนักงานสามารถตรวจสอบได้เมื่อต้องการ (5) ให้บริษัทรับอนุญาตใช้อัตราแลกเปลี่ยนในการซื้อหรือขายเช็คเดินทาง หรือจ่ายเงินตราให้แก่ผู้ถือบัตรเครดิตต่างประเทศในอัตราที่ใกล้เคียงกับอัตราเฉลี่ยของนิติบุคคลรับอนุญาต (6) เช็ดเดินทางที่บริษัทรับอนุญาตรับซื้อไว้ หรือหลักฐานแสดงสิทธิที่จะเรียกเก็บเงินตราต่างประเทศตามบัตรเครดิตต่างประเทศ บริษัทรับอนุญาตต้องขายให้แก่นิติบุคคลรับอนุญาตหรือส่งไปเรียกเก็บจากบริษัทหรือสถาบันการเงินในต่างประเทศ ผู้ออกเช็คเดินทาง หรือผู้ออกบัตรเครดิตต่างประเทศภายใน 15 วันนับแต่วันที่ได้รับซื้อเช็คเดินทางหรือวันที่จ่ายเงินตราให้แก่ผู้ถือบัตรเครดิตต่างประเทศดังกล่าว ทั้งนี้ ให้บริษัทรับอนุญาตเรียกใบรับจากนิติบุคคลรับอนุญาต หรือหลักฐานแสดงการส่งไปเรียกเก็บเงินที่ต่างประเทศ (7) ในกรณีบริษัทรับอนุญาตประสงค์จะเปิดบัญชีเงินตราต่างประเทศกับนิติบุคคลรับอนุญาตเพื่อการประกอบธุรกิจบริษัทรับอนุญาตต้องแยกเปิดเป็นการเฉพาะ และแจ้งชื่อนิติบุคคลรับอนุญาตผู้รักษาบัญชีและหมายเลขบัญชีดังกล่าวต่อเจ้าพนักงาน โดยยอดคงเหลือในบัญชีรวมทุกบัญชีจะต้องไม่เกิน 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐอเมริกาหรือเทียบเท่าตามอัตราตลาด และมิให้นําเงินตราต่างประเทศในบัญชีดังกล่าวนี้ไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่นที่มิใช่ธุรกิจบริษัทรับอนุญาต ข้อ ๙ ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพนิติบุคคลของบริษัทรับอนุญาต หรือเปลี่ยนแปลงชื่อนิติบุคคล หรือเปลี่ยนแปลงชื่อสถานประกอบการ หรือเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้น สัดส่วนผู้ถือหุ้นหรือเปลี่ยนแปลงตัวกรรมการผู้มีอํานาจควบคุม กรรมการผู้มีอํานาจในการบริหาร ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการของบริษัทรับอนุญาต ให้บริษัทรับอนุญาตรายงานการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวต่อเจ้าพนักงานเป็นหนังสือ พร้อมทั้งยื่นเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงทางทะเบียน ทั้งนี้กรณีมีการเปลี่ยนแปลงตัวกรรมการผู้มีอํานาจควบคุม กรรมการผู้มีอํานาจในการบริหาร ผู้จัดการ หรือผู้มีอํานาจในการจัดการ ให้ทําหนังสือรับรองด้วยว่าบุคคลดังกล่าวไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 2 ข้อ ๑๐ ให้บริษัทรับอนุญาตจัดทํารายงานตามแบบที่กําหนด ข้อ ๑๑ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2548 (นายสุชาติ สักการโกศล) เจ้าพนักงานควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน
7,855