title
stringlengths
8
870
text
stringlengths
0
298k
__index_level_0__
int64
0
54.3k
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 61/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 61 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 ----------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดรายละเอียดการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทยปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 57/2554 ว่าด้วยการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้กําหนดแผนการออกจําหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 โดยมีรายละเอียดดังนี้ | | | | --- | --- | | พันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 | | | 1. อายุพันธบัตร | 3 ปี | 7 ปี | | | 2. อัตราดอกเบี้ย(คูปอง) | อัตราดอกเบี้ยงวดแรกเท่ากับร้อยละ 3.58125 ต่อปี(อัตราดอกเบี้ย BIBOR ระยะ 3 เดือนณ วันที่ 25 สิงหาคม 2554)ทั้งนี้ ธปท. จะกําหนดอัตราดอกเบี้ยงวดถัดไป2 วันทําการก่อนวันเริ่มงวดการจ่ายดอกเบี้ย | ปีที่ 1 – 4 ร้อยละ 3.50 ต่อปีปีที่ 5 – 6 ร้อยละ 4.50 ต่อปีปีที่ 7 ร้อยละ 5.00 ต่อปี(อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 4.00 ต่อปี) | | | 3. วงเงินรวม | 50,000 ล้านบาท | | | 4. วงเงินซื้อชั้นต่ํา | 50,000 บาทต่อราย และซื้อเพิ่มเป็นจํานวนเท่าของ 10,000 บาท โดยไม่จํากัดวงเงินซื้อชั้นสูง | | | 5. วันที่จําหน่าย | วันที่ 26 สิงหาคม – 6 กันยายน 2554 (เว้นวันเสาร์ - อาทิตย์) | | | 6. กําหนดชําระเงิน | วันที่ 26 สิงหาคม - 5 กันยายน 2554: สามารถชําระด้วยเงินสด หักบัญชีเงินฝาก ภายในเวลา 15.00 น. หรือชําระด้วยแคชเชียร์เช็ค เช็คส่วนตัว (เฉพาะเช็คในเขตสํานักหักบัญชีเดียวกัน) ภายในเวลาปิดรับเช็คของแต่ละธนาคารตัวแทน โดยเช็คลงวันที่ไม่เกินวันเสนอขอซื้อพันธบัตร เช็คสั่งจ่าย "บัญชีจองซื้อพันธบัตรออมทรัพย์ ธปท. อายุ 3 ปี" หรือ "บัญชีจองซื้อพันธบัตรออมทรัพย์ ธปท. อายุ 7 ปี" | | | วันที่ 6 กันยายน 2554: ชําระด้วยเงินสดหรือหักบัญชีเงินฝากภายในเวลา 15.00 น. เท่านั้น | | | 7. วันที่ลงในพันธบัตร(วันที่เริ่มคิดดอกเบี้ย) | กรณีชําระเงินด้วยเงินสดหรือหักบัญชีเงินฝาก: วันที่เสนอขอซื้อพันธบัตรกรณีชําระเงินด้วยแคชเชียร์เช็ค, เช็คส่วนตัว: วันที่ทําการถัดไปจากวันเสนอขอซื้อพันธบัตร | | | 8. กําหนดชําระคืนต้นเงิน | วันที่ 26 สิงหาคม 2557 | วันที่ 26 สิงหาคม 2561 | | | 9. ผู้มีสิทธิซื้อในตลาดแรก | * บุคคลธรรมดาที่ถือสัญชาติไทย หรือมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย สภากาชาดไทย มูลนิธิ สมาคม สหกรณ์ วัด สถานศึกษาของรัฐ โรงพยาบาลของรัฐ และนิติบุคคลอื่นที่ไม่อยู่ในรายชื่อผู้ไม่มี สิทธิซื้อ ผู้ไม่มีสิทธิซื้อ ธนาคาร บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน บริษัทประกัน กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กองทุนส่วนบุคคลที่ บริหารโดยสถาบันการเงิน กองทุนรวม คณะบุคคล บรรษัท สํานักงานประกันสังคม รัฐวิสาหกิจ บริษัท ห้างร้าน นิติบุคคลที่แสวงหากําไร นิติบุคคลอาคารชุด นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร โรงพยาบาลเอกชน และสถานศึกษาเอกชน | | | 10. ธนาคารตัวแทนจําหน่าย | 1) ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 2) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 3) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) 4) ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) 5) ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) 6) ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 7) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 8) ธนาคารยูโอบี จํากัด (มหาชน) 9) ธนาคารสแตนตาร์ดซาร์เตอร์ด (ไทย) จํากัด (มหาชน) 10) ธนาคารออมสิน 11) ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จํากัด | | | 11. การจ่ายดอกเบี้ย | * ปีละ 4 งวด คือในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 26 พฤษภาคม 26 สิงหาคม และ 26 พฤศจิกายน ของทุกปี โดยเริ่มคํานวณ ดอกเบี้ยงวดแรกตั้งแต่วันที่ลงในพันธบัตร* จ่ายดอกเบี้ยตามที่ ธปท. ประกาศกําหนด เป็นสัดส่วนของจํานวนงวดต่อปีจนกว่า พันธบัตรจะครบกําหนด ยกเว้นงวดแรกถึง งวดที่ 4 จะคํานวณดอกเบี้ยจากจํานวนวันที่ เกิดขึ้นจริงในแต่ละงวด | * ปีละ 2 งวด คือในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ และ 26 สิงหาคม ของทุกปี โดยเริ่มคํานวณ ดอกเบี้ยงวดแรกตั้งแต่วันที่ลงในพันธบัตร * จ่ายดอกเบี้ยตามที่ ธปท. ประกาศกําหนด เป็นสัดส่วนของจํานวนงวดต่อปีจนกว่า พันธบัตรจะครบกําหนด ยกเว้นงวดแรก และงวดที่ 2 จะคํานวณดอกเบี้ยจากจํานวน วันที่เกิดขึ้นจริงในแต่ละงวด | | | * การนับวันเพื่อคํานวณดอกเบี้ยให้ถือว่า หนึ่งปีมี 365 วัน เศษของหนึ่งสตางค์ให้ปัดทิ้ง * ธปท. จะโอนดอกเบี้ยเข้าบัญชีเงินฝาก (ยกเว้นบัญชีเงินฝากประจํา) ของผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ฝากไว้ที่ ธนาคารใดก็ได้ (ธนาคารในประเทศไทยเท่านั้น) ตามที่ผู้ถือกรรมสิทธิ์แจ้งไว้ในคําเสนอขอซื้อ พันธบัตร หรือตามที่ ธปท. ได้รับแจ้งจากบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด กรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์ฝากพันธบัตรไว้กับบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ก่อนถึง กําหนดชําระดอกเบี้ย ทั้งนี้ ธนาคารเจ้าของบัญชีเงินฝากอาจหักค่าธรรมเนียมการโอนเงินตาม อัตราที่แต่ละธนาคารประกาศหรือกําหนด* ธปท. จะจ่ายดอกเบี้ยของพันธบัตรในแต่ละงวด ให้แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์โดยถือตามรายชื่อทาง ทะเบียน ณ วันทําการสุดท้ายของ ธปท. ก่อนถึงช่วงระยะเวลา 30 วัน ก่อนวันถึงกําหนดชําระ ดอกเบี้ย* หากวันครบกําหนดจ่ายดอกเบี้ยตรงกับวันหยุด ธปท. ให้เลื่อนไปชําระดอกเบี้ยในวันเปิดทําการ ถัดไปโดยไม่คํานวณดอกเบี้ยเพิ่มให้ | | | 12. การหักภาษี ณ ที่จ่าย | ธปท. จะหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ทุกครั้งที่มีการจ่ายดอกเบี้ยตามอัตราที่ประกาศในประมวลรัษฎากรสําหรับบุคคลธรรมดาจะนําไปรวมคํานวณภาษีเงินได้ ณ สิ้นปีหรือไม่ก็ได้ | | | 13. การขายก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอน | หลังจากได้รับพันธบัตร ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรสามารถขายพันธบัตรก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอนได้ตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 เป็นต้นไป ให้กับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นตามราคาที่จะตกลงกัน แต่จะกระทําในระหว่างระยะเวลา 30 วันก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอนมิได้ | | | 14. การไถ่ถอนต้นเงินเมื่อครบกําหนด | * พันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 อายุ 3 ปี ครบกําหนดไถ่ ถอนในวันที่ 26 สิงหาคม 2557 และ พันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 อายุ 7 ปี ครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 26 สิงหาคม 2561 หากวันครบกําหนดไถ่ถอนตรง กับวันหยุด ธปท. ให้เลื่อนไปชําระในวันเปิดทําการถัดไป โดยไม่คํานวณดอกเบี้ยเพิ่มให้การชําระ ต้นเงินตามพันธบัตรจะกระทําได้ต่อเมื่อ ธปท. ได้รับคืนใบพันธบัตร โดย ธปท. จะจัดส่งคําขอรับ คืนต้นเงินพันธบัตรให้ผู้ถือกรรมสิทธิ์ก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอนธปท. กําหนดวันปิดพักทะเบียน ในช่วงระยะเวลา 30 วันก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอน* ธปท. จะโอนต้นเงินเข้าบัญชีเงินฝาก (ยกเว้นบัญชีเงินฝากประจํา) ของผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ฝากไว้ที่ ธนาคารใดก็ได้ (ธนาคารในประเทศไทยเท่านั้น) ตามที่ผู้ถือกรรมสิทธิ์แจ้งไว้ในคําขอรับคืนต้นเงิน พันธบัตร หรือตามที่ ธปท. ได้รับแจ้งจากบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด กรณี ผู้ถือกรรมสิทธิ์ฝากพันธบัตรไว้กับบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งการโอน ต้นเงินเข้าบัญชี ธนาคารเจ้าของบัญชีเงินฝากอาจหักค่าธรรมเนียมการโอนเงินตามอัตราที่แต่ละ ธนาคารประกาศหรือกําหนด | | | 15. การใช้พันธบัตรเป็นหลักประกัน | ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในพันธบัตรสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรของรัฐ เช่น การประกันทางศาล หรือการประกันไฟฟ้า และสามารถใช้พันธบัตรเป็นหลักประกันกับสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับระเบียบหลักเกณฑ์การรับหลักประกันของหน่วยงานหรือบุคคลนั้น ๆ | | | 16. การโอนกรรมสิทธิ์ | * กระทําได้ตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 เป็นต้นไป * การโอนกรรมสิทธิ์เพื่อเป็นหลักประกัน หรือโอนทางมรดก หรือการแบ่งทรัพย์สินอันเนื่องมาจาก การหย่า หรือล้มละลาย หรือการชําระบัญชี ให้กระทําได้หลังจากได้รับใบพันธบัตรแล้ว* การโอนกรรมสิทธิ์จะกระทําในระหว่างระยะเวลา 30 วันก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอนมิได้ หรือ เป็นไปตามระเบียบและวิธีการที่ ธปท. ประกาศกําหนด | | | 17. การให้บริการแก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์ | * ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถฝากพันธบัตรไว้ที่บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ได้ ตั้งแต่วันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 เป็นต้นไป หากประสงค์จะดําเนินการเรื่องต่าง ๆ ให้เป็นไป ตามพิธีปฏิบัติของบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด* กรณีผู้ถือกรรมสิทธิ์ถือใบพันธบัตร หากประสงค์จะดําเนินการเรื่องต่างๆ ให้เป็นไปตามพิธี ปฏิบัติของ ธปท. ได้แก่ การขอแยกหน่วยพันธบัตรเป็นใบพันธบัตรหลายฉบับ (การขอแตก พันธบัตร) การจํานําและการถอนจํานํา การขอแก้ไขชื่อจดทะเบียนผู้ถือกรรมสิทธิ์ การขอออก พันธบัตรใหม่กรณีสูญหาย การยื่นไถ่ถอนต้นเงินพันธบัตรเมื่อครบกําหนด ผู้ถือกรรมสิทธิ์สามารถ แจ้งความจํานงได้โดยตรงที่ ธปท. สํานักงานใหญ่ สํานักงานภาค หรือผ่านธนาคารตัวแทน* หากติดต่อโดยตรงที่ ธปท. สํานักงานใหญ่ สํานักงานภาค ตามที่ขอจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ไว้ ธปท. จะดําเนินการให้ทันที แต่หากติดต่อผ่านธนาคารตัวแทน ธปท. จะดําเนินการให้ทันทีที่ ได้รับเรื่องจากธนาคารตัวแทน* ผู้ถือกรรมสิทธิ์จะต้องชําระค่าธรรมเนียมให้แก่ ธปท. สําหรับบุคคลธรรมดา ฉบับละ 20 บาท และสําหรับผู้ถือกรรมสิทธิ์ประเภทอื่น ฉบับละ 100 บาท หรือตามที่ ธปท. จะกําหนดภายหลัง ยกเว้นการยื่นไถ่ถอนต้นเงินพันธบัตรเมื่อครบกําหนด ธปท. ไม่เก็บค่าธรรมเนียม ทั้งนี้ ธนาคารตัวแทนสามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการให้บริการดังกล่าว จากผู้ถือกรรมสิทธิ์เพิ่ม อีกฉบับละ 10 บาท | | | | | | | | | ทั้งนี้ ธปท. ขอสงวนสิทธิ์ที่จะปรับเปลี่ยนการจําหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ตามกําหนดการข้างต้นตามความจําเป็นและเหมาะสม อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรื่องวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,052
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง กำหนดสถานที่ตั้งและเขตอำนาจสำนักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง กําหนดสถานที่ตั้งและเขตอํานาจสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค (ฉบับที่ 2) ----------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 13 แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรม คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมออกประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า "ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง กําหนดสถานที่ตั้งและเขตอํานาจสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค (ฉบับที่ 2)" ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (4) ของข้อ 4 ของประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง กําหนดสถานที่ตั้งและเขตอํานาจสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค ฉบับลงวันที่ 29 มกราคม 2545 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(4) อธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 มีสถานที่ตั้งอยู่ที่สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 จังหวัดขอนแก่น และมีเขตอํานาจในจังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดนครพนม จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดเลย จังหวัดสกลนคร จังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองบัวลําภู และจังหวัดอุดรธานี" ข้อ 4 ให้ประธานศาลฎีการักษาการตามประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2554 สบโชค สุขารมณ์ ประธานศาลฎีกา ประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
7,053
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา (ฉบับ Update ล่าสุด)
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา ----------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 7 และมาตรา 10 แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรมคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมออกประกาศให้จัดตั้งแผนกในศาลอาญา ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในประกาศนี้ "คดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ" หมายความว่า คดีความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม และให้หมายความรวมถึงคดีร้องขอให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะเหตุร่ํารวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ ข้อ ๔ ให้จัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญาโดยให้มีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) พิจารณาพิพากษาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐที่อยู่ในเขตอํานาจและที่โอนมาตามกฎหมาย (2) ดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ เกี่ยวกับคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของศาลอาญา ข้อ ๕ ให้มีผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ รัฐในศาลอาญาเป็นผู้รับผิดชอบงานในแผนกหนึ่งคน และให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาจัดให้ผู้พิพากษาที่มีความรู้เชี่ยวชาญด้านคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐจํานวนตามที่เห็นสมควรเป็นผู้พิพากษาประจําแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ ในกรณีที่มีความจําเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการ อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาอาจมอบหมายให้ผู้พิพากษาในแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐพิจารณาพิพากษาคดีอื่นใดตามที่เห็นสมควรด้วยก็ได้ ข้อ ๖ แผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ รัฐในศาลอาญาจะเริ่มทําการเมื่อใดให้เป็นไปตามประกาศของอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญา แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ข้อ ๗ ให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญารักษาการตามประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ดิเรก อิงคนินันท์ ประธานศาลฎีกา ประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
7,054
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา -------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 7 และมาตรา 10 แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรม คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมออกประกาศให้จัดตั้งแผนกในศาลอาญา ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในประกาศนี้ "คดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ" หมายความว่าคดีดังต่อไปนี้ (1) คดีอาญาที่ฟ้องให้ลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐในความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ความผิดต่อตําแหน่ง หน้าที่ราชการ ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ตามประมวลกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น (2) คดีอาญาที่ฟ้องให้ลงโทษบุคคลที่ร่วมกระทําความผิดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ไม่ว่าในฐานะตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน (3) คดีอาญาที่ฟ้องให้ล่งโทษบุคคลในความผิดเกี่ยวกับการเรียก รับ หรือให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์ หรือการใช้อิทธิพล เพื่อจูงใจหรือข่มขืนใจให้เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทํา ไม่กระทําหรือประวิงการกระทําใด (4) คดีอาญาที่เป็นความผิดตามบทบัญญัติในกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามกรทุจริตหรือความผิดต่อกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ ข้อ ๔ ให้จัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญาโดยให้มีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) พิจารณาพิพากษาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐที่อยู่ในเขตอํานาจและที่โอนมาตามกฎหมาย (2) ดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ เกี่ยวกับคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของศาลอาญา ข้อ ๕ ให้มีผู้พิพากษาหัวหน้าแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญาเป็นผู้รับผิดชอบงานในแผนกหนึ่งคน และให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาจัดให้ผู้พิพากษาที่มีความรู้เชี่ยวชาญด้านคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐจํานวนตามที่เห็นสมควรเป็นผู้พิพากษาประจําแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ ในกรณีที่มีความจําเป็นเพื่อประโยชน์แก่ราชการ อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญาอาจมอบหมายให้ผู้พิพากษาในแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐพิจารณาพิพากษาคดีอื่นใดตามที่เห็นสมควรด้วยก็ได้ ข้อ ๖ แผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญาจะเริ่มทําการเมื่อใด ให้เป็นไปตามประกาศของอธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญา แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ข้อ ๗ ให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอาญารักษาการตามประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ดิเรก อิงคนินันท์ ประธานศาลฎีกา ประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
7,055
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา (ฉบับที่ 2) ----------------------------- โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 แห่งพระธรรมนูญศาลยุติธรรม คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมออกประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า "ประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา (ฉบับที่ 2)" ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกบทนิยามคําว่า "คดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ" ในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม เรื่อง การจัดตั้งแผนกคดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐในศาลอาญา และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ""คดีทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่รัฐ" หมายความว่าคดีดังต่อไปนี้ (1) คดีอาญาที่ฟ้องให้ลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐในความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ ความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ตามประมวลกฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น (2) คดีอาญาที่ฟ้องให้ลงโทษบุคคลที่ร่วมกระทําความผิดกับเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ไม่ว่าในฐานะตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน (3) คดีอาญาที่ฟ้องให้ลงโทษบุคคลในความผิดเกี่ยวกับการเรียก รับ หรือให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์ หรือการใช้อิทธิพล เพื่อจูงใจหรือข่มขืนใจ ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทํา ไม่กระทําหรือประวิงการกระทําใด (4) คดีอาญาที่เป็นความผิดตามบทบัญญัติในกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตหรือความผิดต่อกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ" ประกาศ ณ วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ดิเรก อิงคนินันท์ ประธานศาลฎีกา ประธานกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
7,056
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 62/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 62 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 ------------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.69/14/54 | 60,000 | 1 กันยายน 2554 | 5/9/54 – 19/9/54 | 14 | | พ.70/14/54 | 50,000 | 2 กันยายน 2554 | 6/9/54 – 20/9/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,057
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 63/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนกันยายน พ.ศ. 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 63 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 -------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเท อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 36/28/54 | - | 15,000 | 6 ก.ย. 54 | 8 ก.ย. 54 | 6 ต.ค 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 36/91/54 | - | 20,000 | 6 ก.ย. 54 | 8 ก.ย. 54 | 8 ธ.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 36/182/54 | - | 18,000 | 6 ก.ย. 54 | 8 ก.ย. 54 | 8 มี.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 3/3ปี/2554 | จะกําหนดและประกาศในวันที่2 ก.ย. 54 | 30,000 | 6 ก.ย. 54 | 8 ก.ย. 54 | 8 ก.ย. 57 | 3 ปี | 3 ปี | | 37/28/54 | - | 15,000 | 13 ก.ย. 54 | 15 ก.ย. 54 | 13 ต.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 37/91/54 | - | 20,000 | 13 ก.ย. 54 | 15 ก.ย. 54 | 15 ธ.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 37/182/54 | - | 18,000 | 13 ก.ย. 54 | 15 ก.ย. 54 | 15 มี.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 5/365/54 | - | 35,000 | 13 ก.ย. 54 | 15 ก.ย. 54 | 3 ส.ค. 55 | 365 วัน | 323 วัน | | 38/28/54 | - | 15,000 | 20 ก.ย. 54 | 22 ก.ย. 54 | 20 ต.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 38/91/54 | - | 20,000 | 20 ก.ย. 54 | 22 ก.ย. 54 | 22 ธ.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 38/182/54 | - | 18,000 | 20 ก.ย. 54 | 22 ก.ย. 54 | 22 มี.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 1/FRB2ปี/2554 | 3M BIBOR – 0.20 | 12,000 | 23 ก.ย. 54 | 27 ก.ย. 54 | 22 มี.ค. 56 | 2 ปี | 1.48 ปี | | 39/28/54 | - | 15,000 | 27 ก.ย. 54 | 29 ก.ย. 54 | 27 ต.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 39/91/54 | - | 20,000 | 27 ก.ย. 54 | 29 ก.ย. 54 | 29 ธ.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 39/182/54 | - | 18,000 | 27 ก.ย. 54 | 29 ก.ย. 54 | 29 มี.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่3/3ปี/2554 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 2 กันยายน 2554 | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่า ๆ กัน | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 8 มีนาคม และ 8 กันยายน ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 8 มีนาคม 2555 | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 8 กันยายน 2557 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB2ปี/2554 ธปท. จะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วสําหรับงวดเริ่มตันวันที่ 22 กันยายน 2554 ในวันอังคารที่ 20 กันยายน 2554 โดยอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับข่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) จะกําหนดและประกาศในวันพุธที่ 21 กันยายน 2554 อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2554 อื่นๆ - ประกาศ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,058
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 47/2556 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 47 /2556 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกรกฎาคมพ.ศ. 2556 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจําเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ดังนี้ | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | 3/364/56 | - | 30,000 | 2 ก.ค. 56 | 4 ก.ค. 56 | 3 ก.ค. 57 | 364 วัน | 364 วัน | | 26/28/56 | - | 28,000 | 2 ก.ค. 56 | 4 ก.ค. 56 | 1 ส.ค. 56 | 28 วัน | 28 วัน | | 26/91/56 | - | 25,000 | 2 ก.ค. 56 | 4 ก.ค. 56 | 3 ต.ค. 56 | 91 วัน | 91 วัน | | 26/182/56 | - | 25,000 | 2 ก.ค. 56 | 4 ก.ค. 56 | 2 ม.ค. 57 | 182 วัน | 182 วัน | | 27/28/56 | - | 28,000 | 9 ก.ค. 56 | 11 ก.ค. 56 | 8 ส.ค. 56 | 28 วัน | 28 วัน | | 27/91/56 | - | 25,000 | 9 ก.ค. 56 | 11 ก.ค. 56 | 10 ต.ค. 56 | 91 วัน | 91 วัน | | 27/182/56 | - | 25,000 | 9 ก.ค. 56 | 11 ก.ค. 56 | 9 ม.ค. 57 | 182 วัน | 182 วัน | | 28/28/56 | - | 28,000 | 16 ก.ค. 56 | 18 ก.ค. 56 | 15 ส.ค. 56 | 28 วัน | 28 วัน | | 28/91/56 | - | 25,000 | 16 ก.ค. 56 | 18 ก.ค. 56 | 17 ต.ค. 56 | 91 วัน | 91 วัน | | 28/182/56 | - | 25,000 | 16 ก.ค. 56 | 18 ก.ค. 56 | 16 ม.ค. 57 | 182 วัน | 182 วัน | | 2/3ปี/2556 | จะกําหนดและประกาศในวันที่ 16 ก.ค. 56 | 30,000 | 18 ก.ค. 56 | 23 ก.ค. 56 | 23 ก.ค. 59 | 3 ปี | 3 ปี | | 29/28/56 | - | 28,000 | 23 ก.ค. 56 | 25 ก.ค. 56 | 22 ส.ค. 56 | 28 วัน | 28 วัน | | 29/91/56 | - | 25,000 | 23 ก.ค. 56 | 25 ก.ค. 56 | 24 ต.ค. 56 | 91 วัน | 91 วัน | | 29/182/56 | - | 25,000 | 23 ก.ค. 56 | 25 ก.ค. 56 | 23 ม.ค. 57 | 182 วัน | 182 วัน | | 30/28/56 | - | 28,000 | 30 ก.ค. 56 | 1 ส.ค. 56 | 29 ส.ค. 56 | 28 วัน | 28 วัน | | 30/91/56 | - | 25,000 | 30 ก.ค. 56 | 1 ส.ค. 56 | 31 ต.ค. 56 | 91 วัน | 91 วัน | | 30/182/56 | - | 25,000 | 30 ก.ค. 56 | 1 ส.ค. 56 | 30 ม.ค. 57 | 182 วัน | 182 วัน | | 3/364/56 | - | 40,000 | 30 ก.ค. 56 | 1 ส.ค. 56 | 3 ก.ค. 57 | 364 วัน | 336 วัน | พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 2/3ปี/2556 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธนาคารแห่งประเทศไทยจะกําหนดและประกาศในวันอังคารที่ 16 กรกฎาคม 2556 | | การชําระดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่า ๆ กัน | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 23 กรกฎาคม และ 23 มกราคม ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 23 มกราคม 2557 | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 23 กรกฎาคม 2559 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 21 มิถุนายน 2556 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 (นางจันทวรรณ สุจริตกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,059
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 64/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจำเดือนกันยายน พ.ศ. 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 64 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 ----------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่อายุ 3 ปี ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 (รุ่นที่ 3/3 ปี/2554) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันศุกร์ที่ 2 กันยายน 2554 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 3/3 ปี/2554 ที่จะประมูลในวันที่ 6 กันยายน 2554 เท่ากับร้อยละ 3.40 ต่อปี อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,060
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 65/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนกันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 65 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 ------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศเทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.71/14/54 | 75,000 | 8 กันยายน 2554 | 12/9/54 – 26/9/54 | 14 | | พ.72/14/54 | 70,000 | 9 กันยายน 2554 | 13/9/54 – 27/9/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 7 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,061
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 48/2556 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนมิถุนายน 2556
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 48/2556 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2556 ------------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2556 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.26/14/56 | 30,000 | 27 มิถุนายน 2556 | 2/7/56 – 16/7/56 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน 2556 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2556 (นางจันทวรรณ สุจริตกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,062
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 32/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 32/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ------------------------------ อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ดังนี้ | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | | 18/28/53 | 18,000 | 30 เม.ย. 53 | 6 พ.ค. 53 | 3 มิ.ย. 53 | 28 วัน | | 18/91/53 | 15,000 | 30 เม.ย 53 | 6 พ.ค. 53 | 5 ส.ค. 53 | 91 วัน | | 18/182/53 | 12,000 | 30 เม.ย. 53 | 6 พ.ค. 53 | 4 พ.ย. 53 | 182 วัน | | 5/365/53 | 40,000 | 30 เม.ย 53 | 6 พ.ค. 53 | 6 พ.ค 54 | 365 วัน | | 19/28/53 | 18,000 | 11 พ.ค 53 | 13 พ.ค 53 | 10 มิ.ย. 53 | 28 วัน | | 19/95/53 | 15,000 | 11 พ.ค 53 | 13 พ.ค 53 | 16 ส.ค. 53 | 95 วัน | | 19/182/53 | 12,000 | 11 พ.ค 53 | 13 พ.ค 53 | 11 พ.ย. 53 | 182 วัน | | 20/28/53 | 18,000 | 18 พ.ค. 53 | 20 พ.ค 53 | 17 มิ.ย. 53 | 28 วัน | | 20/91/53 | 15,000 | 18 พ.ค 53 | 20 พ.ค 53 | 19 ส.ค. 53 | 91 วัน | | 20/182/53 | 12,000 | 18 พ.ค 53 | 20 พ.ค 53 | 18 พ.ย. 53 | 182 วัน | | 2/3ปี/2553 | 30,000 | 18 พ.ค 53 | 25 พ.ค 53 | 20 พ.ค. 56 | 3 ปี | | 21/28/53 | 18,000 | 25 พ.ค 53 | 27 พ.ค 53 | 24 มิ.ย. 53 | 28 วัน | | 21/91/53 | 15,000 | 25 พ.ค 53 | 25 พ.ค 53 | 26 ส.ค. 53 | 91 วัน | | 21/182/53 | 12,000 | 25 พ.ค 53 | 25 พ.ค 53 | 27 พ.ย. 53 | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่2/3 ปี/2553 มีรายละเอียดดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 14 พ.ค. 2553 | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่าๆ กัน | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 20 พ.ค. และ 20 พ.ย. ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 20 พ.ย. 2553 | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 20 พ.ค. 2556 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 เมษายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 เมษายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,063
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 66/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนกันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 66 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 -------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.73/14/54 | 65,000 | 15 กันยายน 2554 | 19/9/54 – 3/10/54 | 14 | | พ.74/14/54 | 55,000 | 16 กันยายน 2554 | 20/9/54 – 4/10/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 14. กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,064
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 67/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553สำหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 67 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2554 ----------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัวอายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคา อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/ FRB 3 ปี/2553 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2554 เท่ากับร้อยละ 3.48125 ต่อปี (เท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงระยะสั้นการกู้ยืมเงินระหว่างธนาคารของตลาดกรุงเทพฯ (BBOR) ระยะ 6 เดือน ณ วันที่ 14 กันยายน 2554 ลบร้อยละ 0.2) อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,065
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 49/2556 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนกรกฎาคม 2556
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 49 /2556 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2556 ------------------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2556 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.27/14/56 | 30,000 | 5 กรกฎาคม 2556 | 9/7/56 – 23/7/56 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม 2556 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2556 (นางจันทวรรณ สุจริตกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,066
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 34/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 34/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.36/14/53 | 75,000 | 13 พฤษภาคม 2553 | 17/5/53 - 31/5/53 | 14 | | พ.37/14/53 | 35,000 | 14 พฤษภาคม 2553 | 18/5/53 - 1/6/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤษภาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,067
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 57/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 57/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกรกฎาคมคม พ.ศ. 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจําเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2553 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 26/27/53 | - | 20,000 | 29 มิ.ย 53 | 2 ก.ค. 53 | 29 ก.ค. 53 | 27 วัน | 27 วัน | | 26/90/53 | - | 15,000 | 29 มิ.ย 53 | 2 ก.ค. 53 | 30 ก.ย. 53 | 90 วัน | 90 วัน | | 26/181/53 | - | 15,000 | 29 มิ.ย 53 | 2 ก.ค. 53 | 30 ธ.ค. 53 | 181 วัน | 181 วัน | | 27/28/53 | - | 20,000 | 6 ก.ค. 53 | 8 ก.ค. 53 | 5 ส.ค. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 27/91/53 | - | 15,000 | 6 ก.ค. 53 | 8 ก.ค. 53 | 7 ต.ค. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 27/182/53 | - | 15,000 | 6 ก.ค. 53 | 8 ก.ค. 53 | 6 ม.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 7/364/53 | - | 20,000 | 6 ก.ค. 53 | 8 ก.ค. 53 | 7 ก.ค. 54 | 364 วัน | 364 วัน | | 28/32/53 | - | 20,000 | 13 ก.ค. 53 | 15 ก.ค. 53 | 16 ส.ค. 53 | 32 วัน | 32 วัน | | 28//91/53 | - | 15,000 | 13 ก.ค. 53 | 15 ก.ค. 53 | 14 ต.ค. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 28/182/53 | - | 15,000 | 13 ก.ค. 53 | 15 ก.ค. 53 | 13 ม.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 29/28/53 | - | 20,000 | 20 ก.ค. 53 | 22 ก.ค. 53 | 19 ส.ค. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 29/91/53 | - | 15,000 | 20 ก.ค. 53 | 22 ก.ค. 53 | 21 ต.ค. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 29/182/53 | - | 15,000 | 20 ก.ค. 53 | 22 ก.ค. 53 | 20 ม.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 2/3ปี/2553 | 2.60 | 30,000 | 20 ก.ค. 53 | 22 ก.ค. 53 | 20 พ.ค. 53 | 3 ปี | 2.83 ปี | | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 30/28/53 | - | 20,000 | 27 ก.ค. 53 | 29 ก.ค. 53 | 26 ส.ค. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 30/91/53 | - | 15,000 | 27 ก.ค. 53 | 29 ก.ค. 53 | 28 ต.ค. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 30/182/53 | - | 15,000 | 27 ก.ค. 53 | 29 ก.ค. 53 | 27 ม.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,068
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 68/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2552สำหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 17 กันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 68 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2552 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 17 กันยายน 2554 ------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัวอายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2552 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 17 กันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2552 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 17 กันยายน 2554 เท่ากับร้อยละ 3.47875 ต่อปี (เท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงระยะสั้นการกู้ยืมเงินระหว่างธนาคารของตลาดกรุงเทพฯ (BIBOR) ระยะ 6 เดือน ณ วันที่ 15 กันยายน 2554 ลบร้อยละ 0.2) อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2554 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 15 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,069
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 69/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนกันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 69 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 ------------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.75/14/54 | 75,000 | 22 กันยายน 2554 | 26/9/54 – 10/10/54 | 14 | | พ.76/14/54 | 70,000 | 23 กันยายน 2554 | 27/9/54 – 11/10/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 20 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ว่าการแทน ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน
7,070
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 50/2556 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนกรกฎาคม 2556
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 50 /2556 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2556 ------------------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2556 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.28/14/56 | 30,000 | 12 กรกฎาคม 2556 | 16/7/56 – 30/7/56 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 11 กรกฎาคม 2556 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2556 (นางจันทวรรณ สุจริตกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,071
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 70/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554สำหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 กันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 70 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 กันยายน 2554 -------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัวอายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 กันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 กันยายน 2554 เท่ากับร้อยละ 3.40000 ต่อปี (เท่ากับอัต อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 20 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,072
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กำหนดตำแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561 (ฉบับ Update ล่าสุด)
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561 ----------------------------------- โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 234 (3) บัญญัติให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีหน้าที่และอํานาจกําหนดให้ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และเจ้าหน้าที่ของรัฐยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รวมทั้งตรวจสอบและเปิดเผยผลการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของบุคคลดังกล่าว ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 28 (3) ประกอบมาตรา 102 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า "ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561" ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน (2) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (3) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 (4) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2552 (5) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552 (6) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งกรรมการและผู้บริหารหน่วยงานอื่นของรัฐ ให้เป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง (7) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งกรรมการและผู้บริหารหน่วยงานอื่นของรัฐ ให้เป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ข้อ ๔ ให้ผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (1) ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง 1.1 นายกรัฐมนตรี 1.2 รัฐมนตรี 1.3 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 1.4 สมาชิกวุฒิสภา 1.5 ข้าราชการการเมืองอื่น ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง 1.5.1 ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี 1.5.2 ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี 1.5.3 ที่ปรึกษารัฐมนตรี 1.5.4 ที่ปรึกษารัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี 1.5.5 เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 1.5.6 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง 1.5.7 โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี 1.5.8 รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี 1.5.9 เลขานุการรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี 1.5.10 ประจําสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 1.5.11 เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง 1.5.12 ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง 1.6 ข้าราชการรัฐสภาฝ้ายการเมือง ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา 1.6.1 ที่ปรึกษาประธานรัฐสภา 1.6.2 ที่ปรึกษารองประธานรัฐสภา 1.6.3 ที่ปรึกษาประธานสภาผู้แทนราษฎร 1.6.4 ที่ปรึกษาประธานวุฒิสภา 1.6.5 ที่ปรึกษารองประธานสภาผู้แทนราษฎร 1.6.6 ที่ปรึกษารองประธานวุฒิสภา 1.6.7 ที่ปรึกษาผู้นําฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร 1.6.8 โฆษกประธานสภาผู้แทนราษฎร 1.6.9 โฆษกประธานวุฒิสภา 1.6.10 โฆษกผู้นําฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร 1.6.11 เลขานุการประธานรัฐสภา 1.6.12 เลขานุการรองประธานรัฐสภา 1.6.13 เลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร 1.6.14 เลขานุการประธานวุฒิสภา 1.6.15 เลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร 1.6.16 เลขานุการรองประธานวุฒิสภา 1.6.17 เลขานุการผู้นําฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร 1.6.18 ผู้ช่วยเลขานุการประธานรัฐสภา 1.6.19 ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานรัฐสภา 1.6.20 ผู้ช่วยเลขานุการประธานสภาผู้แทนราษฎร 1.6.21 ผู้ช่วยเลขานุการประธานวุฒิสภา 1.6.22 ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานสภาผู้แทนราษฎร 1.6.23 ผู้ช่วยเลขานุการรองประธานวุฒิสภา 1.6.24 ผู้ช่วยเลขานุการผู้นําฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (2) ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (3) ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ 3.1 คณะกรรมการการเลือกตั้ง 3.2 ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3.3 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 3.4 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 3.5 ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (4) ข้าราชการตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่อธิบดีผู้พิพากษาขึ้นไป รวมทั้งผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่าอธิบดีผู้พิพากษาขึ้นไปตามประกาศคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม เรื่อง การกําหนดตําแหน่งและเทียบตําแหน่งข้าราชการตุลาการที่เรียกชื่ออย่างอื่น (5) ข้าราชการตุลาการศาลปกครองตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่อธิบดีศาลปกครองชั้นต้นขึ้นไป รวมทั้งผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่าอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นขึ้นไป ตามประกาศคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองเรื่อง การกําหนดตําแหน่งและเทียบตําแหน่งตุลาการศาลปกครองที่เรียกชื่ออย่างอื่น (6) ข้าราชการอัยการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการซึ่งดํารงตําแหน่งตั้งแต่อธิบดีอัยการขึ้นไป (7) ผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง 7.1 สําหรับข้าราชการพลเรือน การกฤษฎีกา 7.1.1 หัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม 7.1.2 หัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล 7.2 สําหรับข้าราชการทหาร 7.2.1 ปลัดกระทรวงกลาโหม 7.2.2 ผู้บัญชาการทหารสูงสุด 7.2.3 ผู้บัญชาการเหล่าทัพ 7.3 ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 7.4 ผู้ว่าราชการจังหวัด 7.5 ปลัดกรุงเทพมหานคร 7.6 กรรมการและผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ 7.7 หัวหน้าหน่วยงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 7.7.1 เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้ง 7.7.2 เลขาธิการสํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน 7.7.3 เลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 7.7.4 เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 7.8 กรรมการและผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานอื่นของรัฐ 7.8.1 กองทุน 7.8.1.1 กองทุนการออมแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการกองทุนการออมแห่งชาติ ข. เลขาธิการคณะกรรมการกองทุนการออมแห่งชาติ 7.8.1.2 กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ก. ประธานกรรมการและกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ข. ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา 7.8.1.3 กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ก. ประธานกรรมการและกรรมการกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ข. เลขาธิการคณะกรรมการกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ 7.8.1.4 กองทุนประกันชีวิต ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการบริหารกองทุนประกันชีวิต ข. ผู้จัดการกองทุนประกันชีวิต 7.8.1.5 กองทุนประกันวินาศภัย ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการบริหารกองทุนประกันวินาศภัย ข. ผู้จัดการกองทุนประกันวินาศภัย 7.8.1.6 กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ข. ผู้จัดการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ 7.8.1.7 กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการบริหารกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ข. เลขาธิการสํานักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร 7.8.1.8 กองทุนยุติธรรม ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการกองทุนยุติธรรม 7.8.1.9 กองทุนสงเคราะห์ ก. ประธานกรรมการและกรรมการกองทุนสงเคราะห์ ข. ผู้อํานวยการกองทุนสงเคราะห์ 7.8.1.10 กองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการบริหารกองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย ข. ผู้อํานวยการสํานักงานกองทุนอ้อยและน้ําตาลทราย 7.8.2 ธนาคารแห่งประเทศไทย 7.8.2.1 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย 7.8.2.2 ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 7.8.3 สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 7.8.3.1 ประธานกรรมการและกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 7.8.3.2 เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 7.8.4 สํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 7.8.4.1 ประธานกรรมการและกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 7.8.4.2 เลขาธิการคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 7.8.5 สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 7.8.5.1 ประธานกรรมการและกรรมกรสถาบันคุ้มครองเงินฝาก 7.8.5.2 ผู้อํานวยการสถาบันคุ้มครองเงินฝาก 7.8.6 สถาบันพระปกเกล้า 7.8.6.1 ประธานสภาสถาบัน รองประธานสภาสถาบัน และกรรมการสภาสถาบันพระปกเกล้า 7.8.6.2 เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า 7.8.7 สถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ 7.8.7.1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.2 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.3 มหามกุฎราชวิทยาลัย ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี สํานักงานคณะกรรมการ 7.8.7.4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.5 มหาวิทยาลัยขอนแก่น สํานักงานคณะกรรมการ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.6 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.7 มหาวิทยาลัยทักษิณ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.8 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.9 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.10 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.11 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ก.นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.12 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.13 มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ก.นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.14 มหาวิทยาลัยบูรพา ก.นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.15 มหาวิทยาลัยพะเยา ก.นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.16 มหาวิทยาลัยมหิดล ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.17 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมกรสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.18 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.19 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ก.นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.20 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.21 มหาวิทยาลัยศิลปากร ก.นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.22 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.23 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ก. นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ข. อธิการบดี 7.8.7.24 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ก.นายกสภาราชวิทยาลัยและกรรมการสภาราชวิทยาลัย ข. เลขาธิการราชวิทยาลัย 7.8.7.25 สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย ก. นายกสภาสถาบันและกรรมการสภาสถาบัน ข. อธิการบดี 7.8.7.26 สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา ก. นายกสภาสถาบันและกรรมกรสภาสถาบัน ข. อธิการบดี 7.8.8 องค์การมหาชน 7.8.8.1 กองทุนสนับสนุนการวิจัย ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการนโยบายกองทุนสนับสนุนการวิจัย ข. ผู้อํานวยการสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 7.8.8.2 กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ข. ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 7.8.8.3 กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ 7.8.8.4 คุรุสภา ก. ประธานกรรมการและกรรมการคุรุสภา ข. เลขาธิการคุรุสภา 7.8.8.5 สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน ข. เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 7.8.8.6 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการมาตรวิทยาแห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ 7.8.8.7 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ข. ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 7.8.8.8 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก. ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข. ผู้อํานวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7.8.8.9 สถาบันอนุญาโตตุลาการ ก. ประธานกรรมการและกรรมกรสถาบันอนุญาโตตุลาการ ข. ผู้อํานวยการสถาบันอนุญาโตตุลาการ 7.8.8.10 สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการบริหารสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ข. เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ 7.8.8.11 สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการ และกรรมการบริหารสํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ข. เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 7.8.8.12 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ก. ประธานกรรมการและกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ข. เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา 7.8.8.13 สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 7.8.8.14 สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ก. ประธานกรรมการ และกรรมการบริหารสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ข. ผู้อํานวยการสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 7.8.8.15 สํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ก. ประธานกรรมการและกรรมการกํากับสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ข. ผู้อํานวยการสํานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล 7.8.8.16 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข. เลขาธิการสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 7.8.8.17 โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ข. ผู้อํานวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ 7.8.8.18 โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารโรงพยาบาลบ้านแพ้ว ข. ผู้อํานวยการโรงพยาบาลบ้านแพ้ว 7.8.8.19 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ข. ผู้อํานวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ 7.8.8.20 ศูนย์คุณธรรม ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารศูนย์คุณธรรม ข. ผู้อํานวยการศูนย์คุณธรรม 7.8.8.21 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ข. ผู้อํานวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร 7.8.8.22 ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ ก. ประธานกรรมการและกรรมการศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ ข. ผู้อํานวยการศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ 7.8.8.23 สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ข. ผู้อํานวยการสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ 7.8.8.24 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 7.8.8.25 สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ 7.8.8.26 สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ข. ผู้อํานวยการสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ 7.8.8.27 สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ก. ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน ข. ผู้อํานวยการสถาบันบริหารกองทุนพลังงาน 7.8.8.28 สถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน ก. ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน ข. ผู้อํานวยการสถาบันบริหารจัดการธนาคารที่ดิน 7.8.8.29 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ก. ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ข. ผู้อํานวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน 7.8.8.30 สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย ข. ผู้อํานวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย 7.8.8.31 สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา ก. ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา ข. ผู้อํานวยการบริหารสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา 7.8.8.32 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ข. ผู้อํานวยการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล 7.8.8.33 สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ 3.8.8.34 สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ก. ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ข. ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง 7.8.8.35 สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ 7.8.8.36 สถาบันวิจัยแสงชินโครตรอน ก. ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ข. ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน 7.8.8.37 สถาบันวัคซีนแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันวัคซีนแห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ 7.8.8.38 สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน ข. ผู้อํานวยการสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน 7.8.8.39 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร ข. ผู้อํานวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร 7.8.8.40 สํานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ข. ผู้อํานวยการสํานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน 7.8.8.41 สํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ 7.8.8.42 สํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ 7.8.8.43 สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร 7.8.8.44 สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ 7.8.8.45 สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 7.8.8.46 สํานักงานพัฒนาพิงคนคร ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารการพัฒนาพิงคนคร ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาพิงคนคร 7.8.8.47 สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ก. ประธานกรรมการและกรรมการสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล 7.8.8.48 สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ 7.8.8.49 สํานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ก. ประธานกรรมการและกรรมการสํานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ข. ผู้อํานวยการสํานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 7.8.8.50 สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ข. ผู้อํานวยการสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา 7.8.8.51 สํานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ก. ประธานกรรมการและกรรมการส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ 7.8.8.52 สํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ ข. ผู้อํานวยการสํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ 7.8.8.53 หอภาพยนตร์ ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ ข. ผู้อํานวยการหอภาพยนตร์ 7.8.8.54 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ก. ประธานกรรมการและกรรมการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ข. ผู้อํานวยการองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 7.8.8.55 องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ก. ประธานกรรมการและกรรมการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ข. ผู้อํานวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก 7.9 ตําแหน่งอื่นตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง 7.9.1 ประธานกรรมการ กรรมการ และเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 7.9.2 ประธานกรรมการนโยบาย กรรมการนโยบายกรรมการบริหาร ผู้อํานวยการและรองผู้อํานวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย 7.9.3 ประธานกรรมการ กรรมการ และเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน 7.9.4 ผู้ดํารงตําแหน่งอธิบดีหรือตําแหน่งที่มีชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นอธิบดีซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการที่ไม่มีฐานะเป็นกรม ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 7.10 ผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่าตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด 7.10.1 เลขาธิการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ 7.10.2 เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม 7.10.3 เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง 7.10.4 เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 7.10.5 เลขาธิการวุฒิสภา 7.10.6 นายกสภาและกรรมการสภาในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ 7.10.6.1 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 7.10.6.2 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยนครพนม 7.10.6.3 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยนเรศวร 7.10.6.4 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 7.10.6.5 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7.10.6.6 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยรามคําแหง 7 .10.6.7 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 7.10.6.8 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 7.10.6.9 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยราชภัฏ 7.10.6.10 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตามกฎหมายว่าด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 7.10.6.11 นายกสภาและกรรมการสภาสถาบันการพลศึกษา 7.10.6.12 นายกสภาและกรรมการสภาสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน 7.10.6.13 นายกสภาและกรรมการสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ 7.10.6.14 นายกสภาและกรรมการสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ 7.10.7 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร 7.10.8 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ 7.10.9 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการสุขภาพแห่งชาติ 7.10.10 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 7.10.11 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (8) ตําแหน่งอื่นตามที่กฎหมายอื่นกําหนดให้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน 8..1 ประธานกรรมการและกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ข้อ ๕ หน่วยงานอื่นของรัฐนอกจากที่กําหนดไว้ในข้อ 4 (7) 7.8 ให้ผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ เป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูงและมีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตนคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (1) ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ หรือตําแหน่งที่มีชื่อเรียกอย่างอื่นในคณะกรรมการหรือคณะบุคคลที่มีอํานาจสูงสุดในการควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการ และการดําเนินการของหน่วยงานอื่นของรัฐ (2) เลขาธิการ ผู้อํานวยการ หรือตําแหน่งที่มีชื่อเรียกอย่างอื่น ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเจ้าหน้าที่และลูกจ้างของหน่วยงานอื่นของรัฐทุกตําแหน่ง หรือเป็นผู้แทนของหน่วยงานของรัฐดังกล่าวในกิจการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก ข้อ ๖ การยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นไว้แล้วตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้ถือว่าเป็นการยื่นตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2563 ข้อ ๗ ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้หรือการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาด คําวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้เป็นที่สุด ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2561 พลตํารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7,073
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กำหนดตำแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 -------------------------------- โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 112 พ.ศ. 2561 ทั้งนี้ เพื่อให้การประกาศกําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดังกล่าวสอดคล้องกับการบริหารงานภายในหน่วยงานของรัฐบางแห่ง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 28 (3) ประกอบมาตรา 102 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม 2561 เป็นต้นไป เว้นแต่ผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 เป็นต้นไป (1) กรรมการของหน่วยงานอื่นของรัฐ ตามข้อ 4 (7) 7.8 ดังต่อไปนี้ 1.1 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการ ในกองทุนตามข้อ 4 (7) 7.8.1 1.2 ประธานกรรมการและกรรมการสถาบันคุ้มครองเงินฝาก ตามข้อ 4 (7) 7.8.5.1 1.3 ประธานสภาสถาบัน รองประธานสภาสถาบัน และกรรมการสภาสถาบันพระปกเกล้า ตามข้อ 4 (7) 7.8..6.1 1.4 นายกสภาและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ราชวิทยาลัย และสถาบันในสถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ ตามข้อ 4 (7) 7.8.7 1.5 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการ ในองค์การมหาชนตามข้อ 4 (7) 7.8.8 (2) ผู้ซึ่งกําหนดตําแหน่งเทียบเท่าตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ตามข้อ 4 (7) 7.10 ดังต่อไปนี้ 2.1 นายกสภาและกรรมการสภาในสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐ ตามข้อ 4 (7) 7.10.6 2.2 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร ตามข้อ 4 (7) 7.10.7 2.3 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ตามข้อ 4 (7) 7.10.8 2.4 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการสุขภาพแห่งชาติตามข้อ 4 (7) 7.10.9 2.5 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตามข้อ 4 (7) 7.10.10 2.6 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตามข้อ 4 (7) 7.10.11 (3) กรรมการและผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานอื่นของรัฐ ตามข้อ 5" ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 พลตํารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7,074
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กำหนดตำแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน ตามมาตรา 102 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561 ---------------------------------- โดยที่คําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 21/2561 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ข้อ 1 แก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 4 ในส่วนนิยามคําว่า "ผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง" หมายความว่า ผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลซึ่งมิใช่ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สําหรับข้าราชการพลเรือน และปลัดกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการเหล่าทัพ สําหรับข้าราชการทหาร และผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ และให้หมายความรวมถึงผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการและผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หัวหน้าหน่วยงานขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ แต่ไม่รวมถึงผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ดํารงตําแหน่งอื่นตามที่กฎหมายกําหนด ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานอื่นของรัฐตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด หรือผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่าตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด จึงมีความจําเป็นต้องแก้ไขประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามกรทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561 ให้เป็นไปตามบทบัญญัติมาตราดังกล่าว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 28 (3) ประกอบมาตรา 102 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน 7.8 ของข้อ 4 (7) แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "7.8 ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานอื่นของรัฐ 7.8.1 ธนาคารแห่งประเทศไทย 7.8.1.1 ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 7.8.2 สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 7.8.2.1 เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 7.8.3 สํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 7.8.3.1 เลขาธิการคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 7.8.4 สถาบันอุดมศึกษาในกํากับของรัฐ 7.8.4.1 อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 7.8.4.2 อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 7.8.4.3 อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 7.8.4.4 อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์" ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้ ใน 7.9 ตําแหน่งอื่นตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง ของข้อ 4 (7) แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ.2561 "7.9.5 เลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 7.9.6 อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7.9.7 อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7.9.8 อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น 7.9.9 อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7.9.10 อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ 7.9.11 อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 7.9.12 อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 7.9.13 อธิการบดีมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 7.9.14 อธิการบดีมหาวิทยาลัยบูรพา 7.9.15 อธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา 7.9.16 อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล 7.9.17 อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 7.9.18 อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 7.9.19 อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร 7.9.20 อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 7.9.21 อธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 7.9.22 อธิการบดีสถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย 7.9.23 อธิการบดีสถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา 7.9.24 อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา 7.9.25 อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง" ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความใน 7.10.6 7.10.7 7.10.8 7.10.9 7.10.10 และ 7.10.11 ของข้อ 4 (7) แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561 ข้อ ๖ การยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดํารงตําแหน่งตามข้อ 3 และข้อ 4 ที่ได้ยื่นต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไว้แล้วตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 106 พ.ศ.2561 ให้ถือว่าเป็นการยื่นตามประกาศนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2561 พลตํารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7,075
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 46/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจำเดือนพฤษภาคม ปี 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 46/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจําเดือนพฤษภาคม ปี 2553 -------------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่อายุ 3 ปี ประเดือนพฤษภาคม ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจําเดือนพฤษภาคม ปี 2553 (รุ่นที่2/3 ปี/2553) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันที่ 14 พฤษภาคม 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 2/3 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 18 พฤษภาคม 2553 เท่ากับร้อยละ 2.60 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 14 พฤษภาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 14 พฤษภาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายการตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,076
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 71/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยในการคำนวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 71 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ---------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ที่จะประมูลในวันที่ 23 กันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ตามกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือน กันยายน พ.ศ. 2554 ที่จะเปิดประมูลพันธบัตรประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ในวันที่ 23 กันยายน 2554 โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศอัตราดอกเบี้ยเพื่อใช้ในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวในวันที่ 21 กันยายน 2554 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวเพื่อใช้สําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) เท่ากับร้อยละ 3.59203 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) เท่ากับร้อยละ 3.40000 อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่มี 21 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,077
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 58/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 2/FRB 3 ปี/2551สำหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 2 กรกฎาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 58/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 2/FRB 3 ปี/2551 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 2 กรกฎาคม 2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 2/FRB 3 ปี/2551 สําหรับงวดเริ่มต้นที่ 2 กรกฎาคม ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 2/FRB 3 ปี/2551 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 2 กรกฎาคม 2553 เท่ากับร้อยละ 1.35531 ต่อปี (เท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงระยะสั้นการกู้ยืมเงินระหว่างธนาคารของตลาดกรุงเทพฯ (BIBOR) ระยะ 6 เดือน ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2553 ลบร้อยละ 0.2) อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,078
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 47/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 47/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน พฤษภาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.38/14/53 | 70,000 | 20 พฤษภาคม 2553 | 24/5/53 - 7/6/53 | 14 | | พ.39/14/53 | 30,000 | 21 พฤษภาคม 2553 | 25/5/53 - 8/6/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,079
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 72/2554 เรื่อง อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 72 /2554 เรื่อง อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 -------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ที่ประมูลในวันที่ 23 กันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. แก้ไข ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สกง. 71/2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ลงวันที่ 21 กันยายน 2554 อื่นๆ - 4. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยขอแก้ไขอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สกง. 71/2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ลงวันที่ 21 กันยายน 2554 เป็นร้อยละ 3.60000 ต่อปี อื่นๆ - 5. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 23 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,080
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กำหนดตำแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 พ.ศ. 2561
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 พ.ศ. 2561 -------------------------------- โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 234 (3) บัญญัติให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีหน้าที่และอํานาจกําหนดให้ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน และเจ้าหน้าที่ของรัฐยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รวมทั้งตรวจสอบและเปิดเผยผลการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของบุคคลดังกล่าว ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 28 (3) ประกอบมาตรา 103 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า "ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 พ.ศ. 2561" ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 4o ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (2) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 40 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 (3) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 40 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 (4) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 62542 มาตรา 40 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 (5) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 40 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2560 ข้อ ๔ ให้เจ้าพนักงานของรัฐซึ่งดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของตนคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (1) ศาลยุติธรรม 1.1 รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลชั้นต้น 1.2 ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล (แต่ไม่หมายความรวมถึงผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดที่ดํารงตําแหน่งหรือปฏิบัติราชการประจําสํานักงานศาลยุติธรรม) (2) สํานักงานอัยการสูงสุด 2.1 อัยการจังหวัด ได้แก่ พนักงานอัยการ ซึ่งปฏิบัติราชการในตําแหน่งอัยการจังหวัด ณ สํานักงานอัยการจังหวัด สํานักงานอัยการคดีศาลแขวง สํานักงานอัยการคดีเยาวชนและครอบครัวจังหวัด และสํานักงานอัยการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายและการบังคับคดีจังหวัด (3) สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 3.1 รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน 3.2 ผู้อํานวยการสํานักวินัยการเงินการคลัง 3.3 ผู้อํานวยการสํานักกฎหมาย 3.4 ผู้อํานวยการสํานักคดี 3.5 ผู้อํานวยการสํานักตรวจสอบระบบสารสนเทศ 3.6 ผู้อํานวยการสํานักตรวจสอบพิเศษ 3.7 ผู้อํานวยการสํานักตรวจสอบการดําเนินงาน 3.8 ผู้อํานวยการสํานักตรวจสอบการเงินและบริหารพัสดุ 3.9 ผู้อํานวยการสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค 3.10 ผู้อํานวยการสํานักตรวจเงินแผ่นดินจังหวัด (4) สํานักนายกรัฐมนตรี 4.1 สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี 4.1.1 รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี 4.2 กรมประชาสัมพันธ์ 4.2.1 รองอธิบดี 4.3 สํานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค 4.3.1 รองเลขาธิการ 4.4 สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 4.4.1 กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พ.ศ. 2546 4.4.2 ประธานผู้แทนการค้าไทย และผู้แทนการค้าไทย ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยผู้แทนการค้าไทย พ.ศ. 2552 4.4.3 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร 4.5 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 4.5.1 รองเลขาธิการ 4.6 สํานักข่าวกรองแห่งชาติ 4.6.1 รองผู้อํานวยการ 4.7 สํานักงบประมาณ 4.7.1 รองผู้อํานวยการ 4.8 สํานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ 4.8.1 รองเลขาธิการ 4.9 สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 4.9.1 รองเลขาธิการ 4.10 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน 4.10.1 รองเลขาธิการ 4.11 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 4.11.1 รองเลขาธิการ 4.12 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 4.12.1 รองเลขาธิการ 4.13 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 4.13.1 รองเลขาธิการ 4.14 สํานักงานทรัพยากรน้ําแห่งชาติ 4.14.1 รองเลขาธิการ (5) กระทรวงกลาโหม 5.1 สํานักงานรัฐมนตรี 5.1.1 หัวหน้าสํานักงานรัฐมนตรี 5.1.2 จเรทหารทั่วไป 5.2 สํานักงานปลัดกระทรวง 5.2.1 รองปลัดกระทรวง 5.2.2 หัวหน้าสํานักปลัดกระทรวง 5.2.3 หัวหน้าสํานักตุลาการทหาร 5.2.4 หัวหน้าอัยการทหาร 5.2.5 เลขานุการสํานักงานปลัดกระทรวง 5.2.6 ตุลาการพระธรรมนูญ 5.2.7 หัวหน้าสํานักงาน 5.2.8 ผู้อํานวยการ 5.2.9 เจ้ากรม 5.2.10 รองผู้อํานวยการ 5.2.11 รองเจ้ากรม 5.3 กองบัญชาการกองทัพไทย 5.3.1 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด 5.3.2 เสนาธิการทหาร 5.3.3 รองเสนาธิการทหาร 5.3.4 เลขานุการกองบัญชาการกองทัพไทย 5.3.5 ผู้บัญชาการ 5.3.6 ผู้อํานวยการ 5.3.7 เจ้ากรม 5.3.8 จเรทหาร 5.3.9 ปลัดบัญชีทหาร 5.3.10 รองผู้บัญชาการ 5.3.11 รองผู้อํานวยการ 5.3.12 รองเจ้ากรม 5.3.13 รองจเรทหาร 5.3.1 4 รองปลัดบัญชีทหาร 5.4 กองทัพบก 5.4.1 รองผู้บัญชาการทหารบก 5.4.2 ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก 5.4.3 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก 5.4.4 เสนาธิการทหารบก 5.4.5 รองเสนาธิการทหารบก 5.4.6 แม่ทัพภาค 5.4.7 รองแม่ทัพภาค 5.4.8 แม่ทัพน้อย 5.4.9 เลขานุการกองทัพบก 5.4.10 ผู้บัญชาการ 5.4.11 ผู้อํานวยการ 5.4.12 เจ้ากรม 5.4.13 ปลัดบัญชีทหารบก 5.4.14 รองผู้อํานวยการ 5.4.15 รองผู้บัญชาการ 5.4.16 รองเจ้ากรม 5.4.17 รองปลัดบัญชีทหารบก 5.4.18 กรรมการผู้อํานวยการใหญ่สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ประธานโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย) 5.4.19 รองผู้อํานวยการใหญ่สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก 5.5 กองทัพเรือ 5.5.1 รองผู้บัญชาการทหารเรือ 5.5.2 ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพเรือ 5.5.3 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ 5.5.4 เสนาธิการทหารเรือ 5.5.5 รองเสนาธิการทหารเรือ 5.5.6 เลขานุการกองทัพเรือ 5.5.7 ผู้บัญชาการทัพเรือภาค 5.5.8 รองผู้บัญชาการทัพเรือภาค 5.5.9 ผู้บัญชาการ 5.5.10 ผู้อํานวยการ 5.5.11 เจ้ากรม 5.5.12 ปลัดบัญชีทหารเรือ 5.5.14 รองผู้อํานวยการ 5.5.13 รองผู้บัญชาการ 5.5.15 รองเจ้ากรม 5.5.16 รองปลัดบัญชีทหารเรือ 5.5.17 ผู้อํานวยการการท่าอากาศยานอู่ตะเภา 5.5.18 ผู้อํานวยการการท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ 5.6 กองทัพอากาศ 5.6.1 รองผู้บัญชาการทหารอากาศ 5.6.2 ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพอากาศ 5.6.3 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารอากาศ 5.6.4 เสนาธิการทหารอากาศ 5.6.5 รองเสนาธิการทหารอากาศ 5.6.6 เลขานุการกองทัพอากาศ 5.6.7 ผู้บัญชาการ 5.6.8 ผู้อํานวยการ 5.6.9 เจ้ากรม 5.6.10 ปลัดบัญชีทหารอากาศ 5.6.11 รองผู้บัญชาการ 5.6.12 รองผู้อํานวยการ 5.6.13 รองเจ้ากรม 5.6.14 รองปลัดบัญชีทหารอากาศ ทั้งนี้ ผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม (5) ต้องเป็นข้าราชการทหารที่มียศระดับพลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี ขึ้นไป เว้นแต่ตําแหน่งตาม 5.4.18, 5.4.19, 5.5.17 และ 5.5.18 ไม่กําหนดชั้นยศ (6) กระทรวงการคลัง 6.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 6.1.1 รองปลัดกระทรวง 6.2 กรมธนารักษ์ 6.2.1 รองอธิบดี 6.3 กรมบัญชีกลาง 6.3.1 รองอธิบดี 6.4 กรมศุลกากร 6.4.1 รองอธิบดี 6.4.2 ผู้อํานวยการสํานักงานศุลกากร 6.4.3 ผู้อํานวยการสํานักงานศุลกากรภาค 6.4.4 นายด่านศุลกากร 6.5 กรมสรรพสามิต 6.5.1 รองอธิบดี 6.5.2 ผู้อํานวยการสํานักงานสรรพสามิตภาค 6.5.3 สรรพสามิตพื้นที่ 6.6 กรมสรรพากร 6.6.1 รองอธิบดี 6.6.2 สรรพากรภาค 6.6.3 สรรพากรพื้นที่ 6.7 สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ 6.7.1 รองผู้อํานวยการ 6.8 สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ 6.8.1 รองผู้อํานวยการ 6.9 สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 6.9.1 รองผู้อํานวยการ (7) กระทรวงการต่างประเทศ 7.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 7.1.1 รองปลัดกระทรวง 7.2 กรมการกงสุล 7.2.1 รองอธิบดี 7.3 กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ 7.3.1 รองอธิบดี 7.4 กรมพิธีการทูต 7.4.1 รองอธิบดี 7.5 กรมยุโรป 7.5.1 รองอธิบดี 7.6 กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 7.6.1 รองอธิบดี 7.7 กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย 7.7.1 รองอธิบดี 7.8 กรมสารนิเทศ 7.8.1 รองอธิบดี 7.9 กรมองค์การระหว่างประเทศ 7.9.1 รองอธิบดี 7.10 กรมอเมริกาและแปซิฟิกใต้ 7.10.1 รองอธิบดี 7.11 กรมอาเซียน 7.11.1 รองอธิบดี 7.12 กรมเอเชียตะวันออก 7.12.1 รองอธิบดี 7.13 กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา 7.13.1 รองอธิบดี (8) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 8.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 8.1.1 รองปลัดกระทรวง 8.2 กรมพลศึกษา 8.2.1 รองอธิบดี 8.3 กรมการท่องเที่ยว 8.3.1 รองอธิบดี (9) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 9.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 9.1.1 รองปลัดกระทรวง 9.2 กรมกิจการเด็กและเยาวชน 9.2.1 รองอธิบดี 9.3 กรมกิจการผู้สูงอายุ 9.3.1 รองอธิบดี 9.4 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 9.4.1 รองอธิบดี 9.5 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 9.5.1 รองอธิบดี 9.6 กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 9.6.1 รองอธิบดี (10) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 10.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 10.1.1 รองปลัดกระทรวง 10.2 กรมการข้าว 10.2.1 รองอธิบดี 10.3 กรมชลประทาน 10.3.1 รองอธิบดี 10.4 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 10.4.1 รองอธิบดี 10.5 กรมประมง 10.5.1 รองอธิบดี 10.6 กรมปศุสัตว์ 10.6.1 รองอธิบดี 10.7 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 10.7.1 รองอธิบดี 10.8 กรมพัฒนาที่ดิน 10.8.1 รองอธิบดี 10.9 กรมวิชาการเกษตร 10.9.1 รองอธิบดี 10.10 กรมส่งเสริมการเกษตร 10.10.1 รองอธิบดี 10.11 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 10.11.1 รองอธิบดี 10.12 กรมหม่อนไหม 10.12.1 รองอธิบดี 10.13 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 10.13.1 รองเลขาธิการ 10.14 สํานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 10.14.1 รองเลขาธิการ 10.15 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 10.15.1 รองเลขาธิการ (11) กระทรวงคมนาคม 11.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 11.1.1 รองปลัดกระทรวง 11.2 กรมเจ้าท่า 11.2.1 รองอธิบดี 11.3 กรมการขนส่งทางบก 11.3.1 รองอธิบดี 11.4 กรมท่าอากาศยาน 11.4.1 รองอธิบดี 11.5 กรมทางหลวง 11.5.1 รองอธิบดี 11.6 กรมทางหลวงชนบท 11.6.1 รองอธิบดี 11.7 สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร 11.7.1 รองผู้อํานวยการ (12) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 12.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 12.1.1 รองปลัดกระทรวง 12.2 กรมอุตุนิยมวิทยา 12.2.1 รองอธิบดี 12.3 สํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12.3.1 รองเลขาธิการ 12.4 สํานักงานสถิติแห่งชาติ 12.4.1 รองผู้อํานวยการ (13) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 13.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 13.1.1 รองปลัดกระทรวง 13.2 กรมควบคุมมลพิษ 13.2.1 รองอธิบดี 13.3 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 13.3.1 รองอธิบดี 13.4 กรมทรัพยากรธรณี 13.4.1 รองอธิบดี 13.5 กรมทรัพยากรน้ํา 13.5.1 รองอธิบดี 13.6 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 13.6.1 รองอธิบดี 13.7 กรมป่าไม้ 13.7.1 รองอธิบดี 13.8 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 13.8.1 รองอธิบดี 13.9 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 13.9.1 รองอธิบดี 13.10 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 13.10.1 รองเลขาธิการ (14) กระทรวงพลังงาน 14.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 14.1.1 รองปลัดกระทรวง 14.2 กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ 14.2.1 รองอธิบดี 14.3 กรมธุรกิจพลังงาน 14.3.1 รองอธิบดี 14.4 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 14.4.1 รองอธิบดี 14.5 สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน 14.5.1 รองผู้อํานวยการ (15) กระทรวงพาณิชย์ 15.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 15.1.1 รองปลัดกระทรวง 15.2 กรมการค้าต่างประเทศ 15.2.1 รองอธิบดี 15.3 กรมการค้าภายใน 15.3.1 รองอธิบดี 15.4 กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 15.4.1 รองอธิบดี 15.5 กรมทรัพย์สินทางปัญญา 15.5.1 รองอธิบดี 15.6 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า 15.6.1 รองอธิบดี 15.7 กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ 15.7.1 รองอธิบดี 15.8 สํานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า 15.8.1 รองผู้อํานวยการ (16) กระทรวงมหาดไทย 16.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 16.1.1 รองปลัดกระทรวง 16.2 กรมการปกครอง 16.2.1 รองอธิบดี 16.3 กรมการพัฒนาชุมชน 16.3.1 รองอธิบดี 16.4 กรมที่ดิน 16.5.1 รองอธิบดี 16.4.2 เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด 16.4.3 เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด สาขา 16.5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 16.5.1 รองอธิบดี 16.6 กรมโยธาธิการและผังเมือง 16.6.1 รองอธิบดี 16.6.2 โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด 16.7 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 16.7.1 รองอธิบดี 16.7.2 ท้องถิ่นจังหวัด (17) กระทรวงยุติธรรม 17.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 17.1.1 รองปลัดกระทรวง 17.2 กรมคุมประพฤติ 17.2.1 รองอธิบดี 17.3 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ 17.3.1 รองอธิบดี 17.4 กรมบังคับคดี 17.4.1 รองอธิบดี 17.5 กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน 17.5.1 รองอธิบดี 17.6 กรมราชทัณฑ์ 17.6.1 รองอธิบดี 17.6.2 ผู้อํานวยการทัณฑสถาน 17.6.3 ผู้บัญชาการเรือนจําพิเศษ 17.6.4 ผู้บัญชาการเรือนจํากลาง 17.6.5 ผู้บัญชาการเรือนจําจังหวัด 17.7 กรมสอบสวนคดีพิเศษ 17.7.1 รองอธิบดี 17.8 สํานักงานกิจการยุติธรรม 17.8.1 รองผู้อํานวยการ 17.9 สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ 17.9.1 รองผู้อํานวยการ 17.10 สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 17.10.1 รองเลขาธิการ (18) กระทรวงแรงงาน 18.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 18.1.1 รองปลัดกระทรวง 18.2 กรมการจัดหางาน 18.2.1 รองอธิบดี 18.3 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 18.3.1 รองอธิบดี 18.4 กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 18.4.1 รองอธิบดี 18.5 สํานักงานประกันสังคม 18.5.1 รองเลขาธิการ (19) กระทรวงวัฒนธรรม 19.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 19.1.1 รองปลัดกระทรวง 19.2 กรมการศาสนา 19.2.1 รองอธิบดี 19.3 กรมศิลปากร 19.3.1 รองอธิบดี 19.4 กรมส่งเสริมวัฒนธรรม 19.4.1 รองอธิบดี 19.5 สํานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย 19.5.1 รองผู้อํานวยการ (20) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 20.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 20.1.1 รองปลัดกระทรวง 20.2 กรมวิทยาศาสตร์บริการ 20.2.1 รองอธิบดี 20.3 สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ 20.3.1 รองเลขาธิการ (21) กระทรวงศึกษาธิการ 21.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 21.1.1 รองปลัดกระทรวง 21.2 สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 21.2.1 รองเลขาธิการ 21.3 สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 21.3.1 รองเลขาธิการ 21.4 สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 21.4.1 รองเลขาธิการ 21.5 สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 21.5.1 รองเลขาธิการ 21.6 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 21.6.1 รองเลขาธิการ 21.7 สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 21.7.1 รองเลขาธิการ 21.8 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 21.8.1 รองเลขาธิการ (22) กระทรวงสาธารณสุข 22.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 22.1.1 รองปลัดกระทรวง 22.2 กรมการแพทย์ 22.2.1 รองอธิบดี 22.3 กรมควบคุมโรค 22.3.1 รองอธิบดี 22.4 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 22.4.1 รองอธิบดี 22.5 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 22.5.1 รองอธิบดี 22.6 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 22.6.1 รองอธิบดี 22.7 กรมสุขภาพจิต 22.7.1 รองอธิบดี 22.8 กรมอนามัย 22.8.1 รองอธิบดี 22.9 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 22.9.1 รองเลขาธิการ (23) กระทรวงอุตสาหกรรม 23.1 สํานักงานปลัดกระทรวง 23.1.1 รองปลัดกระทรวง 23.2 กรมโรงงานอุตสาหกรรม 23.2.1 รองอธิบดี 23.3 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 23.3.1 รองอธิบดี 23.4 กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ 23.4.1 รองอธิบดี 23.5 สํานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ําตาลทราย 23.5.1 รองเลขาธิการ 23.6 สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 23.6.1 รองเลขาธิการ 23.7 สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 23.7.1 รองผู้อํานวยการ (24) ส่วนราชการไม่สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง 24.1 สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 24.1.1 รองผู้อํานวยการ 24.2 สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 24.2.1 รองเลขาธิการ 24.3 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 24.3.1 รองเลขาธิการ 24.4 สํานักงานราชบัณฑิตยสภา 24.4.1 รองเลขาธิการ 24.5 สํานักงานตํารวจแห่งชาติ 24.5.1 จเรตํารวจแห่งชาติ 24.5.2 รองผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 24.5.3 รองจเรตํารวจแห่งชาติ 24.5.4 ผู้ช่วยผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 24.5.5 จเรตํารวจ (สบ 8) (หัวหน้าจเรตํารวจ) 24.5.6 ผู้บัญชาการสํานักงานส่งกําลังบํารุง 24.5.7 ผู้บัญชาการสํานักงานกําลังพล 24.5.8 ผู้บัญชาการสํานักงานกฎหมายและคดี 24.5.9 ผู้บัญชาการสํานักงานตรวจสอบภายใน 24.5.10 ผู้บัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด 24.5.11 ผู้บัญชาการตํารวจท่องเที่ยว 24.5.12 ผู้บัญชาการตํารวจสันติบาล 24.5.13 ผู้บัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน 24.5.14 ผู้บัญชาการสํานักงานพิสูจน์หลักฐานตํารวจ 24.5.15 ผู้บัญชาการสํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร 24.5.16 ผู้บัญชาการตํารวจนครบาล 24.5.17 ผู้บัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง 24.5.18 ผู้บัญชาการสํานักงานตรวจคนเข้าเมือง 24.5.19 ผู้บัญชาการตํารวจภูธรภาค 24.5.20 นายแพทย์ใหญ่ 24.5.21 รองจเรตํารวจ (สบ 7) 24.5.22 รองผู้บัญชาการสํานักงานส่งกําลังบํารุง 24.5.23 รองผู้บัญชาการสํานักงานกําลังพล 24.5.24 รองผู้บัญชาการสํานักงานกฎหมายและคดี 24.5.25 รองผู้บัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติด 24.5.26 รองผู้บัญชาการตํารวจท่องเที่ยว 24.5.27 รองผู้บัญชาการตํารวจสันติบาล 24.5.28 รองผู้บัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน 24.5.29 รองผู้บัญชาการสํานักงานพิสูจน์หลักฐานตํารวจ 24.5.30 รองผู้บัญชาการสํานักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 24.5.31 รองผู้บัญชาการตํารวจนครบาล 24.5.32 รองผู้บัญชาการตํารวจสอบสวนกลาง 24.5.33 รองผู้บัญชาการสํานักงานตรวจคนเข้าเมือง 24.5.34 รองผู้บัญชาการตํารวจภูธรภาค 24.5.35 ผู้บังคับการตํารวจจราจร 24.5.36 ผู้บังคับการตํารวจนครบาล 24.5.37 ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตํารวจนครบาล 24.5.38 ผู้บังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 24.5.39 ผู้บังคับการปราบปราม 24.5.4o ผู้บังคับการตํารวจทางหลวง 24.5.41 ผู้บังคับการตํารวจรถไฟ 24.5.42 ผู้บังคับการตํารวจท่องเที่ยว 24.5.43 ผู้บังคับการตํารวจน้ํา 24.5.44 ผู้บังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 24.5.45 ผู้บังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ 24.5.56 ผู้บังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 24.5.47 ผู้บังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 24.5.48 ผู้บังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค 24.5.49 ผู้บังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี 24.5.50 ผู้บังคับการตรวจคนเข้าเมือง 24.5.51 ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน สํานักงานตรวจคนเข้าเมือง 24.5.52 ผู้บังคับการสืบสวนสอบสวน ตํารวจภูธรภาค 24.5.53 ผู้บังคับการตํารวจภูธรจังหวัด 24.5.54 ผู้บังคับการกองพลาธิการ 24.5.55 ผู้บังคับการกองโยธาธิการ 24.5.56 ผู้บังคับการกองสรรพาวุธ 24.5.57 ผู้บังคับการกองทะเบียนพล 24.5.58 ผู้บังคับการกองสวัสดิการ 24.5.59 ผู้บังคับการกองคดีอาญา 24.5.60 ผู้บังคับการตํารวจปราบปรามยาเสพติด 24.5.61 ผู้บังคับการข่าวกรองยาเสพติด 24.5.62 ผู้บังคับการสกัดกั้นการลําเลียงยาเสพติด 24.5.63 ผู้บังคับการตํารวจสันติบาล 24.5.64 ผู้บังคับการตํารวจตระเวนชายแดนภาค 24.5.65 ผู้บังคับการตํารวจสื่อสาร 24.6 สํานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินสํานักงานคณ 24.6.1 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 24.6.2 ประธานกรรมการและกรรมการธุรกรรม 24.6.3 รองเลขาธิการ 24.6.4 ผู้อํานวยการกองกํากับและตรวจสอบ 24.6.5 ผู้อํานวยการกองข่าวกรองทางการเงิน 24.6.6 ผู้อํานวยการกองคดี 24.6.7 ผู้อํานวยการกองความร่วมมือระหว่างประเทศ 24.6.8 ผู้อํานวยการกองบริหารจัดการทรัพย์สิน 24.6.9 ผู้อํานวยการกองกฎหมาย 24.7 สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ 24.7.1 รองเลขาธิการ 24.7.2 ผู้อํานวยการกองอํานวยการต่อต้านการทุจริต 24.7.3 ผู้อํานวยการกองปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ 24.7.4 ผู้อํานวยการสํานักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐเขต 24.8 ศูนย์อํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ 24.8.1 รองเลขาธิการ (25) สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดของรัฐและในกํากับของรัฐ 25.1 รองอธิการบดี 25.2 รองเลขาธิการ 25.3 ตําแหน่งเทียบเท่าตาม 25.1 และ 25.2 ที่มีชื่อเรียกอย่างอื่น (26) ธนาคารแห่งประเทศไทย 26.1 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย 26.2 รองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (27) สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 27.1 ประธานกรรมการและกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 27.2 รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (28) สํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 28.1 ประธานกรรมการและกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 28.2 รองเลขาธิการคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (29) สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 29.1 รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (30) สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน 30.1 รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (31) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 31.1 กรุงเทพมหานคร 31.1.1 รองปลัดกรุงเทพมหานคร 31.1.2 หัวหน้าสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร 31.1.3 ผู้อํานวยการสํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล 31.1.4 ผู้อํานวยการสํานักการแพทย์ 31.1.5 ผู้อํานวยการสํานักอนามัย 31.1.6 ผู้อํานวยการสํานักการศึกษา 31.1.7 ผู้อํานวยการสํานักการโยธา 31.1.8 ผู้อํานวยการสํานักการระบายน้ํา 31.1.9 ผู้อํานวยการสํานักสิ่งแวดล้อม 31.1.10 ผู้อํานวยการสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว 31.1.11 ผู้อํานวยการสํานักการคลัง 31.12 ผู้อํานวยการสํานักเทศกิจ 31.1.13 ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาสังคม 31.1.14 ผู้อํานวยการสํานักการจราจรและขนส่ง 31.1.15 ผู้อํานวยการสํานักผังเมือง 31.1.16 ผู้อํานวยการสํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 31.1.17 ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร 31.1.18 ผู้อํานวยการเขต 31.2 เมืองพัทยา 31.2.1 ปลัดเมืองพัทยา 31.2.2 รองปลัดเมืองพัทยา 31.2.3 หัวหน้าสํานักปลัดเมืองพัทยา 31.2.4 ผู้อํานวยการสํานักการศึกษา 31.2.5 ผู้อํานวยการสํานักการสาธารณสุข 31.2.7 ผู้อํานวยการสํานักส่งเสริมการท่องเที่ยว 31.2.6 ผู้อํานวยการสํานักสิ่งแวดล้อม 31.2.8 ผู้อํานวยการสํานักการช่าง 31.2.9 ผู้อํานวยการสํานักการช่างสุขาภิบาล 31.2.10 ผู้อํานวยการสํานักพัฒนาสังคม 31.2.11 ผู้อํานวยการสํานักยุทธศาสตร์และงบประมาณ 31.2.12 ผู้อํานวยการสํานักการคลัง 31.3 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 31.3.1 ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นักบริหารงานท้องถิ่น ระดับสูง) 31.3.2 ผู้อํานวยการสํานักช่าง (นักบริหารงานช่าง ระดับสูง) 31.4 เทศบาลนคร 31.4.1 ปลัดเทศบาล (นักบริหารงานท้องถิ่น ระดับสูง) 31.4.2 ผู้อํานวยการสํานักช่าง (นักบริหารงานช่าง ระดับสูง) 31.5 เทศบาลเมือง 31.5.1 ปลัดเทศบาล (นักบริหารงานท้องถิ่น ระดับสูง) 31.5.2 ผู้อํานวยการสํานักช่าง (นักบริหารงานช่าง ระดับสูง) 31.6 เทศบาลตําบล 31.6.1 ปลัดเทศบาล (นักบริหารงานท้องถิ่น ระดับสูง) 31.6.2 ผู้อํานวยการสํานักช่าง (นักบริหารงานช่าง ระดับสูง) ข้อ ๕ การยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินที่ได้ยื่นไว้แล้วตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้ถือว่าเป็นการยื่นตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ข้อ ๖ ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้หรือการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาด คําวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้เป็นที่สุด ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2561 พลตํารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7,081
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กำหนดตำแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน ตามมาตรา 103 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 ----------------------------- โดยที่คําสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 21/2561 เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ข้อ 1 แก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 4 ในส่วนนิยามคําว่า "ผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง" ส่งผลให้ตําแหน่งกรรมการของหน่วยงานอื่นของรัฐ ไม่อยู่ในนิยาม "ผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูง" และกรรมการของหน่วยงานอื่นของรัฐตามประกาศคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 106 พ.ศ. 2561 ข้อ 4 (7) 7.8 ไม่มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. จึงมีความจําเป็นต้องกําหนดตําแหน่งกรรมการของหน่วยงานอื่นของรัฐบางตําแหน่งซึ่งเคยมีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินอยู่เดิมตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ให้ยังคงมีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการป.ป.ช. ต่อไปตามมาตรา 103 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 28 (2) ประกอบมาตรา 103 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน 23.6 ของข้อ 4 (23) แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "23.6 สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 23.6.1 รองเลขาธิการ" ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความใน (26) ของข้อ 4 แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(26) ธนาคารแห่งประเทศไทย 26.1 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย 26.2 รองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย" ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความใน (27) ของข้อ 4 แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(27) สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 27.1 ประธานกรรมการและกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 27.2 รองเลขาธิการสานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์" ข้อ ๖ ให้ยกเลิกความใน (28) ของข้อ 4 แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 103 พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(28) สํานักงานคณะกรรมกรกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 28.1 ประธานกรรมการและกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย 28.2 รองเลขาธิการคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย" ข้อ ๗ การยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ ที่ได้ยื่นต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไว้แล้วตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง กําหนดตําแหน่งของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา 102 พ.ศ. 2561 ให้ถือว่าเป็นการยื่นตามประกาศนี้ (1) ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (2) ประธานกรรมการและกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (3) ประธานกรรมการและกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2561 พลตํารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7,083
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 48/2553 เรื่อง การยกเลิกการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ที่จะมีการประมูลในวันที่ 20 และ 21 พฤษภาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 48/2553 เรื่อง การยกเลิกการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ที่จะมีการประมูลในวันที่ 20 และ 21 พฤษภาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อประกาศยกเลิกการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 15 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สกง. 47/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553 แจ้งรายละเอียดการออกพันธบัตรดังกล่าวนั้น เนื่องด้วยในวันที่ 20 และ 21 พฤษภาคม 2553 เป็นวันหยุดทําการของการสถาบันการเงินเป็นกรณีพิเศษ ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สนส. 3/2553 เรื่อง การกําหนดวันหยุดทําการของสถาบันการเงินเป็นกรณีพิเศษนั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงขอประกาศยกเลิกการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.38/14/53 | 70,000 | 20 พฤษภาคม 2553 | 24/5/53 - 7/6/53 | 14 | | พ.39/14/53 | 30,000 | 21 พฤษภาคม 2553 | 25/5/53 - 8/6/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 19 พฤษภาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,084
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 73/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนกันยายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 73 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 ----------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.77/14/54 | 65,000 | 29 กันยายน 2554 | 3/10/54 – 17/10/54 | 14 | | พ.78/14/54 | 55,000 | 30 กันยายน 2554 | 4/10/54 – 18/10/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,085
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ------------------------------- โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเพื่อรองรับภารกิจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อันเป็นการสอดคล้องกับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 143 (1) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2554 (2) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 (3) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 (4) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556 (5) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2556 (6) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2556 (7) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2557 (8) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2558 (9) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560 (10) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2560 ข้อ ๔ ให้สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีการแบ่งกลุ่มภารกิจออกเป็น 7 กลุ่ม และมีส่วนราชการภายในกลุ่มภารกิจดังนี้ ก) หน่วยงานขึ้นตรงเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกอบด้วย (1) สํานักกิจการคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) สํานักการประชุม (3) สํานักบริหารงานกลาง (4) สํานักตรวจสอบภายใน (5) กลุ่มตรวจราชการสํานักงาน ป.ป.ช. (6) กลุ่มที่ปรึกษาสํานักงาน ป.ป.ช. ข) กลุ่มภารกิจป้องกันการทุจริต ประกอบด้วย (1) สํานักเฝ้าระวังและประเมินสภาวการณ์ทุจริต (2) สํานักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (3) สํานักต้านทุจริตศึกษา (4) สํานักมาตรการเชิงรุกและนวัตกรรม (5) สํานักส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมต้านทุจริต (6) สํานักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ค) กลุ่มภารกิจตรวจสอบทรัพย์สิน ประกอบด้วย (1) สํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สิน (2) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาคการเมือง (3) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 1 (4) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 2 (5) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 3 ง) กลุ่มภารกิจไต่สวนการทุจริต ประกอบด้วย (1) สํานักไต่สวนการทุจริตภาคการเมืองและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ (2) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐ 1 (3) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐ 2 (4) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐ 3 (5) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐวิสาหกิจ 1 (6) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐวิสาหกิจ 2 (7) สํานักไต่สวนคดีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ) กลุ่มภารกิจอํานวยการยุติธรรม ประกอบด้วย (1) สํานักกฎหมาย (2) สํานักกิจการและคดีทุจริตระหว่างประเทศ (3) สํานักการขัดกันแห่งผลประโยชน์ (4) สํานักคดี (5) สํานักสืบสวนและกิจการพิเศษ ฉ) กลุ่มภารกิจสนับสนุน ประกอบด้วย (1) สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ (2) สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ (3) สํานักบริหารงานคลัง (4) สํานักบริหารทรัพย์สิน (5) สํานักบริหารทรัพยากรบุคคล (6) สํานักวิจัยและบริการวิชาการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (7) สํานักสื่อสารองค์กร (8) สถาบันการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สัญญา ธรรมศักดิ์ ช) กลุ่มภารกิจปฏิบัติการพื้นที่ ประกอบด้วย สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค จํานวน 9 แห่ง และสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด จํานวน 76 แห่งดังนี้ (1) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 1 จังหวัดนนทบุรี มีสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 9 แห่ง ได้แก่ 1.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดชัยนาท 1.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนนทบุรี 1.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดปทุมธานี 1.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดลพบุรี 1.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสมุทรปราการ 1.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสระบุรี 1.8 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสิงห์บุรี 1.9 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดอ่างทอง (2) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 2 จังหวัดชลบุรี มีสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 8 แห่ง ได้แก่ 2.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดจันทบุรี 2.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดฉะเชิงเทรา 2.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดชลบุรี 2.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดตราด 2.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนครนายก 2.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดปราจีนบุรี 2.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดระยอง 2.8 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสระแก้ว (3) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค จังหวัดนครราชสีมา มีสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 8 แห่ง ได้แก่ 3.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดชัยภูมิ 3.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนครราชสีมา 3.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดบุรีรัมย์ 3.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดยโสธร 3.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดศรีสะเกษ 3.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสุรินทร์ 3.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดอํานาจเจริญ 3.8 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดอุบลราชธานี (4) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 4 จังหวัดขอนแก่น มีสํานักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 12 แห่ง ได้แก่ 4.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดกาฬสินธุ์ 4.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดขอนแก่น 4.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนครพนม 4.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดบึงกาฬ 4.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดมหาสารคาม 4.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดมุกดาหาร 4.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดร้อยเอ็ด 4.8 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเลย 4.9 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสกลนคร 4.10 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดหนองคาย 4.11 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดหนองบัวลําภู 4.12 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดอุดรธานี (5) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 5 จังหวัดเชียงใหม่ มีสํานักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 8 แห่ง ได้แก่ 5.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเชียงราย 5.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเชียงใหม่ 5.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดน่าน 5.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดพะเยา 5.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดแพร่ 5.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดแม่ฮ่องสอน 5.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดลําปาง 5.8 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดลําพูน (6) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 6 จังหวัดพิษณุโลก มีสํานักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 9 แห่ง ได้แก่ 6.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดกําแพงเพชร 6.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดตาก 6.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนครสวรรค์ 6.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดพิจิตร 6.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดพิษณุโลก 6.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเพชรบูรณ์ 6.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสุโขทัย 6.8 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดอุตรดิตถ์ 6.9 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดอุทัยธานี (7) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 7 จังหวัดนครปฐม มีสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 8 แห่ง ได้แก่ 7.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดกาญจนบุรี 7.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนครปฐม 7.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 7.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเพชรบุรี 7.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดราชบุรี 7.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสมุทรสงคราม 7.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสมุทรสาคร 7.8 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสุพรรณบุรี (8) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 8 จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีสํานักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 7 แห่ง ได้แก่ 8.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดกระบี่ 8.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดชุมพร 8.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนครศรีธรรมราช 8.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดพังงา 8.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดภูเก็ต 8.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดระนอง 8.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสุราษฎร์ธานี (9) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 9 จังหวัดสงขลา มีสํานักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ จํานวน 7 แห่ง ได้แก่ 9.1 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดตรัง 9.2 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดนราธิวาส 9.3 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดปัตตานี 9.4 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดพัทลุง 9.5 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดยะลา 9.6 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสงขลา 9.7 สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดสตูล การแบ่งงานภายในส่วนราชการตามที่กําหนดไว้ในประกาศฉบับนี้ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติกําหนด ข้อ ๕ ให้ส่วนราชการภายในหน่วยงานขึ้นตรงเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ 1) สํานักกิจการคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับงานช่วยอํานวยการและงานเลขานุการของประธานกรรมการ ป.ป.ช. และกรรมการ ป.ป.ช. (2) ตรวจสอบ กลั่นกรองเรื่อง ประสานงาน รวบรวมข้อมูล และเสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของประธานกรรมการ ป.ป.ช. และกรรมการ ป.ป.ช. (3) ศึกษา วิเคราะห์ ประสานงาน รวบรวมข้อมูล และเสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของประธานกรรมการ ป.ป.ช. และกรรมการ ป.ป.ช. ในการกําหนดและประสานนโยบาย รวมทั้งติดตามและรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายดังกล่าว (4) ศึกษา วิเคราะห์ ประสานงาน รวบรวมข้อมูล และเสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาในเรื่องปัญหาเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ หรือวิธีปฏิบัติในการปฏิบัติราชการที่อยู่ภายใต้หน้าที่ความรับผิดชอบของประธานกรรมการ ป.ป.ช. และกรรมการ ป.ป.ช. (5) ติดตามและรายงานผลการดําเนินงานของหน่วยงานที่ดําเนินการตามที่ประธานกรรมการ ป.ป.ช. และกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย (6) งานประชุม งานอบรม/สัมมนา ตามที่ประธานกรรมการ ป.ป.ช. หรือกรรมการป.ป.ช. มอบหมาย (7) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) สํานักการประชุม มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) งานประชุมคณะกรรมการ ป.ป.ช. ประสานและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกานําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ป.ป.ช. จัดทํารายงานการประชุมและมติคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมทั้งประสานและติดตามการดําเนินการตามมติคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) เก็บรวบรวมมติคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด (3) รวบรวมและจัดทําบคัดย่อการพิจารณาและมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อใช้ในการสืบค้นและเผยแพร่เป็นแนวทางในการพิจารณาและใช้ในการศึกษา รวมทั้งนําไปเป็น หลักการแนวคิด หรือแนวทางปฏิบัติต่อไป (4) กําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ ระบบ รูปแบบ และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการนําเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (5) กําหนดเลขคดีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. รับไว้ไต่สวน และดําเนินการเกี่ยวกับงานสารบบคดีดังกล่าว (6) ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์ข้อมูลตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (7) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดเก็บและรักษาข้อมูลทะเบียนประวัติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. การเข้าปฏิบัติหน้าที่ การลาประชุม และการพ้นจากตําแหน่งของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (8) ตรวจพิจารณาและกลั่นกรองงาน และงานอํานวยการทั่วไปเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (9) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) สํานักบริหารงานกลาง มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) งานเลขานุการของผู้บริหารสํานักงาน ป.ป.ช. และงานอํานวยการทั่วไปเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสํานักงาน ป.ป.ช. (2) งานประชุมผู้บริหารของสํานักงาน ป.ป.ช. งานพิธีและรัฐพิธี รวมทั้งงานราชการทั่วไปของสํานักงาน ป.ป.ช. และงานราชการที่มิได้กําหนดเป็นหน้าที่ของส่วนราชการใดโดยเฉพาะ (3) งานสารบรรณของสํานักงาน ป.ป.ช. (4) ดําเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องกล่าวหา จัดทําสารบบและกําหนดเลขรับเรื่องกล่าวหาร้องเรียน รวมทั้งตรวจสอบและกํากับดูแลการลงทะเบียนข้อมูลเรื่องกล่าวหาร้องเรียนและการออกเลขรับเรื่องกล่าวหาของหน่วยงานในสังกัดสํานักงาน ป.ป.ช. (5) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารคดีของสํานักงาน ป.ป.ช. (6) ตรวจสอบพิจารณาเรื่องกล่าวหาในเบื้องต้น และนําเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อพิจารณามอบหมายเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐหรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐดําเนินการ รวมทั้งติดตามและเร่งรัดการดําเนินการของหน่วยงาน (7) รับเรื่องกล่าวหาร้องเรียนที่เป็นบัตรสนเท่ห์ที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของส่วนกลางและส่งเรื่องให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดําเนินการต่อไป (8) ตรวจสอบประวัติของบุคคลที่ถูกกล่าวหาว่ากระทําความผิดตามที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (9) รับเรื่องจากหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าพนักงานของรัฐ หรือภาคเอกชน ที่ขอคําเสนอแนะหรือคําปรึกษาเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและส่งต่อไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อดําเนินการตามที่มีการร้องขอ รวมทั้งรวบรวมคําร้องขอและผลการดําเนินการเพื่อเป็นหลักฐานต่อไป (10) เป็นศูนย์กลางข้อมูลของสํานักงาน ป.ป.ช. โดยเฉพาะข้อมูลด้านการบริหารคดีรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ รวมทั้งประมวลและบูรณาการข้อมูลในภาพรวมศึกษาวิเคราะห์และจัดทําเป็นรายงานข้อมูลเชิงสถิติสถานการณ์การทุจริตในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคตซึ่งจะใช้ประกอบการตัดสินใจทางการบริหารและรองรับต่อการประสานข้อมูลจากหน่วยงานภายนอก (11) งานเลขานุการคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของคณะกรรมการ ป.ป.ช.และสํานักงาน ป.ป.ช. (12) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4) สํานักตรวจสอบภายใน มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณการบริหารการเงิน การบริหารพัสดุและทรัพย์สินให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับคําสั่งและมติคณะรัฐมนตรี รวมทั้งตรวจสอบการดูแลรักษาทรัพย์สิน และการใช้ทรัพยากรทุกประเภทให้เป็นปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (2) ตรวจสอบการเงินการบัญชีของกองทุนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (3) ให้ข้อสังเกต ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงแก้ไขเกี่ยวกับการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการของสํานักงาน ป.ป.ช. (4) ติดตามและเร่งรัดการดําเนินงานของส่วนราชการในสังกัดสํานักงาน ป.ป.ช. ให้บรรลุผลสําเร็จและเป็นไปตามแผนที่กําหนด (5) งานเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลสํานักงาน ป.ป.ช. (ค.ต.ป.) (6) ประสานงานและ ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 5) กลุ่มตรวจราชการสํานักงาน ป.ป.ช. มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับงานตรวจราชการและติดตามประเมินผลการตรวจราชการของสํานักงาน ป.ป.ช. รวมทั้งจัดทํารายงานการตรวจราชการเสนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทําแผนการตรวจราชการ แบบการตรวจราชการ และคู่มือการตรวจราชการของสํานักงาน ป.ป.ช. (3) ประสาน ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดสํานักงาน ป.ป.ช. ให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน โครงการ และสอดคล้องตามกฎหมาย กฎระเบียบ และแนวทางที่กําหนด (4) ศึกษา พัฒนา แก้ไข ปรับปรุงระบบการตรวจราชการเพื่อยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทํางานให้บรรลุผลสําเร็จ (5) ดําเนินการเกี่ยวกับงานตรวจราชการของประธานกรรมการ ป.ป.ช. และกรรมการ ป.ป.ช. (6) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 6) กลุ่มที่ปรึกษาสํานักงาน ป.ป.ช. มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ ให้คําปรึกษาแนะนําทางวิชาการเกี่ยวกับนโยบายแผนงาน หรืองานใด ๆ ที่สําคัญของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. (2) ให้ข้อคิดเห็น และคําแนะนํา ตลอดจนให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานภายในสํานักงาน ป.ป.ช. (3) ดําเนินการเกี่ยวกับเรื่องกล่าวหาร้องเรียนหรือเรื่องใด ๆ ที่สําคัญ เร่งด่วนหรือเป็นเรื่องที่อยู่ในความสนใจของประชาชน (4) จัดทําสื่อใด ๆ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของสํานักงาน ป.ป.ช. (5) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๖ ให้ส่วนราชการภายในกลุ่มภารกิจป้องกันการทุจริต มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ 1) สํานักเฝ้าระวังและประเมินสภาวการณ์ทุจริต มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสภาวการณ์อย่างรวดเร็ว (rapid appraisal) เพื่อเตือนภัยเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่บ่งชี้ว่าจะมีการทุจริตเกิดขึ้นในสังคมไทย เพื่อเสนอโดยเร็วต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อนําไปขยายผล เช่น สร้างการตื่นรู้ (realise) การจัดกิจกรรมการป้องกันและการนําไปสร้างมาตรการป้องกันเชิงรุก (2) ตรวจสอบกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นว่ามีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการดําเนินการอย่างใดในหน่วยงานของรัฐอันอาจนําไปสู่การทุจริตหรือส่อว่าอาจมีการทุจริต และรายงานผลการตรวจสอบพร้อมทั้งข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อพิจารณามีหนังสือแจ้งให้หน่วยงานของรัฐ และคณะรัฐมนตรีทราบ รวมทั้งติดตามผลการดําเนินการตามมติคณะกรรมการป.ป.ช. ดังกล่าว (3) ดําเนินการสํารวจการรับรู้การทุจริตปีละหนึ่งครั้ง และจัดทํารายงานเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมทั้งเผยแพร่ต่อสาธารณะในวันต่อต้านคอร์รับชันสากล (International Anti - Corruption Day) (4) ผสานพลังกับสํานักงาน ป.ป.ช. ภาคและสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเป็นเครือข่าย เพื่อร่วมกันสํารวจ ตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสภาวการณ์การทุจริตอย่างรวดเร็ว (rapid appraisal) เพื่อให้เกิดการป้องกันโดยเร็ว (5) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อเป็นเครือข่าย (6) จัดทําร้ายงานผลการดําเนินการสํารวจ ติดตาม และประเมินสถานการณ์การทุจริตของประเทศ ทุกไตรมาส และเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (7) ติดตามและประเมินผลความสําเร็จและความคุ้มค่าในการดําเนินงาน และจัดทํารายงานเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมทั้ง ประสานสํานักมาตรการเชิงรุกและนวัตกรรมเพื่อนําไปประกอบการพิจารณากําหนดมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (8) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) สํานักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน หรือเครื่องมือการประเมินอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตาม มาตรฐานและได้รับการยอมรับในระดับสากล เพื่อยกระดับธรรมาภิบาลในหน่วยงานและสามารถยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) บริหารจัดการสารสนเทศเพื่อการประมวลผลการประเมินและการตัดสินใจเพื่อการบริหาร (ITA Data Management) ให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ ทันต่อสถานการณ์เพื่อนําไปใช้ในการกําหนดมาตรการ นโยบาย หรือแนวทางในการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการป้องกันการทุจริต รวมทั้งแนวทางในการยกระดับธรรมาภิบาลเพื่อนําไปใช้ในการพัฒนาองค์กร (3) ศึกษา วิเคราะห์ผลการประเมิน ปัจจัยและผลกระทบต่าง ๆ ที่มีต่อการเสริมสร้างคุณธรรมและความโปร่งใส การป้องกันการทุจริตทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อส่งสัญญาณเสนอแนะทิศทางในการยกระดับธรรมาภิบาลและยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ และเพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงในเรื่องที่เกี่ยวข้อง (4) ศึกษา และประสานร่วมงานกับหน่วยงานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศในการทําวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ระบบ เทคนิค วิธีการ และเครื่องมือในการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน (5) ให้คําปรึกษา เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนให้กับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (6) ประสาน และติดตามประเมินผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อปรับปรุง พัฒนาด้านคุณธรรมและความโปร่งใส หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (7) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และสร้างเสริมการรับรู้และบทบาทของภาคประชาชนที่มีต่อการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน (8) จัดทํารายงานการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนประจําปี รวมทั้งประเมินผลความสําเร็จและความคุ้มค่าในการดําเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. และประสานสํานักมาตรการเชิงรุกและนวัตกรรมเพื่อนําไปประกอบการพิจารณากําหนดมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (9) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) สํานักต้านทุจริตศึกษา มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ส่งเสริมและประสานความร่วมมือในการสร้างและพัฒนาหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งกําหนดแนวทางในการนําไปใช้ การติดตามและการประเมินผล โดยบูรณาการการเรียนรู้จากพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุของสํานักงาน ป.ป.ช. (2) กํากับ ดูแล ประสาน และติดตามกระบวนการดําเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่ได้นําหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้เพื่อพัฒนา ปรับปรุง และเสนอแนวทางในการนําไปใช้เพื่อให้เกิดผลตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (3) ประสานและดําเนินการร่วมกับหน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศในการสร้างและพัฒนาหลักสูตรต้านทุจริตหลากหลายรูปแบบบนฐานความจําเป็นและความสําคัญ (4) ส่งเสริม สนับสนุน ผลักดันสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้จัดการศึกษาและฝึกอบรมการป้องกันการทุจริตหลากหลายรูปแบบรวมทั้งส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ส่งเสริมการศึกษา วิจัย เพื่อปรับวิธีคิดให้สามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวม จิตพอเพียงต้านทุจริต ความอายและไม่ทนต่อการทุจริตในทุกช่วงวัย ทุกกลุ่มอาชีพ เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตอย่างยั่งยืน (5) ประสานการปฏิบัติงานการป้องกันการทุจริตกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในฐานะผู้กํากับทิศทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง (6) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและถ่ายทอดงานเพื่อนําไปสู่การปฏิบัติแก่สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค และสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด เพื่อการดําเนินงานในพื้นที่ (7) รับผิดชอบการดําเนินการเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุของสํานักงาน ป.ป.ช. (8) ประสานการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานภายในองค์กรที่เกี่ยวข้อง อาทิ การวิจัยประเมินผลความคุ้มค่า การพัฒนาวิทยากร ป.ป.ช. และวิทยากรตัวคูณ เป็นต้น (9) ติดตามและประเมินผลความสําเร็จและความคุ้มค่าในการดําเนินงาน และจัดทํารายงานเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมทั้งประสานสํานักมาตรการเชิงรุก และนวัตกรรมเพื่อนําไปประกอบการพิจารณากําหนดมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (10) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4) สํานักมาตรการเชิงรุกและนวัตกรรม มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ศึกษา วิเคราะห์ พร้อมทั้งเสนอจัดทํามาตรการและนวัตกรรมความเห็นข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในเรื่องการปรับปรุงการปฏิบัติราชการ หรือวางแผนงานโครงการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐเพื่อป้องกันหรือปราบปรามการทุจริตการกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม (2) ศึกษา วิเคราะห์ พร้อมทั้งเสนอมาตรการและนวัตกรรม ความเห็น ข้อเสนอแนะ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน (3) ศึกษา วิเคราะห์ พร้อมทั้งเสนอมาตรการ ความเห็น ข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับ หรือมาตรการใดที่เป็นช่องทางให้มีการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดีต่อราชการได้ (4) เสนอผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม (1), (2) และ (3) ต่อคณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระ หรือองค์กรอัยการ (5) ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนํามาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งติดตามผลและปัญหาอุปสรรคในการดําเนินการเพื่อรายงานให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบต่อไป (6) ดําเนินการเพื่อจัดให้มีการรับฟังความคิดเนสาธารณะต่อการจัดทํามาตรการความเห็น หรือข้อเสนอแนะ ซึ่งเป็นเรื่องที่กระทบต่อประโยชน์สาธารณะตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด (7) วิเคราะห์ ศึกษา รูปแบบพฤติกรรมการทุจริตลักษณะต่าง ๆ จากเรื่องกล่าวหาที่ร้องเรียนมายังสํานักงาน ป.ป... หรือจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการจัดทํามาตรการป้องกันการทุจริต รวมทั้งเป็นฐานข้อมูลเพื่อทําการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยถึงแนวโน้มที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตในอนาคต พร้อมทั้งเสนอแนวทางเพื่อป้องกันมีให้เกิดการทุจริต (8) ประสานหน่วยงานวิจัยของสํานักงาน ป.ป.ช. รวมทั้งหน่วยงานอื่นทั้งในประเทศและต่างประเทศในการสร้างองค์ความรู้จากการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยรูปแบบพฤติกรรมการทุจริตลักษณะต่างๆ เพื่อภารกิจมาตรการด้านการป้องกันการทุจริต (9) รวบรวม ติดตาม และประเมินผลการดําเนินการตามมาตรการ ความเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และจัดทํารายงานเพื่อเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (10) งานเลขานุการคณะนุกรรมการบูรณาการการป้องกันการทุจริต (11) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 5) สํานักส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมต้านทุจริต มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) จัดทํามาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่น มีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (2) ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (3) ส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงภาคส่วนอื่นได้รับทราบช่องทางการมีส่วนร่วมในการต่อต้าน เฝ้าระวัง และชี้เบาะแสการทุจริต รวมถึงช่องทางในการให้ข้อเสนอแนะเพื่อนําไปปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น (4) เสริมสร้างวิธีคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวม ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้ประชาชนและชุมชนเกี่ยวกับอันตรายของการทุจริต ค่านิยมที่เน้นการพึ่งพาระบบอุปถัมภ์ในสังคม รวมทั้งเสริมสร้างทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตย์สุจริตให้แก่ประชาชนและชุมชน (5) งานเลขานุการคณะกรรมการเพื่อให้คําเสนอแนะ ช่วยเหลือ และร่วมมือดําเนินการเพื่อให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 (6) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้ผู้แจ้งเบาะแสหรือให้ข้อมูลได้รับความคุ้มครอง (7) ประสานความร่วมมือกับสํานักงาน ป.ป.ช. ภาคและสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด รวมทั้งหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อส่งเสริมและบูรณาการการมีส่วนร่วมต้านทุจริต (8) ติดตามและประเมินผลความสําเร็จและความคุ้มค่าในการดําเนินงาน และจัดทํารายงานเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมทั้งประสานสํานักมาตรการเชิงรุกและนวัตกรรมเพื่อนําไปประกอบการพิจารณากําหนดมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (9) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 6) สํานักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) พัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมเรื่องธรรมาภิบาลที่เท่าทันต่อสถานการณ์สําหรับใช้ในการส่งเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลให้แก่หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และนิติบุคคลอื่น ๆ เพื่อเป็นการยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Indexs: CPI) (2) ให้คําปรึกษา เสนอแนะแนวทางการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล และจริยธรรมตามแนวทางสากลให้แก่หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และนิติบุคคลอื่น ๆ (3) เป็นหน่วยเคลื่อนที่ในการให้คําปรึกษาให้แก่หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนและนิติบุคคลอื่น 1 ที่มีผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) ต่ํากว่าเกณฑ์การประเมินที่กําหนด (4) ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการยกระดับธรรมาภิบาลในหน่วยงานภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และนิติบุคคลอื่น ๆ (5) เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและถ่ายทอดนโยบายแก่สํานักงาน ป.ป.ช. ภาคและสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดในการดําเนินงานในพื้นที่เพื่อยกระดับธรรมาภิบาลในหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และนิติบุคคลอื่น ๆ (6) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกประเทศเพื่อยกระดับธรรมาภิบาลในหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และนิติบุคคลอื่น ๆ (7) ติดตามและประเมินผลความสําเร็จและความคุ้มค่าในการดําเนินงาน และจัดทํารายงานเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. รวมทั้งประสานสํานักมาตรการเชิงรุกและนวัตกรรมเพื่อนําไปประกอบการพิจารณากําหนดมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (8) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๗ ให้ส่วนราชการภายในกลุ่มภารกิจตรวจสอบทรัพย์สิน มีหน้าที่และอํานาจ ดังนี้ 1) สํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สิน มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการกําหนดตําแหน่งผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) ดําเนินการเกี่ยวกับการกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน และการติดตามข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชีที่ยื่น รวมทั้งกําหนดมาตรการป้องกันมิให้มีการเปลี่ยนแปลงข้อความหรือเอกสารของบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินที่มีผู้ยื่นต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. (3) ศึกษา วิเคราะห์ ประเมินผลและพัฒนาระบบงานด้านตรวจสอบทรัพย์สินรวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงแบบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน และการจัดทําคู่มือการปฏิบัติงานเผยแพร่และนิเทศงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) รับและตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลตามแบบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินในกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของสํานักตรวจสอบทรัพย์สินในส่วนกลางสํานักงาน ป.ป.ช. (5) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง ความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน รวมทั้งการเปิดเผยผลการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของพนักงานเจ้าหน้าที่ของสํานักงาน ป.ป.ช. ซึ่งมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่ กฎหมายกําหนด ยกเว้นพนักงานเจ้าหน้าที่ในสังกัดสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สิน และติดตามข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชีที่ยื่น (6) ตรวจสอบการโอน ยักย้าย แปรสภาพ หรือซุกซ่อนทรัพย์สินหรือปรากฏพฤติการณ์ว่ามีการถือครองทรัพย์สินแทน อันมีลักษณะเป็นการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ และการตรวจสอบเรื่องตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินซึ่งต้องส่งเรื่องมาให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตรวจสอบ (7) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยหรือตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้ว พบว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (5) ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ซุกซ่อนทรัพย์สิน พร้อมทั้งรายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องดังกล่าวตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (8) ดําเนินการในกรณีเมื่อปรากฎว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม (5) ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ และมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน รวมถึงการดําเนินคดีในศาลกับบุคคลดังกล่าวตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย (9) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดเกี่ยวกับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (5) (10) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับการควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสารทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (11) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (12) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (13) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (14) งานเลขานุการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินในส่วนกลางสํานักงาน ป.ป.ช. (15) จัดทําระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินรวมทั้งตรวจสอบ ติดตาม รวบรวม ประมวลผล และจัดทํารายงานผลการดําเนินการเพื่อเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (16) ประชาสัมพันธ์และบริการให้คําปรึกษาแนะนําในเรื่องการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน และอํานวยความสะดวกแก่ผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน (17) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงานป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาคการเมือง มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ซึ่งมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่กฎหมายกําหนด และติดตามข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชีที่ยื่น (2) ตรวจติดตามผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ที่เสี่ยงต่อการกระทําการทุจริตหรือร่ํารวยผิดปกติ หรือกรณีจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบ หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ (3) ดําเนินการและตรวจสอบกรณีผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) มีพฤติการณ์ปรากฎหรือมีเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินโดยมิชอบ หรือมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีการโอน ยักย้าย แปรสภาพ หรือซุกซ่อนทรัพย์สินหรือปรากฎพฤติการณ์ถือครองทรัพย์สินแทน อันเป็นการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (4) เปิดเผยผลการตรวจสอบและบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ และเอกสารประกอบของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองตามที่กฎหมายกําหนด (5) ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรีตามกฎหมายว่าด้วยการจัดการหุ้นส่วนและหุ้นของรัฐมนตรี การจัดทําแบบสัญญาจัดการหุ้นส่วนหรือหุ้นของรัฐมนตรีการรับแจ้งกรณีรัฐมนตรีประสงค์โอนหุ้นส่วนหรือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทให้นิติบุคคล การวิเคราะห์ความเหมาะสมของนิติบุคคลที่รับโอน รวมทั้งการเปิดเผยสําเนาสัญญานั้นให้ประชาชนทราบ (6) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัย หรือกรณีตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้วพบว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือมีพฤติการณ์ซุกซ่อนทรัพย์สิน (7) ดําเนินการในกรณีเมื่อปรากฏว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม (1) ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบและมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน รวมถึงการดําเนินคดีในศาลตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย (8) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดเกี่ยวกับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) (9) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับการควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการคัน ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (10) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (11) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (12) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (13) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการตรวจสอบทรัพย์สินรวมทั้งการไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ (14) รวบรวม จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลด้านการตรวจสอบทรัพย์สิน การไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ และประสานสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สินและสํานักบริหารงานกลาง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการและแนวทางปฏิบัติต่อไป (15) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 1 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่กฎหมายกําหนดในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ สํานักงานอัยการสูงสุด ศาล องค์กรอิสระ องค์การมหาชนหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ข้าราชการตุลาการตั้งแต่อธิบดีผู้พิพากษาขึ้นไปข้าราชการตุลาการศาลปกครองตั้งแต่อธิบดีศาลปกครองขึ้นไป ข้าราชการอัยการตั้งแต่อธิบดีอัยการขึ้นไป ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารและสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและข้าราชการกรุงเทพมหานคร และติดตามข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชีที่ยื่น (2) ตรวจติดตามผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ที่เสี่ยงต่อการกระทําทุจริตหรือร่ํารวยผิดปกติ หรือกรณีจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบหรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน และเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ หรือดําเนินการร่วมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด แล้วแต่กรณี (3) ดําเนินการและตรวจสอบกรณีผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการ คณะกรรมทรัพย์สินในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจตาม (1 มีพฤติการณ์ปรากฎหรือมีเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินโดยมิชอบหรือมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีการโอน ยักย้าย แปรสภาพหรือซุกซ่อนทรัพย์สิน หรือปรากฎพฤติการณ์ถือครองทรัพย์สินแทนอันเป็นการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (4) เปิดเผยผลการตรวจสอบและบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและ หนี้สิน ที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ และเอกสารประกอบของผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจตาม (1) ตามที่กฎหมายกําหนด (5) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัย หรือกรณีตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้วพบว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือมีพฤติการณ์ซุกซ่อนทรัพย์สิน (6) ดําเนินการในกรณีเมื่อปรากฏว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม (1) ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบและมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน รวมถึงการดําเนินคดีในศาลกับบุคคลดังกล่าวตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย (7) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดเกี่ยวกับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (8) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับการควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (9) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (10) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (11) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (12) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการตรวจสอบทรัพย์สินรวมทั้งการไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ (13) รวบรวม จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลด้านการตรวจสอบทรัพย์สิน การไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ และประสานสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สินและสํานักบริหารงานกลาง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการและแนวทางปฏิบัติต่อไป (14) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 2 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่กฎหมายกําหนดในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกระทรวงพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และสํานักนายกรัฐมนตรีและติดตามข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชีที่ยื่น (2) ตรวจติดตามผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ที่เสี่ยงต่อการกระทําทุจริตหรือร่ํารวยผิดปกติ หรือกรณีจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบหรือจงใจนบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ หรือดําเนินการร่วมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด แล้วแต่กรณี (3) ดําเนินการและตรวจสอบกรณีผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจตาม (1) มีพฤติการณ์ปรากฎหรือมีเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินโดยมิชอบหรือมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีการโอน ยักย้าย แปรสภาพหรือซุกซ่อนทรัพย์สิน หรือปรากฎพฤติการณ์ถือครองทรัพย์สินแทนอันเป็นการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (4) เปิดเผยผลการตรวจสอบและบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ และเอกสารประกอบของผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจตาม (1) ตามที่กฎหมายกําหนด (5) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัย หรือกรณีตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้วพบว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ซุกซ่อนทรัพย์สิน (6) ดําเนินการในกรณีเมื่อปรากฏว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม (1) ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบและมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน รวมถึงการดําเนินคดีในศาลกับบุคคลดังกล่าวตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย (7) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดเกี่ยวกับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) (8) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับการควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (9) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (10) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (11) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (12) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการตรวจสอบทรัพย์สินรวมทั้งการไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ (13) รวบรวม จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลด้านการตรวจสอบทรัพย์สิน การไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ และประสานสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สินและสํานักบริหารงานกลาง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการและแนวทางปฏิบัติต่อไป (14) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 5) สํานักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ 3 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่กฎหมายกําหนดในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม กระทรวงยุติธรรม และสํานักงานตํารวจแห่งชาติ และติดตามข้อมูล และเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชียื่น (2) ตรวจติดตามผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ที่เสี่ยงต่อการกระทําทุจริตหรือร่ํารวยผิดปกติ หรือกรณีจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบหรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน และเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ หรือดําเนินการร่วมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด แล้วแต่กรณี (3) ดําเนินการและตรวจสอบกรณีผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจตาม (1) มีพฤติการณ์ปรากฎหรือมีเหตุอันควรสงสัยเกี่ยวกับการได้มาซึ่งทรัพย์สินและหนี้สินโดยมิชอบหรือมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีการโอน ยักย้าย แปรสภาพหรือซุกซ่อนทรัพย์สิน หรือปรากฎพฤติการณ์ถือครองทรัพย์สินแทนอันเป็นการมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (4) เปิดเผยผลการตรวจสอบและบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ และเอกสารประกอบของผู้ที่มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจตาม (1) ตามที่กฎหมายกําหนด คณะกรรมการ (5) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัย หรือกรณีตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้วพบว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ซุกซ่อนทรัพย์สิน (6) ดําเนินการในกรณีเมื่อปรากฏว่าผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตาม (1) ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือจงใจนบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ และมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน รวมถึงการดําเนินคดีในศาลกับบุคคลดังกล่าวตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย (7) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดเกี่ยวกับการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตาม (1) (8) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับการควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (9) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (10) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (11) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (12) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการตรวจสอบทรัพย์สินรวมทั้งการไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ (13) รวบรวม จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลด้านการตรวจสอบทรัพย์สิน การไต่สวนและงานคดีที่อยู่ในความรับผิดชอบ และประสานสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สินและสํานักบริหารงานกลาง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการและแนวทางปฏิบัติต่อไป (14) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๘ ให้ส่วนราชการภายในกลุ่มภารกิจไต่สวนการทุจริต มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ 1) สํานักไต่สวนการทุจริตภาคการเมืองและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ รวมทั้งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ทุจริตต่อหน้าที่ หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อํานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) ดําเนินการสอบสวนเป็นทางลับ กรณีที่มีความปรากฏต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือเมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ของรัฐตามมาตรา 144 วรรคสี่ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และมาตรา 88 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 (3) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดของผู้ดํารงตําแหน่งตาม (1) ที่อยู่ใน กรรม หน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับการควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (5) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี สํานักงานคณะกรรมกากา (7) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการไต่สวน (8) ร้ายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (9) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐ 1 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อลประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐได้แก่ กระทรวงกลาโหม กระทรวงยุติธรรม สํานักงานตํารวจแห่งชาติ สํานักงานอัยการสูงสุด ศาลองค์กรอิสระ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ และเจ้าพนักงานอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติที่ไม่ได้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของสํานักอื่น ผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนด หรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (3) ตรวจสอบและพิจารณาร้ายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐหรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับ การควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (5) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (7) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (8) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการไต่สวน (9) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐ 2 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐ ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และสํานักนายกรัฐมนตรี ผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการป.ป.ช. (2) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (3) ตรวจสอบและพิจารณารายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับ การควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (5) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) เสนอฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (7) ร้ายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (8) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบ และวิธีการดําเนินการใด่สวน (9) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐ 3 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐได้แก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารและสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร และข้าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมหรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (3) ตรวจสอบและพิจารณารายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตาม (1) ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับการควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการคัน ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (5) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (7) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (8) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการไต่สวน (9) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 5) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐวิสาหกิจ 1 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐในรัฐวิสาหกิจตามการจัดกลุ่มรัฐวิสาหกิจของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ได้แก่ สาขาขนส่ง สาขาพลังงาน สาขาเกษตร และสาขาทรัพยากรธรรมชาติ ผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือ พยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. สํานักงานคณะกรรมกากา (3) ตรวจสอบและพิจารณารายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับ การควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน สํานักงานคณะกรรมกากา (5) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (7) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (8) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการไต่สวน (9) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 6) สํานักไต่สวนการทุจริตภาครัฐวิสาหกิจ 2 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐในรัฐวิสาหกิจตามการจัดกลุ่มรัฐวิสาหกิจของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ได้แก่ สาขาสาธารณูปการ สาขาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม สาขาสื่อสาร สาขาสังคมและเทคโนโลยีและสาขาสถาบันการเงิน ผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (2) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือ พยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (3) ตรวจสอบและพิจารณารายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (1) ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับ การควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (5) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (7) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (8) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการไต่สวน (9) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 7) สํานักไต่สวนคดีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ใดทุจริตต่อหน้าที่หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อํานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง หรือฐานความผิดอื่นที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้กําหนด หรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งเกี่ยวข้องกับการบุกรุกป่าและที่ดินของรัฐ คดีทุจริตเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรแร่ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง คดีทุจริตเกี่ยวกับการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าและพันธุ์พืช คดีทุจริตเกี่ยวกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือคดีอื่นใดที่มีผลต่อการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช.ซึ่งเกี่ยวข้องกับการบุกรุกป่าและที่ดินของรัฐ คดีทุจริตเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรแร่ทรัพยากรดิน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง คดีทุจริตเกี่ยวกับการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าและพันธุ์พืช คดีทุจริตเกี่ยวกับคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือคดีอื่นใดที่มีผลต่อการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (3) ตรวจสอบหรือสอบสวนกรณีที่ได้รับบัตรสนเท่ห์ การแจ้งข้อมูล เบาะแสหรือพยานหลักฐาน หรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยสําหรับการกระทําผิดตาม (1) และ (2) ที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (4) ดําเนินการสอบสวนเป็นทางลับ กรณีการกระทําผิดตาม (1) และ (2) ที่มีความปรากฏต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือเมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ของรัฐตามมาตรา 144 วรรคสี่ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และมาตรา 88 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 (5) ตรวจสอบและพิจารณารายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดตาม (1) และ (2) ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับ การควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สินหรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (7) ดําเนินการและประสานงานทางคดีร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามผลคดีรวมทั้งสรุปความเห็นเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. (8) เป็นผู้แทนฝ่ายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคณะกรรมการร่วมกับผู้แทนฝ่ายอัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาหาข้อยุติเกี่ยวกับการฟ้องคดี (9) รายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานในเรื่องกล่าวหาที่รับผิดชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. กําหนด (10) เสนอแนะเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินการไต่สวน (11) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๙ ให้ส่วนราชการภายในกลุ่มภารกิจอํานวยการยุติธรรม มีหน้าที่และอํานาจ ดังนี้ 1) สํานักกฎหมาย มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนา ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย (2) ศึกษา ค้นคว้า ปรับปรุง แก้ไข ยกร่างกฎหมาย กฎระเบียบของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. (3) ให้คําปรึกษา ข้อเสนอแนะ และให้ความเห็นทางกฎหมายตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การตอบข้อหารือทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวกับหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. (4) ศึกษา วิเคราะห์ กฎหมายต่างประเทศและเอกสารทางกฎหมายของต่างประเทศ รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบงานด้านกฎหมายของต่างประเทศ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานของสํานักงาน ป.ป.ช. (5) ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อดําเนินการยกร่างหรือปรับปรุงแก้ไขกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการ ป.ป.ช. (6) ตรวจสอบนิติกรรมสัญญาซึ่งสํานักงาน ป.ป.ช. เป็นคู่สัญญา รวมทั้งบันทึกข้อตกลงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (7) จัดทําเอกสารทางวิชาการกฎหมายของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และการให้ความรู้ทางด้านกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานของรัฐหรือสถาบันการศึกษาและประชาชน (8) จัดวางระบบ สารบัญกฎหมาย ประกาศ คําสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ และปรับปรุงแก้ไขให้ทันสมัย (9) ประสานงานกับรัฐสภาและติดตามการตรากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือกฎหมายอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย และประสานความร่วมมือทางด้านกฎหมายกับนักกฎหมายภาครัฐของหน่วยงานของรัฐ (10) สนับสนุนงานฝ่ายเลขานุการของคณะอนุกรรมการกฎหมายและระเบียบ (11) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) สํานักกิจการและคดีทุจริตระหว่างประเทศ มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเป็นหน่วยงานกลางในการดําเนินการเพื่อให้ความร่วมมือระหว่างประเทศตามพันธกรณีและข้อตกลงระหว่างประเทศในการต่อต้านการทุจริต (2) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยหรือดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกรณีมีเรื่องกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศหรือเจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ กระทําความผิดที่เกี่ยวข้องกับการรับสินบน และกรณีบุคคลใดกระทําความผิดที่เกี่ยวข้องกับการเป็นตัวกลางเรียกรับสินบนหรือให้สินบนเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศหรือเจ้าหน้าที่ขององค์การระหว่างประเทศ (3) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยหรือดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกรณีมีเรื่องกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการหรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งเป็นคดีทุจริตระหว่างประเทศ (4) ดําเนินการและประสานงานคดีเพื่อขอความร่วมมือระหว่างประเทศ (5) ดําเนินการตามคําร้องขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในคดีทุจริต ในกรณีที่ผู้ประสานงานกลางตามกฎหมายว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญาส่งให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการหรือพิจารณาให้ความช่วยเหลือกับต่างประเทศในคดีทุจริต ซึ่งมิใช่คําร้องขอความช่วยเหลือตามกฎหมายว่าด้วยความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา (6) ตอบข้อหารือ และให้ความเห็นทางกฎหมายเกี่ยวกับกฎหมายต่างประเทศกฎหมายระหว่างประเทศ และการดําเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศ (7) ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาระบบรูปแบบ รวมถึงการดําเนินการกิจการงานการต่างประเทศของสํานักงาน ป.ป.ช. (8) ติดต่อ ประสานงานโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ ทั้งทางวิชาการและกฎหมาย รวมถึงการสร้างเครือข่ายด้านการป้องกันและการปราบปรามการทุจริตระหว่างประเทศ (9) ศึกษา วิเคราะห์ กฎหมายต่างประเทศ กฎหมายระหว่างประเทศ ตลอดจนการจัดทําเอกสารวิชาการและรายงนประจําปี การจัดแปลกฎหมาย บทความวิชาการ และเอกสารรวมถึงการจัดพิมพ์เผยแพร่งานแปล (10) ดําเนินการงานเจรจา การจัดทําข้อตกลงการส่งเสริมความร่วมมือตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ (11) ดําเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เช่น การอํานวยความสะดวก ต้อนรับและจัดงานเลี้ยงรับรองคณะบุคคลสําคัญของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งดําเนินการเกี่ยวกับการไปเยือนต่างประเทศ (12) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) สํานักการขัดกันแห่งผลประโยชน์ มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ ากา (1) รณรงค์เสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในทุกภาคส่วนเพื่อป้องกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม (2) จัดทําข้อกําหนดและคู่มือการปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมทั้งเอกชนเกี่ยวกับการป้องกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม (3) กํากับดูแลและติดตามผลในการดําเนินการเพื่อป้องกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม (4) เผยแพร่ให้ความรู้ ให้คําปรึกษาและให้ความเห็นทางกฎหมาย รวมทั้งตอบข้อหารือเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม (5) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4) สํานักคดี มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการและประสานงานทางคดี การยื่นคําร้องต่อศาล การฟ้องคดีหรือการดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ในชั้นศาลตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ติดตามผลการดําเนินคดี และการบังคับคดี โดยประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ (2) ดําเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการร่วม ซึ่งตั้งขึ้นระหว่างคณะกรรมการ ป.ป.ช. และอัยการสูงสุด โดยมีหน้าที่พิจารณาพยานหลักฐาน และรวบรวมพยานหลักฐานให้สมบูรณ์ รวมทั้งดําเนินการอื่นใดให้สํานวนการไต่สวนครบถ้วนสมบูรณ์ แล้วส่งให้อัยการสูงสุดเพื่อฟ้องคดีต่อไป (3) ดําเนินการและติดตามผลการดําเนินการทางวินัยซึ่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ส่งไปยังผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอํานาจแต่งตั้งถอดถอน และเร่งรัดให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอํานาจแต่งตั้งถอดถอนดําเนินการตามกฎหมาย (4) ตรวจพิจารณาสํานวนการไต่สวนตามที่ได้รับมอบหมาย และสนับสนุนงานฝ่ายเลขานุการของคณะอนุกรรมการที่ปรึกษาสํานวนคดีอาญา (5) พิจารณาสํานวนการสอบสวน กรณีพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการมีคําสั่งไม่ฟ้องผู้ถูกกล่าวหาในเรื่องที่พนักงานสอบสวนดําเนินคดีไปตามอํานาจหน้าที่ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และพิจารณาสํานวนคดีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ส่งให้พนักงานสอบสวนดําเนินการในการพิจารณาสั่งคดี และตรวจสอบรายงานผลการดําเนินการทางวินัยของ ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอํานาจแต่งตั้งถอดถอน (6) ดําเนินการให้ความช่วยเหลือหรือแก้ต่างในการต่อสู้คดีกรณีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กรรมการ ป.ป.ช. กรรมการไต่สวน หัวหน้าพนักงานไต่สวน พนักงานไต่สวน และพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดถูกดําเนินคดี ไม่ว่าเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีปกครอง และไม่ว่าจะถูกฟ้องในขณะดํารงตําแหน่ง หรือเมื่อพ้นจากตําแหน่งแล้ว ถ้าการถูกดําเนินคดีดังกล่าวเป็นเพราะเหตุที่ได้มีมติคําสั่ง หรือปฏิบัติหน้าที่ (7) ดําเนินการให้ความช่วยเหลือหรือแก้ต่างในการต่อสู้คดีกรณีบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. นอกเหนือจากบุคคลตาม (6) ผู้ใดถูกดําเนินคดี ไม่ว่าเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา หรือคดีปกครองและไม่ว่าจะถูกฟ้องในขณะดํารงตําแหน่งหรือเมื่อพ้นจากตําแหน่งแล้ว ถ้าการถูกดําเนินคดีดังกล่าวเป็นเพราะเหตุที่ได้มีมติ คําสั่ง หรือปฏิบัติหน้าที่ (8) ดําเนินการเกี่ยวกับการยกเลิกหรือเพิกถอนสิทธิหรือเอกสารสิทธิที่ออกโดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ (9) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับ การควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (10) เก็บรวบรวมและจัดทําสารบบคดีไต่สวน เพื่อรายงานคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อพัฒนาระบบงาน รูปแบบ และวิธีการดําเนินงานเพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพ (11) ดําเนินการเกี่ยวกับการยื่นคําร้องต่อศาลขอให้มีคําสั่งให้สืบพยานหลักฐานตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ หรือกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง (12) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง ความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน รวมทั้งการเปิดเผยผลการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของพนักงานเจ้าหน้าที่ในสังกัดสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สิน ซึ่งมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่กฎหมายกําหนด และติดตามข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชีที่ยื่น (13) ดําเนินการในกรณีเมื่อปรากฏว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ในสังกัดสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สิน ซึ่งมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่กฎหมายกําหนด ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กําหนดหรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ และมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน รวมถึงการดําเนินคดีในศาลกับบุคคลดังกล่าวตามที่คณะกรรมการป.ป.ช. มอบหมาย (14) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัย หรือกรณีตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้วพบว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ในสังกัดสํานักพัฒนาระบบตรวจสอบทรัพย์สินผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินร่ํารวยผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติ หรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ซุกซ่อนทรัพย์สิน (15) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 5) สํานักสืบสวนและกิจการพิเศษ มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการสืบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยตามอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. (2) ดําเนินการด้านการข่าว และการต่อต้านข่าวกรองที่เกี่ยวกับการทุจริตรวมถึงการจัดทําระบบกระบวนการข่าวกรองของสํานักงาน ป.ป.ช. (3) ติดตาม ตรวจสอบสถานการณ์และข้อมูลข่าวสารการทุจริตจากสื่อต่าง ๆ รวมทั้งวิเคราะห์ และประมวลผลสรุปข้อมูลข่าวสารการทุจริต (4) ดําเนินการเกี่ยวกับการสนับสนุนการไต่สวน การเก็บรวบรวมและตรวจสอบพิสูจน์หลักฐาน รวมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทางอิเล็กทรอนิกส์ (5) ติดตามบุคคลตามหนังสือเรียกตัวเป็นพยานและบุคคลที่ถูกหมายของศาลพัฒนาระบบการคุ้มครองพยาน และการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดําเนินการคุ้มครองพยานและการกันบุคคลเป็นพยานตามที่ได้รับมอบหมาย (6) ดําเนินการหรือประสานงานเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการเกี่ยวกับการจับ การควบคุมตัว การคุมขัง และการปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหา รวมทั้งการค้น ยึด หรืออายัดทรัพย์สิน หรือพยานหลักฐาน และการริบทรัพย์สิน (7) ดําเนินการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบหน่วยงานของรัฐที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการทุจริตตามที่ได้รับมอบหมายและส่งผลการตรวจสอบให้หน่วยงานที่รับผิดชอบในการเสนอแนวทางการแก้ไขเพื่อจัดทํารายงานเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป (8) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการรักษาความปลอดภัยของบุคคลสําคัญ อาคาร สถานที่ และทรัพย์สินของสํานักงาน ป.ป.ช. (9) ประสานเครือข่ายการปฏิบัติงานข่าวกับแหล่งข่าวบุคคล หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง (10) ดําเนินการเกี่ยวกับวิทยุสื่อสารการกําหนดรหัสนามเรียกขาน (11) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๑๐ ให้ส่วนราชการภายในกลุ่มภารกิจสนับสนุน มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ 1) สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ศึกษา วิเคราะห์ จัดทําและพัฒนาแผนกลยุทธ์ขององค์กรและความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของสํานักงาน ป.ป.ช. ให้รองรับตามแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมและนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งติดตามและประเมินผล และจัดทํารายงานผลการดําเนินการ (2) พัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ระบบคลังข้อมูล ระบบฐานข้อมูลและระบบการเรียกคืน รวมทั้งกําหนดแนวทางและระเบียบปฏิบัติสําหรับการใช้และการรักษาความปลอดภัยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสํานักงาน ป.ป.ช. (3) บริหารจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายสารสนเทศ บํารุงรักษาและแก้ไขปัญหาในการใช้งาน (4) พัฒนาหรือจัดให้มีระบบสารสนเทศและเครือข่ายเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และผู้บริหาร การบริหารจัดการ และการดําเนินงานตามภารกิจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. (5) พัฒนาและประยุกต์ใช้ข้อมูลในระบบภูมิสารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสํารวจข้อมูลระยะไกล และกําหนดตําแหน่งพื้นโลกด้วยดาวเทียม (6) บริหารจัดการเว็บไซต์ของสํานักงาน ป.ป.ช. เพื่อเป็นสื่อในการบริการข้อมูลข่าวสาร (7) ประสานความร่วมมือในการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช.และเสริมสร้างความรู้ความสามารถและทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. (8) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ศึกษาและวิเคราะห์นโยบายด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (2) ประสานและส่งเสริมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (3) พัฒนานโยบายและจัดทํายุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แผนยุทธศาสตร์ของสํานักงาน ป.ป.ช. แผนปฏิบัติการของสํานักงาน ป.ป.ช. แผนอื่นที่เกี่ยวข้อง ประสานและนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งเรงรัด ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนดังกล่าว (4) เสนอแนะนโยบายและกําหนดแนวทางในการตั้งและจัดสรรงบประมาณประจําปีของหน่วยงานในสังกัดสํานักงาน ป.ป.. ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการของสํานักงาน ป.ป.ช. (5) วิเคราะห์และจัดทําคําขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจําปี การบริหารงบประมาณ การประสานการดําเนินการเกี่ยวกับการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ (6) วิเคราะห์ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานและความคุ้มค่าของการดําเนินการโครงการ/กิจกรรมของหน่วยงานในสังกัดสํานักงาน ป.ป.ช. (7) จัดทําและพัฒนาตัวชี้วัดการดําเนินงานของสํานักงาน ป.ป.ช. รวมถึงการจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงาน (8) พัฒนาการบริหารจัดการในการนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลตาม วัตถุประสงค์ รวมทั้งวิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในสังกัดสํานักงาน ป.ป.ช. (9) ศึกษา วิเคราะห์ ให้คําปรึกษา และเสนอแนะแนวทางในการกําหนดนโยบายการพัฒนาระบบบริหารจัดการ การพัฒนาองค์กของสํานักงาน ป.ป.ช. ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานของสํานักงาน ป.ป.ช. (10) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสํานักงาน ป.ป.ช. (11) เสนอแนะนโยบายและกําหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทําแผนงาน และงบประมาณในลักษณะบูรณาการป้องกันและปราบปรามการทุจริต รวมทั้งการพิจารณา กลั่นกรองตรวจสอบการใช้งบประมาณ และติดตามประเมินผล (12) เป็นหน่วยงานบริหารกองทุนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติตามระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติว่าด้วยกองทุนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (13) จัดทํารายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.พร้อมข้อสังเกตต่อรัฐสภา การประกาศและเปิดเผยรายงานดังกล่าว (14) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 3) สํานักบริหารงานคลัง มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณของสํานักงาน ป.ป.ช. (2) ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาระบบ เพื่อวางระเบียบ มาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการดําเนินการเกี่ยวกับการจัดหาพัสดุ การเงินและการบัญชีของสํานักงาน ป.ป.ช. (3) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการเงินและการบัญชีทั้งเงินในและนอกงบประมาณและเงินกองทุนต่าง ๆ (4) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการจัดหาพัสดุ การจัดซื้อจัดจ้าง (5) ดําเนินการเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินของกองทุนป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (6) ให้คําปรึกษา ข้อเสนอแนะและนิเทศงานด้านการบริหารงบประมาณการเงินการเบิกจ่าย การบัญชี การจัดซื้อจัดจ้าง การจัดหาพัสดุแก่หน่วยงานภายในสํานักงาน ป.ป.ช. (7) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4) สํานักบริหารทรัพย์สิน มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารพัสดุและครุภัณฑ์ของสํานักงาน ป.ป.ช. (2) ตรวจและประเมินความเหมาะสมของที่ดิน การขออนุญาตและการใช้ประโยชน์ของที่ดิน เพื่อใช้ในราชการของสํานักงาน ป.ป.ช.. (3) ดําเนินการเกี่ยวกับการออกแบบ การตรวจสอบ การควบคุมการก่อสร้างการปรับปรุง การซ่อมแซม การต่อเติม และการบํารุงรักษาอาคารสถานที่ (4) จัดวางระบบ การกํากับดูแล การบํารุงรักษาและการใช้ยานพาหนะ รวมถึงงานสาธารณูปโภค (5) จัดทําระบบทะเบียน การเก็บรักษาและการจัดการทรัพย์สินจากการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้สั่งยึดหรืออายัด และทรัพย์สินของกลางในคดี รวมทั้งการควบคุมดูแล การใช้ประโยชน์และการนําทรัพย์สินออกขายทอดตลาด (6) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช.มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 5) สํานักบริหารทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับงานบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน ป.ป.ช. สําหรับเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างของสํานักงาน ป.ป.ช. (2) ดําเนินการเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในฐานะองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของสํานักงาน ป.ป.ช. และคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.ในฐานะองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของสํานักงาน ป.ป.ช. แต่งตั้ง (3) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีการและมาตรฐานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน ป.ป.ช. (4) ดําเนินการเกี่ยวกับการกําหนดตําแหน่งและกรอบอัตรากําลังข้าราชการพนักงานราชการ และลูกจ้างของสํานักงาน ป.ป.ช. รวมถึงการวางแผนกําลังคนของสํานักงาน ป.ป.ช. (5) จัดทําโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในสํานักงาน ป.ป.ช. และการกําหนดหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการดังกล่าว (6) ดําเนินการเกี่ยวกับการกําหนดอัตราเงินเดือน เงินเพิ่มพิเศษสําหรับตําแหน่งและค่าตอบแทนของเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างของสํานักงาน ป.ป.ช. รวมถึงการให้ได้รับเงินดังกล่าว (7) งานวินัย อุทธรณ์ ร้องทุกข์ เสริมสร้างวินัย จริยธรรม และคุณธรรมของบุคลากรสํานักงาน ป.ป.ช. (8) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการหรือการสงเคราะห์อื่นแก่บุคล ากรสํานักงานป.ป.ช. และการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรสํานักงาน ป.ป.ช. (9) ดําเนินการเกี่ยวกับการรักษาทะเบียนประวัติ การควบคุมเกษียณอายุของเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างของสํานักงาน ป.ป.ช. (10) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดสรรทุน การสรรหา และการดูแลนักเรียนทุนเพื่อบรรจุเข้ารับราชการสํานักงาน ป.ป.ช. (11) เป็นศูนย์กลางข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน ป.ป.ช. (12) เสนอแนะ ให้คําปรึกษา และเผยแพร่ความรู้ในเรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคลแก่ส่วนราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. (13) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงานป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 6) สํานักวิจัยและบริการวิชาการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการวิจัยและพัฒนางานวิชาการเพื่อภารกิจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. (2) รวบรวมผลงานวิจัยและผลงานวิชาการเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนะต่อภารกิจของสํานักงาน ป.ป.ช. (3) เป็นศูนย์บริการวิชาการด้านผลจากการวิจัยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและผลงานวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้อง อาทิเช่น เอกสารทางวิชาการ โดยให้บริการหน่วยงานภายในและภายนอก (4) ติดตามการนําผลการวิจัยไปใช้ และจัดทําร้ายงานผลการติดตาม (5) จัดทํารายงานการประเมินผลสําเร็จและความคุ้มค่าของผลงานวิจัยที่ดําเนินการ (6) ประสานเครือข่ายวิจัยเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมมือกันทางวิชาการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (7) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 7) สํานักสื่อสารองค์กร มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) จัดทําและขับเคลื่อนแผนแม่บทการประชาสัมพันธ์การป้องกันและปราบปรามการทุจริต และแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการประชาสัมพันธ์ของสํานักงาน ป.ป.ช. รวมทั้งติดตามและประเมินผลร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2) ดําเนินการเกี่ยวกับการกําหนดและพัฒนานโยบาย ระบบ รูปแบบ เทคนิคหลักเกณฑ์และวิธีการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารองค์กรของสํานักงาน ป.ป.ช. (3) งานประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ป.ป.ช.และสํานักงาน ป.ป.ช. (4) พัฒนา ออกแบบ และผลิตสื่อ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของสํานักงาน ป.ป.ช. (5) ดําเนินการเกี่ยวกับงานโฆษกของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. รวมทั้งประสานงานและอํานวยความสะดวกแก่สื่อมวลชนในการเผยแพร่ข่าว การแถลงข่าวและการให้สัมภาษณ์ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และผู้บริหารของสํานักงาน ป.ป.ช. (6) ดําเนินการเกี่ยวกับการบูรณาการด้านประชาสัมพันธ์และการสร้างและขับเคลื่อนเครือข่ายด้านประชาสัมพันธ์ รวมทั้งการติดตามและประเมินผล (7) ดําเนินการเกี่ยวกับการให้บริการสอบถามข้อมูลแก่บุคคลภายนอก และเป็นศูนย์ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ (8) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 8) สถาบันการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สัญญา ธรรมศักดิ์ มีหน้าที่ (1) จัดทําและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และแผนพัฒนาบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. รวมทั้งการติดตามและประเมินผล (2) จัดทําแผนพัฒนารายบุคคลตามหลักสมรรถนะและดําเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผน ตลอดจนติดตามและประเมินผล (3) ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนาระบบ หลักสูตร วิธีการ หรือการดําเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรให้บรรลุผลสัมฤทธิ์และมีความเป็นมาตรฐาน (4) เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management) โดยประสานเชื่อมโยงกับหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตให้กับบุคลากร (5) ดําเนินการเกี่ยวกับการเสริมสร้างและปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรให้กับบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. (6) เป็นศูนย์กลางการพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ (7) จัดทําและพัฒนาระบบฐานข้อมูลการพัฒนาบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. (8) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดสรรทุนเพื่อพัฒนาบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. (9) ให้บริการศูนย์บริการวิชาการและเทคโนโลยีการฝึกอบรม จัดทําและพัฒนาเอกสารคู่มือ ตําราชุดการฝึกอบรม รวมทั้งให้บริการอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ในการฝึกอบรมและการเผยแพร่ความรู้ (10) ประสานงานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๑๑ ให้ส่วนราชการภายในกลุ่มภารกิจปฏิบัติการพื้นที่ มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ 1) สํานักงาน ป.ป.ช. ภาค 1 - 9 มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการบูรณาการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประสานกับหน่วยงานในส่วนกลางสํานักงาน ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดภายในภาคที่รับผิดชอบ รวมถึงภาคส่วนอื่น ๆ ในการดําเนินภารกิจด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการดําเนินการเพื่อขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (2) จัดทําแผนงาน โครงการ และกิจกรรมด้านการป้องกันการทุจริตของสํานักงาน ป.ป.ช. ภาค และตรวจสอบกลั่นกรองข้อเสนอแผ่นงาน โครงการ และกิจกรรมดังกล่าวของสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดภายในภาคที่รับผิดชอบ รวมทั้งกํากับ ดูแล ติดตาม ประเมินผลและ ดําเนินการใด ๆ เพื่อให้แผนงาน โครงการกิจกรรมดังกล่าวบรรลุผลสัมฤทธิ์ (3) ประสานกับหน่วยงานในส่วนกลางสํานักงาน ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด เพื่อร่วมตรวจสอบกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการดําเนินการอย่างใดในหน่วยงานของรัฐอันอาจนําไปสู่การทุจริตหรือส่อว่าอาจมีการทุจริต (4) ประสานกับสํานักงาน ป.ป.ช. ในส่วนกลางและสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดเป็นเครือข่าย เพื่อร่วมกันสํารวจ ตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสภาวการณ์การทุจริตอย่างรวดเร็ว (rapid appraisal) เพื่อให้เกิดการป้องกันโดยเร็ว (5) พิจารณากลั่นกรองรายงานการตรวจสอบเบื้องต้นของสํานักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัด ภายในภาคที่รับผิดชอบ และรายงานการไต่สวนเบื้องต้นเฉพาะกรณีที่สํานักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวัด ภายในภาคที่รับผิดชอบ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ดําเนินการเพื่อเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการต่อไป (6) รับเรื่องกล่าวหาและส่งให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งดําเนินการไต่สวนเบื้องต้นกรณีมีเรื่องกล่าวหาหรือกรณีมีเหตุอันควรสงสัยเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในภาคที่รับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติงานร่วมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด ภายในภาคที่รับผิดชอบหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบเบื้องต้นและไต่สวนเบื้องต้น (7) ประสานและปฏิบัติงานร่วมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด ภายในภาคที่รับผิดชอบในการตรวจสอบและพิจารณารายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในภาคที่รับผิดชอบที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (8) ดําเนินการเกี่ยวกับงานการสืบสวน งานด้านการข่าวและการต่อต้านข่าวกรองที่เกี่ยวกับการทุจริต การติดตาม ตรวจสอบสถานการณ์และข้อมูลข่าวสารการทุจริตจากสื่อต่าง ๆ รวมทั้งวิเคราะห์ และประมวลผลสรุปข้อมูลข่าวสารการทุจริต (9) ประสานเครือข่ายการปฏิบัติงานข่าวกับแหล่งข่าวบุคคล หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง (10) ติดตามบุคคลตามหนังสือเรียกตัวเป็นพยานและบุคคลที่ถูกหมายของศาลและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดําเนินการคุ้มครองพยานและการกันบุคคลเป็นพยานตามที่ได้รับมอบหมาย (11) ดําเนินการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจับกุม ควบคุมตัวและการปล่อยตัวชั่วคราวบุคคลผู้ถูกกล่าวหาตามที่ได้รับมอบหมาย (12) ดําเนินการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินภายในภาคที่รับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งปฏิบัติงานร่วมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด ภายในภาคที่รับผิดชอบหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน (13) ตรวจสอบเบื้องต้นและไต่สวนเบื้องต้น รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยหรือกรณีตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินแล้วพบว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายในภาคที่รับผิดชอบร่ํารวยผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ร่ํารวยผิดปกติหรือมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ หรือมีพฤติการณ์ซุกซ่อนทรัพย์สิน (14) ดําเนินการเสนอเรื่องต่อศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบและดําเนินคดีในกรณีเมื่อปรากฎว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายในภาคที่รับผิดชอบ ผู้ใดจงใจไม่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือจงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบและมีพฤติการณ์อันควรเชื่อได้ว่ามีเจตนาไม่แสดงที่มาแห่งทรัพย์สินหรือหนี้สิน (15) ดําเนินการและประสานการดําเนินการเกี่ยวกับการเปิดเผยผลการตรวจสอบและบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ และเอกสารประกอบของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินภายในภาคที่รับผิดชอบตามที่กฎหมายกําหนด (16) งานเลขานุการคณะอนุกรรมการกลั่นกรองเรื่องกล่าวหา และคณะอนุกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินประจําภาคที่รับผิดชอบ (17) จัดทําฐานข้อมูลทางด้านงานคดี งานตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน งานป้องกันการทุจริต และงานด้านการบริหารภายในภาคที่รับผิดชอบ ดําเนินการเกี่ยวกับการเงินการงบประมาณ การบัญชี และการพัสดุของสํานักงาน ป.ป.ช. ภาค และสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด ภายในภาคที่รับผิดชอบ (18) กํากับ ดูแล ประสานนโยบาย พัฒนาระบบงาน จัดอบรมและพัฒนาบุคลากรภายในภาคที่รับผิดชอบ ให้คําปรึกษาแนะนําและช่วยแก้ไขปัญหา รวมทั้งบูรณาการการปฏิบัติงานของสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดภายในภาคที่รับผิดชอบเพื่อให้การปฏิบัติราชการรวมถึงการดําเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและบรรลุผลสัมฤทธิ์ (19) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดทํา กํากับ ดูแล ติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติการและแผนการใช้งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณของสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดรวมถึงการปฏิบัติราชการในด้านอื่น 1 ของสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด ภายในภาคที่รับผิดชอบพร้อมทั้งจัดทํารายงานผลการปฏิบัติราชการของสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัดและสํานักงาน ป.ป.ช. ภาค เพื่อเสนอต่อเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. (20) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. มอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด จํานวน 76 แห่ง มีหน้าที่และอํานาจดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับการบูรณาการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประสานกับสํานักงาน ป.ป.ช. ภาค รวมถึงหน่วยงานอื่น ๆ ในการดําเนินภารกิจด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการดําเนินการเพื่อขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (2) จัดทําแผนงาน โครงการ และกิจกรรมด้านการป้องกันการทุจริตของสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด และดําเนินการตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรม รวมทั้งติดตามประเมินผลและรายงานผลการดําเนินการต่อสํานักงาน ป.ป.ช. ภาค (3) ประสาน ติดตาม และให้คําปรึกษาหรือข้อเสนอแนะกับหน่วยงานภาครัฐในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบในการดําเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (4) ประสานกับหน่วยงานในส่วนกลางสํานักงาน ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช.ภาคเพื่อร่วมตรวจสอบกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการดําเนินการอย่างใดในหน่วยงานของรัฐอันอาจนําไปสู่การทุจริตหรือส่อว่าอาจมีการทุจริต (5) ประสานกับสํานักงาน ป.ป.ช. ในส่วนกลางและสํานักงาน ป.ป.ช. ภาคเป็นเครือข่าย เพื่อร่วมกันสํารวจ ตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินสภาวการณ์การทุจริตอย่างรวดเร็ว (rapid appraisal) เพื่อให้เกิดการป้องกันโดยเร็ว (6) ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในเขตจังหวัดเพื่อเสนอความเห็นและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (7) รับเรื่องกล่าวหาในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบ และดําเนินการตรวจสอบเบื้องต้นกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่ไม่รวมถึงหน้าที่และอํานาจในการไต่สวนเบื้องต้น เว้นแต่คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะมีมติมอบหมายให้ดําเนินการไต่สวนเบื้องต้นเฉพาะกรณี (8) ตรวจสอบและพิจารณารายงานผลการดําเนินการและสํานวนเรื่องกล่าวหาการกระทําผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐภายในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ หรือส่วนราชการ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ได้ดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. พร้อมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. (9) รับและตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งมีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินภายในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบตามที่กฎหมายกําหนด (10) เปิดเผยผลการตรวจสอบและบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ และเอกสารประกอบของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินภายในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบตามที่กฎหมายกําหนด (11) จัดทําฐานข้อมูลทางด้านงานคดี งานตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินงานป้องกันการทุจริต และงานด้านการบริหารภายในเขตจังหวัดที่รับผิดชอบ (12) ประสานและปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. สํานักงาน ป.ป.ช. หรือสํานักงาน ป.ป.ช. ภาคมอบหมาย ตลอดจนสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๑๒ ให้ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติรักษาการตามประกาศนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้หรือการปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาด คําวินิจฉัยของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้เป็นที่สุด ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2561 พลตํารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7,086
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอำนาจของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการ ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ----------------------- โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 143 (1 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 7 4) แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(1) ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีหน้าที่ต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินตามที่กฎหมายกําหนดในภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงาน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และสํานักนายกรัฐมนตรี และติดตามข้อมูลและเอกสารเพิ่มเติมในกรณีที่ข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแบบบัญชีที่ยื่น" ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 8 3 แห่งประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของส่วนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(1) ตรวจสอบเบื้องต้น ไต่สวนเบื้องต้นและไต่สวน รวมทั้งเสนอความเห็นเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีมีการกล่าวหาหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐได้แก่กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงาน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และสํานักนายกรัฐมนตรี ผู้ใดกระทําความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการหรือความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือฐานความผิดอื่นที่กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกําหนดหรือที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในหน้าที่และอํานาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช." ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 พลตํารวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
7,087
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 59/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 59/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม 2553 ------------------------------ อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน มิถุนายนและกรกฎาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.50/14/53 | 50,000 | 30 มิถุนายน 2553 | 5/7/53 - 19/7/53 | 14 | | พ.51/14/53 | 50,000 | 2 กรกฎาคม 2553 | 6/7/53 – 20/7/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,088
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 74/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 74 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ---------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 40/28/54 | - | 17,000 | 4 ต.ค. 54 | 6 ต.ค 54 | 3 พ.ย. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 40/91/54 | - | 17,000 | 4 ต.ค. 54 | 6 ต.ค 54 | 5 ม.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 40/182/54 | - | 15,000 | 4 ต.ค. 54 | 6 ต.ค 54 | 5 เม.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 5/365/54 | - | 60,000 | 4 ต.ค. 54 | 6 ต.ค 54 | 3 ส.ค. 55 | 365 วัน | 302 วัน | | 41/28/54 | - | 17,000 | 13 ต.ค. 54 | 13 ต.ค. 54 | 10 พ.ย. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 41/91/54 | - | 17,000 | 13 ต.ค. 54 | 13 ต.ค. 54 | 12 ม.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 41/182/54 | - | 15,000 | 13 ต.ค. 54 | 13 ต.ค. 54 | 12 เม.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/FRB3ปี/2554 | 6M BIBOR – 0.20(= 3.49000% สําหรับงวดเริ่มต้น 15 ส.ค. 54) | 10,000 | 18 ต.ค. 54 | 18 ต.ค. 54 | 15 ก.พ. 57 | 3 ปี | 2.33 ปี | | 42/28/54 | - | 17,000 | 20 ต.ค.54 | 20 ต.ค. 54 | 17 พ.ย. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 42/91/54 | - | 17,000 | 20 ต.ค. 54 | 20 ต.ค. 54 | 19 ม.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 42/182/54 | - | 15,000 | 20 ต.ค. 54 | 20 ต.ค. 54 | 19 เม.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 43/28/54 | - | 17,000 | 25 ต.ค. 54 | 27 ต.ค. 54 | 24 พ.ย. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 43/91/54 | - | 17,000 | 25 ต.ค. 54 | 27 ต.ค. 54 | 26 ม.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 43/182/54 | - | 15,000 | 25 ต.ค. 54 | 27 ต.ค. 54 | 26 เม.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 2/2ปี/2554 | 3.42% | 45,000 | 25 ต.ค. 54 | 27 ต.ค. 54 | 18 ส.ค. 56 | 2 ปี | 1.81 ปี | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB3ปี/2554 ธปท. จะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) จะกําหนดและประกาศในวันพุธที่ 12 ตุลาคม 2554 อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,089
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 49/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 49/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤษภาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน พฤษภาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.40/14/53 | 80,000 | 26 พฤษภาคม 2553 | 31/5/53 - 14/6/53 | 14 | | พ.41/14/53 | 45,000 | 27 พฤษภาคม 2553 | 1/6/53 - 15/6/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,090
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 75/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนตุลาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 75 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2554 --------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.79/15/54 | 70,000 | 6 ตุลาคม 2554 | 10/10/54 – 25/10/54 | 15 | | พ.80/15/54 | 65,000 | 7 ตุลาคม 2554 | 11/10/54 – 26/10/54 | 15 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 5 ตุลาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,091
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 60/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 60/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.52/15/53 | 80,000 | 8 กรกฎาคม 2553 | 12/7/53 - 27/7/53 | 15 | | พ.53/15/53 | 70,000 | 9 กรกฎาคม 2553 | 13/7/53 – 28/7/53 | 15 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,092
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 50/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 50/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจําเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 22/29/53 | - | 18,000 | 1 มิ.ย. 53 | 3 มิ.ย. 53 | 2 ก.ค. 53 | 29 วัน | 29 วัน | | 22/91/53 | - | 15,000 | 1 มิ.ย. 53 | 3 มิ.ย. 53 | 2 ก.ย. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 22/182/53 | - | 12,000 | 1 มิ.ย. 53 | 3 มิ.ย. 53 | 2 ธ.ค. 53 | 182 วัน | 182 วัน | | 23/28/53 | - | 18000 | 8 มิ.ย. 53 | 10 มิ.ย. 53 | 8 ก.ค. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 23/91/53 | - | 15,000 | 8 มิ.ย. 53 | 10 มิ.ย. 53 | 9 ก.ย. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 23/182/53 | - | 12,000 | 8 มิ.ย. 53 | 10 มิ.ย. 53 | 9 ธ.ค. 53 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/FRB3ปี/2553 | 6M BIBOR-0.20 (=1.3%สําหรับงวดเริ่มต้น 16 มี.ค.53) | 15,000 | 11 มิ.ย. 53 | 15 มิ.ย. 53 | 16 มี.ค. 56 | 3 ปี | 2.75 ปี | | 24/28/53 | - | 18000 | 15 มิ.ย. 53 | 17 มิ.ย. 53 | 15 ก.ค. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 24/91/53 | - | 15,000 | 15 มิ.ย. 53 | 17 มิ.ย. 53 | 16 ก.ย. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 24/182/53 | - | 12,000 | 15 มิ.ย. 53 | 17 มิ.ย. 53 | 16 ธ.ค. 53 | 182 วัน | 182 วัน | | 6/364/53 | - | 40,000 | 15 มิ.ย. 53 | 17 มิ.ย. 53 | 16 มิ.ย. 54 | 364 วัน | 364 วัน | | 3/2ปี/2553 | จะกําหนดและประกาศในวันที่ 11 มิ.ย.53 | 30,000 | 15 มิ.ย. 53 | 17 มิ.ย. 53 | 17 มิ.ย. 55 | 2 ปี | 2 ปี | | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 25/28/53 | - | 18,000 | 22 มิ.ย.53 | 24 มิ.ย.53 | 22 ก.ค. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 25/91/53 | - | 15,000 | 22 มิ.ย.53 | 24 มิ.ย.53 | 23 ก.ย. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 25/182/53 | - | 12,000 | 22 มิ.ย.53 | 24 มิ.ย.53 | 23 ธ.ค. 53 | 182 วัน | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 3/2ปี/2553 มีรายละเอียด ดังนี | | | | | --- | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 11 มิ.ย. 2553 | | | | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่าๆ กัน | | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 17 มิ.ย. และ 17 ธ.ค. ของทุกปี | | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 17 ธ.ค. 2553 | | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 17 มิถุนายน 2555 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB3ปี/2553 ธปท. จะประกาศกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ในวันพุธที่ 9 มิถุนายน 2553 อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤษภาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,093
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 76/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนตุลาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 76 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2554 --------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.81/14/54 | 65,000 | 13 ตุลาคม 2554 | 17/10/54 – 31/10/54 | 14 | | พ.82/14/54 | 55,000 | 14 ตุลาคม 2554 | 18/10/54 – 1/11/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,094
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 51/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 51/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน มิถุนายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.42/14/53 | 45,000 | 3 มิถุนายน 2553 | 7/6/53 - 21/6/53 | 14 | | พ.43/14/53 | 35,000 | 4 มิถุนายน 2553 | 8/6/53 - 22/6/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,095
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 61/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 61/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.54/14/53 | 60,000 | 15 กรกฎาคม 2553 | 19/7/53 – 2/8/53 | 14 | | พ.55/14/53 | 60,000 | 16 กรกฎาคม 2553 | 20/7/53 – 3/8/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 14 กรกฎาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,096
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 52/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 52/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.44/14/53 | 80,000 | 10 มิถุนายน 2553 | 14/6/53 - 28/6/53 | 14 | | พ.45/14/53 | 55,000 | 11 มิถุนายน 2553 | 15/6/53 – 29/6/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,097
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 62/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 62/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน กรกฎาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.56/13/53 | 70,000 | 22 กรกฎาคม 2553 | 27/7/53 – 9/8/53 | 13 | | พ.57/13/53 | 45,000 | 23 กรกฎาคม 2553 | 28/7/53 – 10/8/53 | 13 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,098
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 78/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยในการคำนวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 78/2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554 --------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554 ที่จะประมูลในวันที่ 14 ตุลาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งป อื่นๆ - 3. เนื้อหา ตามกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2554 ที่จะเปิดประมูลพันธบัตรประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554 ในวันที่ 14 ตุลาคม 2554 โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศอัตราดอกเบี้ยเพื่อใช้ในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวในวันที่ 12 ตุลาคม 2554 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวเพื่อใช้สําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) เท่ากับร้อยละ 3.62103 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) เท่ากับร้อยละ 3.67333 ต่อปี อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,099
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 53/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยในการคำนวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 53/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 11 มิถุนายน ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2553 ที่จะเปิดประมูลพันธบัตรประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3ปี/2553 ในวันที่ 11 มิถุนายน 2553 โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศอัตราดอกเบี้ยเพื่อใช้ในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวในวันที่ 9 มิถุนายน 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวเพื่อใช้สําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) เท่ากับร้อยละ 1.39202 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) เท่ากับร้อยละ 1.54266 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,100
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 79/2554 เรื่อง การประกาศผลการจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 79 /2554 เรื่อง การประกาศผลการจําหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 ------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อประกาศผลการจําหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 ตามรายละเอียดที่ระบุในประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 61/2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สกง. 57/2554 ว่าด้วยการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยขอประกาศผลการจําหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 ดังนี้ หน่วย: ล้านบาท | | | | --- | --- | | จํานวนเงิน | จํานวนเงินรวม | | อายุ 3 ปี | อายุ 7 ปี | | 7,459.94 | 8,357.79 | 15,817.73 | ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,101
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 54/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจำเดือนมิถุนายน ปี 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 54/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนมิถุนายน ปี 2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนมิถุนายน ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนมิถุนายน ปี 2553 (รุ่นที่ 3/2 ปี/2553) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันที่ 11 มิถุนายน 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 3/2 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 15 มิถุนายน 2553 เท่ากับร้อยละ 2.20 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,102
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 63/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 63/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกรกฎาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน กรกฎาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.58/14/53 | 50,000 | 29 กรกฎาคม 2553 | 2/8/53 – 16/8/53 | 14 | | พ.59/14/53 | 70,000 | 30 กรกฎาคม 2553 | 3/8/53 – 17/8/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 (นายบัณฑิต นิจถาวร) ผู้ช่วยผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,103
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 81/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนตุลาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 81 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2554 ---------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.83/13/54 | 70,000 | 20 ตุลาคม 2554 | 25/10/54 – 7/11/54 | 13 | | พ.84/13/54 | 65,000 | 21 ตุลาคม 2554 | 26/10/54 – 8/11/54 | 13 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,104
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 82/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนตุลาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 82 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2554 ----------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุสาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.85/14/54 | 60,000 | 27 ตุลาคม 2554 | 31/10/54 – 14/11/54 | 14 | | พ.86/14/54 | 45,000 | 28 ตุลาคม 2554 | 1/11/54 – 15/11/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 26 ตุลาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,105
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 55/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 55/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนมิถุนายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.46/14/53 | 40,000 | 17 มิถุนายน 2553 | 21/6/53 - 5/7/53 | 14 | | พ.47/14/53 | 40,000 | 18 มิถุนายน 2553 | 22/6/53 – 6/7/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 16 มิถุนายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,106
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 83/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 83 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 44/28/54 | - | 15,000 | 1 พ.ย. 54 | 3 พ.ย. 54 | 1 ธ.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 44/91/54 | - | 17,000 | 1 พ.ย. 54 | 3 พ.ย. 54 | 2 ก.พ. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 44/182/54 | - | 18,000 | 1 พ.ย. 54 | 3 พ.ย. 54 | 3 พ.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 6/364/54 | - | 50,000 | 1 พ.ย. 54 | 3 พ.ย. 54 | 1 พ.ย. 55 | 364 วัน | 364 วัน | | 45/28/54 | - | 15,000 | 1 พ.ย. 54 | 3 พ.ย. 54 | 8 ธ.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 45/91/54 | - | 17,000 | 8 พ.ย. 54 | 10 พ.ย. 54 | 9 ก.พ. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 45/182/54 | - | 18,000 | 8 พ.ย. 54 | 10 พ.ย. 54 | 10 พ.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 46/28/54 | - | 15,000 | 8 พ.ย. 54 | 10 พ.ย. 54 | 15 ธ.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 46/91/54 | - | 17,000 | 15 พ.ย. 54 | 17 พ.ย. 54 | 16 ก.พ. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 46/182/54 | - | 18,000 | 15 พ.ย. 54 | 17 พ.ย. 54 | 17 พ.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 3/3ปี/2554 | 3.40% | 35,000 | 15 พ.ย. 54 | 17 พ.ย. 54 | 8 ก.ย. 54 | 3 ปี | 2.81 ปี | | 47/28/54 | - | 15,000 | 22 พ.ย. 54 | 24 พ.ย. 54 | 22 ธ.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 47/91/54 | - | 17,000 | 22 พ.ย. 54 | 24 พ.ย. 54 | 23 ก.พ. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 47/182/54 | - | 18,000 | 22 พ.ย. 54 | 24 พ.ย. 54 | 24 พ.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/4ปี/2554 | - | 30,000 | 22 พ.ย. 54 | 24 พ.ย. 54 | 24 ก.พ. 58 | 4 ปี | 3.25 ปี | | 1/FRB2ปี/2554 | 3M BIBOR – 0.20(= 3.40000% สําหรับงวดเริ่มต้น 22 ก.ย. 54) | 10,000 | 25 พ.ย. 54 | 29 พ.ย. 54 | 22 มี.ค. 56 | 2 ปี | 1.31 ปี | | 48/28/54 | - | 15,000 | 29 พ.ย. 54 | 1 ธ.ค. 54 | 29 ธ.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 48/91/54 | - | 17,000 | 29 พ.ย. 54 | 1 ธ.ค. 54 | 1 มี.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 48/182/54 | - | 18,000 | 29 พ.ย. 54 | 1 ธ.ค. 54 | 31 พ.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB2ปี/2554 ธปท. จะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) จะกําหนดและประกาศในวันพุธที่ 23 พฤศจิกายน 2554 อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,107
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 64/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 64/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจําเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 31/28/53 | - | 22,000 | 3 ส.ค. 53 | 5 ส.ค. 53 | 2 ก.ย. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 31/91/53 | - | 15,000 | 3 ส.ค. 53 | 5 ส.ค. 53 | 4 พ.ย. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 31/182/53 | - | 12,000 | 3 ส.ค. 53 | 5 ส.ค. 53 | 3 ก.พ. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 8/364/53 | - | 50,000 | 3 ส.ค. 53 | 5 ส.ค. 53 | 4 ส.ค. 54 | 364 วัน | 364 วัน | | 32/24/53 | - | 22,000 | 10 ส.ค. 53 | 16 ส.ค. 53 | 9 ก.ย. 53 | 24 วัน | 24 วัน | | 32/87/53 | - | 15,000 | 10 ส.ค. 53 | 16 ส.ค. 53 | 11 พ.ย. 53 | 87 วัน | 87 วัน | | 32/178/53 | - | 12,000 | 10 ส.ค. 53 | 16 ส.ค. 53 | 10 ก.พ. 54 | 178 วัน | 178 วัน | | 33/28/53 | - | 20,000 | 17 ส.ค. 53 | 19 ส.ค. 53 | 16 ก.ย. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 33/91/53 | - | 15,000 | 17 ส.ค. 53 | 19 ส.ค. 53 | 18 พ.ย. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 33/182/53 | - | 12,000 | 17 ส.ค. 53 | 19 ส.ค. 53 | 17 ก.พ. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 4/2ปี/2553 | จะกําหนดและประกาศในวันที่ 11ส.ค. 53 | 60,000 | 17 ส.ค.53 | 19 ส.ค.53 | 19 ส.ค.55 | 2 ปี | 2 ปี | | 34/28/53 | - | 20,000 | 24 ส.ค. 53 | 26 ส.ค. 53 | 23 ก.ย. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 34/91/53 | - | 15,000 | 24 ส.ค. 53 | 26 ส.ค. 53 | 25 พ.ย. 53 | 91 วัน | 91 วัน | | 34/182/53 | - | 12,000 | 24 ส.ค. 53 | 26 ส.ค. 53 | 24 ก.พ. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 1/FRB3ปี/2553 | 6M BIBOR-0.20 (=1.3% สําหรับงวดเริ่มต้น 16 มี.ค. 53) | 15,000 | 27 ส.ค.53 | 31 ส.ค.53 | 16 มี.ค.56 | 3 ปี | 2.54 ปี | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 4/2ปี/2553 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | | --- | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 11 ส.ค. 2553 | | | | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่าๆ กัน | | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 19 ส.ค. และ 19 ก.พ. ของทุกปี | | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 19 ก.พ. 2554 | | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 19 สิงหาคม 2555 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB3ปี/2553 ธปท. จะประกาศกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ในวันพุธที่ 25 สิงหาคม 2553 อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553 (นายบัณฑิต นิจถาวร) รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,108
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 109/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำเดือนมกราคม พ.ศ. 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 109/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจําเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 1/28/54 | - | 25,000 | 4 ม.ค. 54 | 6 ม.ค. 54 | 3 ก.พ. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 1/91/54 | - | 22,000 | 4 ม.ค. 54 | 6 ม.ค. 54 | 7 เม.ย. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 1/182/54 | - | 15,000 | 4 ม.ค. 54 | 6 ม.ค. 54 | 7 ก.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/364/54 | - | 60,000 | 4 ม.ค. 54 | 6 ม.ค. 54 | 5 ม.ค. 55 | 364 วัน | 364 วัน | | 2/28/54 | - | 25,000 | 11 ม.ค. 54 | 13 ม.ค. 54 | 10 ก.พ. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 2/95/54 | - | 22,000 | 11 ม.ค. 54 | 13 ม.ค. 54 | 18 เม.ย. 54 | 95 วัน | 95 วัน | | 2/182/54 | - | 15,000 | 11 ม.ค. 54 | 13 ม.ค. 54 | 14 ก.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 3/28/54 | - | 25,000 | 18 ม.ค. 54 | 20 ม.ค. 54 | 17 ก.พ. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 3/91/54 | - | 22,000 | 18 ม.ค. 54 | 20 ม.ค. 54 | 21 เม.ย 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 3/182/54 | - | 15,000 | 18 ม.ค. 54 | 20 ม.ค. 54 | 21 ก.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 4/28/54 | - | 25,000 | 25 ม.ค. 54 | 27 ม.ค. 54 | 24 ก.พ. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 4/91/54 | - | 22,000 | 25 ม.ค. 54 | 27 ม.ค. 54 | 28 เม.ย. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 4/182/54 | - | 15,000 | 25 ม.ค. 54 | 27 ม.ค. 54 | 28 ก.ค. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 4/3ปี/2553 | 2.53% | 40,000 | 25 ม.ค. 54 | 27 ม.ค. 54 | 18 พ.ย. 56 | 3 ปี | 2.81 ปี | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 29 ธันวาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,109
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 108/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 108/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.102/13/53 | 80,000 | 29 ธันวาคม 2553 | 4/1/54 – 17/1/54 | 13 | | พ.103/13/53 | 75,000 | 30 ธันวาคม 2553 | 5/1/54 – 18/1/54 | 13 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,110
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 84/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนพฤศจิกายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 84 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 ---------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.87/14/54 | 60,000 | 3 พฤศจิกายน 2554 | 7/11/54 – 21/11/54 | 14 | | พ.88/14/54 | 60,000 | 4 พฤศจิกายน 2554 | 8/11/54 – 22/11/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,111
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 65/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 65/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน สิงหาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.60/14/53 | 70,000 | 5 สิงหาคม2553 | 9/8/53 – 23/8/53 | 14 | | พ.61/14/53 | 55,000 | 6 สิงหาคม2553 | 10/8/53 – 24/8/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 4 สิงหาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 สิงหาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,112
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 107/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 107/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.100/14/53 | 80,000 | 23 ธันวาคม 2553 | 27/12/53 – 10/1/54 | 14 | | พ.101/14/53 | 80,000 | 24 ธันวาคม 2553 | 28/12/53 – 11/1/54 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,113
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 67/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 67/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.62/14/53 | 60,000 | 10 สิงหาคม 2553 | 16/8/53 – 30/8/53 | 14 | | พ.63/14/53 | 70,000 | 11 สิงหาคม 2553 | 17/8/53 – 31/8/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 สิงหาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,114
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 85/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนพฤศจิกายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 85/2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 ---------------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.89/14/54 | 65,000 | 10 พฤศจิกายน 2554 | 14/11/54 – 28/11/54 | 14 | | พ.90/14/54 | 50,000 | 11 พฤศจิกายน 2554 | 15/11/54 – 29/11/54 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,115
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 106/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจำเดือนธันวาคม ปี 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 106/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนธันวาคม ปี 2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนธันวาคม ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนธันวาคม ปี 2553 (รุ่นที่ 6/2 ปี/2553) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันที่ 17 ธันวาคม 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 6/2 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 21 ธันวาคม 2553 เท่ากับร้อยละ 2.82 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 17 ธันวาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 ธันวาคม 2553 (นางอัจนา ไวความดี) รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,116
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 86/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนพฤศจิกายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 86 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 ------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยไต้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.91/15/54 | 65,000 | 17 พฤศจิกายน 2554 | 21/11/54 – 6/12/54 | 15 | | พ.92/15/54 | 65,000 | 18 พฤศจิกายน 2554 | 22/11/54 – 7/12/54 | 15 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,117
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 68/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจำเดือนสิงหาคม ปี2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 68/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนสิงหาคม ปี2553 -------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนสิงหาคม ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนสิงหาคม ปี 2553 (รุ่นที่ 4/2 ปี/2553) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันที่ 11 สิงหาคม 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 4/2 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 17 สิงหาคม 2553 เท่ากับร้อยละ 2.48 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,118
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 105/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 105/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.98/15/53 | 80,000 | 16 ธันวาคม 2553 | 20/12/53 – 4/1/54 | 15 | | พ.99/15/53 | 75,000 | 17 ธันวาคม 2553 | 21/12/53 – 5/1/54 | 15 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 14 ธันวาคม 2553 (นางอัจนา ไวความดี) รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,119
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 87/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนพฤศจิกายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 87 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 ---------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประ อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.93/15/54 | 65,000 | 24 พฤศจิกายน 2554 | 28/11/54 – 13/12/54 | 15 | | พ.94/15/54 | 50,000 | 25 พฤศจิกายน 2554 | 29/11/54 – 14/12/54 | 15 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,120
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 104/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 104/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.96/14/53 | 80,000 | 8 ธันวาคม 2553 | 13/12/53 – 27/12/53 | 14 | | พ.96/14/53 | 80,000 | 9 ธันวาคม 2553 | 14/12/53 – 28/12/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 7 ธันวาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยว่าการ สายการตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,121
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 88/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยในการคำนวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 88 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ----------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ที่จะประมูลในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ตามกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ที่จะเปิดประมูลพันธบัตรประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2554 โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศอัตราดอกเบี้ยเพื่อใช้ในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าว ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวเพื่อใช้สําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) เท่ากับร้อยละ 347604 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) เท่ากับร้อยละ 3.47333 ต่อปี อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) ผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,122
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 69/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 69/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน สิงหาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.64/14/53 | 70,000 | 19 สิงหาคม 2553 | 23/8/53 – 6/9/53 | 14 | | พ.65/14/53 | 60,000 | 20 สิงหาคม 2553 | 24/8/53 – 7/9/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,123
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 89/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 อายุ 3 ปี สำหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 89 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 อายุ 3 ปี สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 ---------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 อายุ 3 ปี สําหรับงวดเ อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สกง. 57/2554 ว่าด้วยการออกพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรออมทรัพย์ธนาคารแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554 ครั้งที่ 1 อายุ 3 ปี สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 เท่ากับร้อยละ 3.45667 ต่อปี (เท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงระยะสั้นการกู้ยืมเงินระหว่างธนาคารของตลาดกรุงเทพฯ (BIBOR) ระยะ 3 เดือน ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2554) อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 24 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,124
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 103/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยในการคำนวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 103/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 2 ธันวาคม ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 ที่จะเปิดประมูลพันธบัตรประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3ปี/2553 ในวันที่ 2 ธันวาคม 2553 โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศอัตราดอกเบี้ยเพื่อใช้ในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวเพื่อใช้สําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) เท่ากับร้อยละ 1.90753 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) เท่ากับร้อยละ 2.00000 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,125
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 102/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 102/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.94/13/53 | 80,000 | 2 ธันวาคม 2553 | 7/12/53 – 20/12/53 | 13 | | พ.95/13/53 | 75,000 | 3 ธันวาคม 2553 | 8/12/53 – 21/12/53 | 13 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยว่าการ สายการตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,126
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 70/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 70/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนสิงหาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน สิงหาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.66/14/53 | 70,000 | 26 สิงหาคม 2553 | 30/8/53 – 13/9/53 | 14 | | พ.67/14/53 | 80,000 | 27 สิงหาคม 2553 | 31/8/53 – 14/9/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 สิงหาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,127
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 91/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 91 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 -------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.95/13/54 | 70,000 | 1 ธันวาคม 2554 | 6/12/54 – 19/12/54 | 13 | | พ.96/13/54 | 65,000 | 2 ธันวาคม 2554 | 7/12/54 – 20/12/54 | 13 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,128
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 101/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 101/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจําเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 48/28/53 | - | 25,000 | 30 พ.ย. 53 | 02 ธ.ค. 53 | 30 ธ.ค. 53 | 28 วัน | 28 วัน | | 48/91/53 | - | 15,000 | 30 พ.ย. 53 | 02 ธ.ค. 53 | 03 มี.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 48/182/53 | - | 12,000 | 30 พ.ย. 53 | 02 ธ.ค. 53 | 02 มิ.ย. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/FRB3ปี/2553 | 6M BIBOR-0.20(= 1.79625% สําหรับงวดเริ่มต้น 16 ก.ย. 53) | 18,000 | 02 ธ.ค. 53 | 07 ธ.ค. 53 | 16 มี.ค. 56 | 3 ปี | 2.27 ปี | | 49/28/53 | - | 25,000 | 07 ธ.ค.53 | 09 ธ.ค.53 | 06 ม.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 49/91/53 | - | 15,000 | 07 ธ.ค.53 | 09 ธ.ค.53 | 10 มี.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 49/182/53 | - | 12,000 | 07 ธ.ค.53 | 09 ธ.ค.53 | 09 มิ.ย. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 50/28/53 | - | 22,000 | 14 ธ.ค. 53 | 16 ธ.ค. 53 | 13 ม.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 50/91/53 | - | 12,000 | 14 ธ.ค. 53 | 16 ธ.ค. 53 | 17 มี.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 50/182/53 | - | 12,000 | 14 ธ.ค. 53 | 16 ธ.ค. 53 | 16 มิ.ย. 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 11/364/53 | - | 30,000 | 14 ธ.ค. 53 | 16 ธ.ค. 53 | 3 พ.ย. 54 | 364 วัน | 364 วัน | | 51/28/53 | - | 22,000 | 21 ธ.ค. 53 | 23 ธ.ค. 53 | 20 ม.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 51/91/53 | - | 12,000 | 21 ธ.ค. 53 | 23 ธ.ค. 53 | 24 มี.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 51/182/53 | - | 12,000 | 21 ธ.ค. 53 | 23 ธ.ค. 53 | 23 มิ.ย 54 | 182 วัน | 182 วัน | | 6/2ปี/2553 | จะกําหนดและประกาศในวันที่ 17 ธ.ค. 2553 | 20,000 | 21 ธ.ค. 53 | 23 ธ.ค. 53 | 23 ธ.ค. 55 | 2 ปี | 2 ปี | | 52/28/53 | - | 22,000 | 28 ธ.ค. 53 | 30 ธ.ค. 53 | 27 ม.ค. 54 | 28 วัน | 28 วัน | | 52/91/53 | - | 12,000 | 28 ธ.ค. 53 | 30 ธ.ค. 53 | 31 มี.ค. 54 | 91 วัน | 91 วัน | | 52/182/53 | - | 12,000 | 28 ธ.ค. 53 | 30 ธ.ค. 53 | 30 มิ.ย. 54 | 182 วัน | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 6/2ปี/2553 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 17 ธ.ค. 2553 | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่า ๆ กัน | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 23 มิ.ย. และ 23 ธ.ค. ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 23 มิ.ย. 2554 | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 23 ธันวาคม 2555 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB3ปี/2553 ธปท. จะประกาศกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) ในวันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน 2553 อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 24 พฤศจิกายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,129
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 92/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 92 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 -------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคมพ.ศ. 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 49/28/54 | - | 16,000 | 6 ธ.ค. 54 | 8 ธ.ค. 54 | 5 ม.ค. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 49/91/54 | - | 20,000 | 6 ธ.ค. 54 | 8 ธ.ค. 54 | 8 มี.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 49/182/54 | - | 20,000 | 6 ธ.ค. 54 | 8 ธ.ค. 54 | 7 มิ.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 6/364/54 | - | 50,000 | 6 ธ.ค. 54 | 8 ธ.ค. 54 | 1 พ.ย. 55 | 364 วัน | 329 วัน | | 1/FRB3ปี/2554 | 6M BIBOR – 0.20(=3.49000% สําหรับงวดเริ่มต้น 15 ส.ค. 54) | 10,000 | 8 ธ.ค. 54 | 13 ธ.ค. 54 | 15 ก.พ. 57 | 3 ปี | 2.18 ปี | | 50/28/54 | - | 16,000 | 13 ธ.ค. 54 | 15 ธ.ค. 54 | 12 ม.ค. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 50/91/54 | - | 20,000 | 13 ธ.ค. 54 | 15 ธ.ค. 54 | 15 มี.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 50/182/54 | - | 20,000 | 13 ธ.ค. 54 | 15 ธ.ค. 54 | 14 มิ.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 51/28/54 | - | 16,000 | 20 ธ.ค. 54 | 22 ธ.ค. 54 | 19 ม.ค. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 51/81/54 | - | 20,000 | 20 ธ.ค. 54 | 22 ธ.ค. 54 | 22 มี.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 51/182/54 | - | 20,000 | 20 ธ.ค. 54 | 22 ธ.ค. 54 | 21 มิ.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 3/2ปี/2554 | จะกําหนดและประกาศในวันที่ 16 ธ.ค. 2554 | 40,000 | 20 ธ.ค. 54 | 22 ธ.ค. 56 | 22 ธ.ค. 56 | 2 ปี | 2 ปี | | 52/28/54 | - | 16,000 | 27 ธ.ค 54 | 26 ธ.ค. 54 | 26 ม.ค. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 52/91/54 | - | 20,000 | 27 ธ.ค 54 | 26 ธ.ค. 54 | 29 มี.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 52/182/54 | - | 20,000 | 27 ธ.ค 54 | 26 ธ.ค. 54 | 28 มิ.ย. 55 | 182 วัน | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 3/2ปี/2554 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 6 ธันวาคม 2554 | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่า ๆ กัน | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 22 มิถุนายน และ 22 ธันวาคม ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 22 มิถุนายน 2555 | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 22 ธันวาคม 2556 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 1/FRB3ปี/2554 ธปท. จะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาสําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) จะกําหนดและประกาศในวันอังคารที่ 6 ธันวาคม 2554 อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,130
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 71/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำเดือนกันยายน พ.ศ. 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 71/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุคงเหลือ | | 35/28/53 | - | 22,000 | 31-ส.ค.-53 | 2-ก.ย.-53 | 30-ก.ย.-53 | 28 วัน | 28 วัน | | 35/91/53 | - | 15,000 | 31-ส.ค.-53 | 2-ก.ย.-53 | 2-ธ.ค.-53 | 91 วัน | 91 วัน | | 35/182/53 | - | 12,000 | 31-ส.ค.-53 | 2-ก.ย.-53 | 3-มี.ค.-54 | 182 วัน | 182 วัน | | 36/28/53 | - | 22,000 | 7-ก.ย.-53 | 9-ก.ย.-53 | 7-ต.ค.-53 | 28 วัน | 28 วัน | | 36/91/53 | - | 15,000 | 7-ก.ย.-53 | 9-ก.ย.-53 | 9-ธ.ค.-53 | 91 วัน | 91 วัน | | 36/182/53 | - | 12,000 | 7-ก.ย.-53 | 9-ก.ย.-53 | 10-มี.ค.-54 | 182 วัน | 182 วัน | | 37/28/53 | - | 22,000 | 14-ก.ย.-53 | 16-ก.ย.-53 | 14-ต.ค.-53 | 28 วัน | 28 วัน | | 37/91/53 | - | 15,000 | 14-ก.ย.-53 | 16-ก.ย.-53 | 16-ธ.ค.-53 | 91 วัน | 91 วัน | | 37/182/53 | - | 12,000 | 14-ก.ย.-53 | 16-ก.ย.-53 | 17-มี.ค.-54 | 182 วัน | 182 วัน | | 9/364/53 | - | 30,000 | 14-ก.ย.-53 | 16-ก.ย.-53 | 15-ก.ย.-54 | 364 วัน | 364 วัน | | 38/28/53 | - | 22,000 | 21-ก.ย.-53 | 23-ก.ย.-53 | 21-ต.ค.-53 | 28 วัน | 28 วัน | | 38/91/53 | - | 15,000 | 21-ก.ย.-53 | 23-ก.ย.-53 | 23-ธ.ค.-53 | 91 วัน | 91 วัน | | 38/182/53 | - | 12,000 | 21-ก.ย.-53 | 23-ก.ย.-53 | 24-มี.ค.-54 | 182 วัน | 182 วัน | | 3/3ปี/2553 | จะกําหนดและประกาศในวันที่ 17 ก.ย. 2553 | 40,000 | 21-ก.ย.-53 | 23-ก.ย.-53 | 23-ก.ย.-56 | 3 ปี | 3 ปี | | 39/28/53 | - | 22,000 | 23-ก.ย.-53 | 30-ก.ย.-53 | 28-ต.ค.-53 | 28 วัน | 28 วัน | | 39/91/53 | - | 15,000 | 28-ก.ย.-53 | 30-ก.ย.-53 | 30-ธ.ค.-53 | 91 วัน | 91 วัน | | 39/182/53 | - | 12,000 | 28-ก.ย.-53 | 30-ก.ย.-53 | 31-มี.ค.-54 | 182 วัน | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่3/3ปี/2553 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | | --- | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 17 ก.ย. 2553 | | | | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่าๆ กัน | | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 23 มี.ค. และ 23 ก.ย. ของทุกปี | | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 23 มี.ค. 2554 | | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 23 กันยายน 2556 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,131
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 99/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 99/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.92/14/53 | 80,000 | 25 พฤศจิกายน 2553 | 29/11/53 – 13/12/53 | 14 | | พ.93/14/53 | 80,000 | 26 พฤศจิกายน 2553 | 30/11/53 – 14/12/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 24 พฤศจิกายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยว่าการ สายการตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,132
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 93/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยในการคำนวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 93/2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554 ----------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554 ที่จะประมูลในวันที่ 8 ธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศ อื่นๆ - 3. เนื้อหา ตามกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2554 ที่จะเปิดประมูลพันธบัตรประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2554 ในวันที่ 8 ธันวาคม 2554 โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศอัตราดอกเบี้ยเพื่อใช้ในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวในวันที่ 6 ธันวาคม 2554 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวเพื่อใช้สําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) เท่ากับร้อยละ 3.27552 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) เท่ากับร้อยละ 3.31231 ต่อปี อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 6 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน ธนาคารแห่งประเทศไทย
7,133
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 98/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 98/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.90/15/53 | 80,000 | 18 พฤศจิกายน 2553 | 22/11/53 – 7/12/53 | 15 | | พ.91/15/53 | 75,000 | 19 พฤศจิกายน 2553 | 23/11/53 – 8/12/53 | 15 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 17 พฤศจิกายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2553 (นางอัจนา ไวความดี) รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรสภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,134
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 72/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยในการคำนวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 72/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคา สําหรับพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 27 สิงหาคม ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2553 ที่จะเปิดประมูลพันธบัตรประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 ในวันที่ 27 สิงหาคม 2553 โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะประกาศอัตราดอกเบี้ยเพื่อใช้ในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าว ในวันที่ 25 สิงหาคม 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยในการคํานวณราคาพันธบัตรดังกล่าวเพื่อใช้สําหรับช่วงวันชําระเงินถึงวันจ่ายดอกเบี้ยถัดไป (I1) เท่ากับร้อยละ 1.72407 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (I2) เท่ากับร้อยละ 1.95359 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,135
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 94/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนธันวาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 94 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 ----------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.97/13/54 | 70,000 | 8 ธันวาคม 2554 | 13/12/54 – 26/12/54 | 13 | | พ.98/13/54 | 55,000 | 9 ธันวาคม 2554 | 14/12/54 – 27/12/54 | 13 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 7 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,136
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 97/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจำเดือนพฤศจิกายน ปี 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 97/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจําเดือนพฤศจิกายน ปี 2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจําเดือนพฤศจิกายน ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 3 ปี ประจําเดือนพฤศจิกายน ปี 2553 (รุ่นที่ 4/3 ปี/2553) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 4/3 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 เท่ากับร้อยละ 2.53 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,137
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 95/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนธันวาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 95/2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 ------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุ ไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.99/15/54 | 60,000 | 15 ธันวาคม 2554 | 19/12/54 – 3/1/54 | 15 | | พ.100/15/54 | 55,000 | 16 ธันวาคม 2554 | 20/12/54 – 4/1/55 | 15 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 14 ธันวาคม 2554 (นางสุชาดา กิระกุล) รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,138
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 74/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 74/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน กันยายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.68/14/53 | 80,000 | 2 กันยายน 2553 | 6/9/53 - 20/9/53 | 14 | | พ.69/14/53 | 70,000 | 3 กันยายน 2553 | 7/9/53 – 21/9/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,139
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 96/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 96/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนพฤศจิกายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.88/14/53 | 90,000 | 11 พฤศจิกายน 2553 | 15/11/53 – 29/11/53 | 14 | | พ.89/14/53 | 85,000 | 12 พฤศจิกายน 2553 | 16/11/53 – 30/11/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,140
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 96/2554 เรื่อง แก้ไขกำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนธันวาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 96 /2554 เรื่อง แก้ไขกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 ----------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อแก้ไขกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 ตามประกาศ ธปท. ที่ สกง.95/2554 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2554 เรื่องกําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา 1. ยกเลิกการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยรุ่นที่ พ.99/15/54 ที่จะประมูลในวันที่ 15 ธันวาคม 2554 และ 2. แก้ไขวงเงินการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยรุ่นที่ พ.100/15/54 ที่จะประมูลในวันที่ 16 ธันวาคม 2554 จากวงเงินเดิม 55,000 ล้านบาท เป็น 80,000 ล้านบาท รายละเอียดดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.100/15/54 | 80,000 | 16 ธันวาคม 2554 | 20/12/54 – 4/1/55 | 15 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 15 ธันวาคม 2554 (นางสุชาดา กิระกุล) รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,141
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 97/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจำเดือนธันวาคม ปี 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 97/2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนธันวาคม ปี 2554 -------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนธันวาคม ปี 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนธันวาคม ปี 2554 (รุ่นที่ 3/2ปี/2554) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันที่ 16 ธันวาคม 2554 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 3/2ปี/2554 ที่จะประมูลในวันที่ 20 ธันวาคม 2554 เท่ากับร้อยละ 3.00 ต่อปี อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 16 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 ธันวาคม 2554 (นางสุชาดา กิระกุล) รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,142
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 93/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 93/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 --------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ดังนี้ | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | | 44/28/53 | 25,000 | 2 พ.ย. 53 | 4 พ.ย. 53 | 2 ธ.ค. 53 | 28 วัน | | 44/91/53 | 20,000 | 2 พ.ย 53 | 4 พ.ย 53 | 3 ก.พ. 54 | 91 วัน | | 44/183/53 | 20,000 | 2 พ.ย. 53 | 4 พ.ย. 53 | 6 พ.ค. 54 | 183 วัน | | 11/364/53 | 60,000 | 2 พ.ย. 53 | 4 พ.ย. 53 | 3 พ.ย. 54 | 364 วัน | | 45/28/53 | 25,000 | 9 พ.ย. 53 | 11 พ.ย. 53 | 9 ธ.ค. 53 | 28 วัน | | 45/91/53 | 20,000 | 9 พ.ย. 53 | 11 พ.ย 53 | 10 ก.พ. 54 | 91 วัน | | 45/182/53 | 20,000 | 9 พ.ย. 53 | 11 พ.ย. 53 | 12 พ.ค. 54 | 182 วัน | | 46/28/53 | 25,000 | 16 พ.ย. 53 | 18 พ.ย. 53 | 16 ธ.ค. 53 | 28 วัน | | 46/91/53 | 20,000 | 16 พ.ย. 53 | 18 พ.ย. 53 | 17 ก.พ. 54 | 91 วัน | | 46/182/53 | 20,000 | 16 พ.ย. 53 | 18 พ.ย 53 | 19 พ.ค. 54 | 182 วัน | | 4/3ปี/2553 | 50,000 | 16 พ.ย. 53 | 18 พ.ย. 53 | 18 พ.ย 56 | 3 ปี | | 47/28/53 | 25,000 | 23 พ.ย. 53 | 25 พ.ย. 53 | 23 ธ.ค. 53 | 28 วัน | | 47/91/53 | 20,000 | 23 พ.ย. 53 | 25 พ.ย. 53 | 24 ก.พ. 54 | 91 วัน | | 47/182/53 | 20,000 | 23 พ.ย. 53 | 25 พ.ย. 53 | 26 พ.ค. 54 | 182 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่4/3ปี/2553 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | | --- | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 14 พ.ย. 2553 | | | | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่าๆ กัน | | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 18 พ.ค. และ 18 พ.ย. ของทุกปี | | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 18 พ.ค. 2554 | | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มตามจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 ตุลาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,143
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 98/2554 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554สำหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 ธันวาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 98 /2554 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 ธันวาคม 2554 ------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัวอายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 ธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 2 ปี รุ่นที่ 1/FRB 2 ปี/2554 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 22 ธันวาคม 2554 เท่ากับร้อยละ 3.07538 ต่อปี (เท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงระยะสั้นการกู้ยืมเงินระหว่างธนาคารของตลาดกรุงเทพฯ (BIBOR) ระยะ 3 เดือน ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2554 ลบร้อยละ 0.2) อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,144
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 92/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 92/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.84/14/53 | 80,000 | 28 ตุลาคม 2553 | 1/11/53 – 15/11/53 | 14 | | พ.85/14/53 | 80,000 | 29 ตุลาคม 2553 | 2/11/53 – 16/11/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 27 ตุลาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,145
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 99/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนธันวาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 99 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 ------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุ ไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.101/14/54 | 65,000 | 22 ธันวาคม 2554 | 26/12/54 – 9/1/55 | 14 | | พ.102/14/54 | 40,000 | 23 ธันวาคม 2554 | 27/12/54 – 10/1/55 | 14 | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 21 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,146
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 75/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 75/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนกันยายน 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือน กันยายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.70/14/53 | 70,000 | 9 กันยายน 2553 | 13/9/53 - 27/9/53 | 14 | | พ.71/14/53 | 80,000 | 10 กันยายน 2553 | 14/9/53 – 28/9/53 | 14 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 8 กันยายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,147
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 90/2553 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 90/2553 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2553 ---------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนตุลาคม 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน-วันครบกําหนด | อายุ | | (ล้านบาท) | (วัน) | | พ.82/13/53 | 75,000 | 21 ตุลาคม 2553 | 26/10/53 – 8/11/53 | 13 | | พ.83/13/53 | 75,000 | 22 ตุลาคม 2553 | 27/10/53 – 9/11/53 | 13 | อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 20 ตุลาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,148
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 100/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประจำเดือนมกราคม พ.ศ. 2555
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 100 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 ------------------------------------ อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนมกราคมพ.ศ. 2555 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 ดังนี้ | | | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 1/28/55 | - | 20,000 | 10 ม.ค. 55 | 12 ม.ค. 55 | 9 ก.พ. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 1/91/55 | - | 20,000 | 12 ม.ค. 55 | 12 ม.ค. 55 | 12 เม.ย. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 1/182/55 | - | 20,000 | 12 ม.ค. 55 | 12 ม.ค. 55 | 12 ก.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/364/55 | - | 50,000 | 12 ม.ค. 55 | 12 ม.ค. 55 | 10 ม.ค. 56 | 364 วัน | 364 วัน | | 1/FRB2ปี/2555 | 3M BIBOR – 0.20 | 12,000 | 17 ม.ค. 55 | 17 ม.ค. 55 | 17 ม.ค. 57 | 2 ปี | 2 ปี | | 2/28/55 | - | 20,000 | 19 ม.ค. 55 | 19 ม.ค. 55 | 16 ก.พ. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 2/91/55 | - | 20,000 | 19 ม.ค. 55 | 19 ม.ค. 55 | 19 เม.ย. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 2/182/55 | - | 20,000 | 19 ม.ค. 55 | 19 ม.ค. 55 | 19 ก.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 3/28/55 | - | 20,000 | 26 ม.ค. 55 | 26 ม.ค. 55 | 23 ก.พ. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 3/91/55 | - | 20,000 | 26 ม.ค. 55 | 26 ม.ค. 55 | 26 เม.ย. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 3/182/55 | - | 20,000 | 26 ม.ค. 55 | 26 ม.ค. 55 | 26 ก.ค. 55 | 182 วัน | 182 วัน | | 1/3ปี/2555 | จํากําหนดและประกาศในวันที่ 24 มกราคม 2555 | 50,000 | 30 ม.ค. 55 | 30 ม.ค. 55 | 30 ม.ค. 58 | 3 ปี | 3 ปี | | รุ่นที่ | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว(ร้อยละต่อปี) | วงเงิน (ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน | วันครบกําหนด | ประเภทอายุ | อายุ คงเหลือ | | 4/28/55 | - | 20,000 | 31 ม.ค. 55 | 2 ก.พ. 55 | 1 มี.ค. 55 | 28 วัน | 28 วัน | | 4/91/55 | - | 20,000 | 31 ม.ค. 55 | 2 ก.พ. 55 | 3 พ.ค. 55 | 91 วัน | 91 วัน | | 4/183/55 | - | 20,000 | 31 ม.ค. 55 | 2 ก.พ. 55 | 3 ส.ค. 55 | 183 วัน | 183 วัน | โดยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่1/FRB2ปี/2555 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยงวดเริ่มต้นวันที่ 17 มกราคม 2555 | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 11 มกราคม 2555 | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 4 งวด | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 17 มกราคม, 17 เมษายน, 17 กรกฎาคม และ 17 ตุลาคม ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 17 เมษายน 2555 | | วันกําหนดอัตราดอกเบี้ยงวดต่อ ๆ ไป | 2 วันทําการก่อนเริ่มงวดการจ่ายดอกเบี้ย | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 17 มกราคม 2557 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่1/3ปี/2555 มีรายละเอียด ดังนี้ | | | | --- | --- | | อัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) | ธปท. จะกําหนดและประกาศในวันศุกร์ที่ 24 มกราคม 2555 | | การคํานวณดอกเบี้ย | แบ่งเป็นปีละ 2 งวด งวดละเท่า ๆ กัน | | วันชําระดอกเบี้ย | วันที่ 30 มกราคม และ 30 กรกฎาคม ของทุกปี | | วันชําระดอกเบี้ยงวดแรก | วันที่ 30 กรกฎาคม 2555 | | วันครบกําหนดไถ่ถอน | วันที่ 30 มกราคม 2558 เป็นการไถ่ถอนครั้งเดียวเต็มจํานวนที่ออกและจะไม่มีการไถ่ถอนก่อนกําหนด | อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 23 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 ธันวาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,149
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 89/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจำเดือนตุลาคม ปี 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 89/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนตุลาคม ปี 2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนตุลาคม ปี 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยคงที่ อายุ 2 ปี ประจําเดือนตุลาคม ปี 2553 (รุ่นที่ 5/2 ปี/2553) โดยจะกําหนดและประกาศอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋ว (Coupon Rate) ในวันที่ 15 ตุลาคม 2553 นั้น ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตั๋วของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย รุ่นที่ 5/2 ปี/2553 ที่จะประมูลในวันที่ 19 ตุลาคม 2553 เท่ากับร้อยละ 2.35 ต่อปี อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 15 ตุลาคม 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 15 ตุลาคม 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,150
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 77/2553 เรื่อง กำหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3ปี/2553สำหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2553
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 77/2553 เรื่อง กําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3ปี/2553 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2553 -------------------------------------- อื่นๆ - 1.เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย ประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3 ปี/2553 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2553 อื่นๆ - 2.อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 5.2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3.เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทยได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว อายุ 3 ปี รุ่นที่ 1/FRB 3ปี/2553 สําหรับงวดเริ่มต้นวันที่ 16 กันยายน 2553 เท่ากับร้อยละ 1.79625 ต่อปี (เท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงระยะสั้นการกู้ยืมเงินระหว่างธนาคารของตลาดกรุงเทพฯ (BIBOR) ระยะ 6 เดือน ณ วันที่ 14 กันยายน 2553 ลบร้อยละ 0.2) อื่นๆ - 4.วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน 2553 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 14 กันยายน 2553 (นางสุชาดา กิระกุล) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,151
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 101/2554 เรื่อง กำหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วันในเดือนธันวาคม 2554
ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 101 /2554 เรื่อง กําหนดการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 --------------------------------- อื่นๆ - 1. เหตุผลในการออกประกาศ เพื่อกําหนดแผนการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ในเดือนธันวาคม 2554 อื่นๆ - 2. อํานาจตามกฎหมาย เพื่ออนุวัติตามข้อ 2 แห่งระเบียบธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สกง. 2/2550 ว่าด้วยการออกพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อื่นๆ - 3. เนื้อหา ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้กําหนดแผนการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย อายุไม่เกิน 15 วัน ดังนี้ | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | รุ่นที่ | วงเงิน(ล้านบาท) | ประมูลวันที่ | วันที่ชําระเงิน - วันครบกําหนด | อายุ(วัน) | | พ.103/13/54 | 100,000 | 29 ธันวาคม 2554 | 4/1/55 – 17/1/55 | 13 | ทั้งนี้ ตั้งแต่ 4 มกราคม 2555 เป็นต้นไป ธปท. จะมีการประมูลพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยอายุไม่เกิน 15 วัน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุกวันศุกร์ โดย ธปท. สงวนสิทธิในการเปลี่ยนแปลงวันประมูลตามความเหมาะสม อื่นๆ - 4. วันเริ่มต้นบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม 2554 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2554 (นางผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ) ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ผู้ว่าการแทน
7,152