title
stringlengths 8
870
| text
stringlengths 0
298k
| __index_level_0__
int64 0
54.3k
|
---|---|---|
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 12) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 12)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (441) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 441 ) ส่วนวิจัยและพัฒนา บริษัท พี.เอส.พี.สเปเชียลตี้ส์ จํากัด”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 8 กันยายน พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,957 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 11) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 11)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (440) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 440 ) หน่วยงาน i-OFFICE ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน)”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 5 กันยายน พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,958 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 10) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 10)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (439) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 439 ) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ยูเนี่ยนลิงค์ จํากัด”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,959 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 9) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 9)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 438 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 438 ) หน่วยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท นครหลวงคอนกรีต จํากัด ”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2558 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,960 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 8) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 8)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 437 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 437 ) ฝ่ายพลังงาน (Energy Division) บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จํากัด”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,961 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 7) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 7)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 436 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 436 ) แผนก วิจัยและพัฒนา (Research & Development) บริษัท โนวาเทค เฮลธ์แคร์ จํากัด (สํานักงานใหญ่)”
ข้อ ๒ ระกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,962 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 6) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 6)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ. 2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 435 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 435 ) วิจัยพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิต บริษัท ไทยซัมมิท โอโตโมทีฟ จํากัด”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2558 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,963 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 5) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 5)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.25598 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 434 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 434 ) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาบริษัท ออโธพีเซีย จํากัด”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,964 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 4) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 4)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 433 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 433 ) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท กุสซิ่ง รีนิวเอเบิ้ล เอ็นเนอร์จี (ประเทศไทย) จํากัด”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2557 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,965 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 3) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 3)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน ( 387 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“( 387 ) สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2559 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,966 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 2) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 2)
**-----------------------------**
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 432 ) ของข้อ 1 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2559
“( 432 ) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท อุตสาหกรรมมิตรมงคล จํากัด”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2558 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,967 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง รายชื่อผู้รับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1) | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เรื่อง รายชื่อผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ฉบับที่ 1)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 598) พ.ศ.2559 ประกอบกับประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นคําขอเป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2559 อธิบดีกรมสรรพากรประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ กําหนดให้หน่วยงานดังต่อไปนี้ เป็นผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
(1) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ของบริษัท สามารถ รีเสิร์ช แอนด์ ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด
(2) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ของบริษัท ไนเน็กซ์ ไซเอ็นซ์ แอนด์ เทคโนโลยีเอเซีย จํากัด
(3) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาของบริษัท บ้านแพนรีเสิร์ช แลบบอราทอรี่ จํากัด
(4) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาบริษัท เอลคอมรีเซิซ จํากัด
(5) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(6) -
(7) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยวาฟูดโปรดักส์ จํากัด (มหาชน)
(8) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท อินทรอนิคส์ จํากัด
(9) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต บริษัท แพนเทค อาร์ แอนด์ ดี จํากัด
(10) ศูนย์วิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Research and Development Center) บริษัท มินีแบไทย จํากัด
(11) ส่วนวิจัยและพัฒนา บริษัท พี ไอ อินดัสทรี จํากัด
(12) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท โกลบัล เทค แลบอราทอรี จํากัด
(13) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา (R&D) บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียร์ จํากัด
(14) สํานักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(15) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไบโอไลน์ จํากัด
(16) สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท พรีเมียร์โกลเบิลคอร์เปอเรชั่น จํากัด
(17) ศูนย์วิจัยและพัฒนา (ดอนเมือง) บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน)
(18) บริษัท สยามวิจัยและนวัตกรรม จํากัด
(19) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท เอเทรียม เทคโนโลยี จํากัด
(20) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จํากัด (มหาชน)
(21) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(22) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาและวิศวกรรม ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(23) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท สยามเภสัช จํากัด
(24) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ๒๐๐๑ สยามอีโคโนมิค จํากัด
(25) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท สยามทรีอโกรฟอเรสตี้ จํากัด
(26) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ําตาล จํากัด สาขาที่ ๑
(27) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ําตาล จํากัด สาขาที่ ๒
(28) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ําตาล จํากัด สาขาที่ ๓
(29) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ําตาล จํากัด สาขาที่ ๔
(30) ส่วนวิจัยและพัฒนา บริษัท สยามคอมเพรสเซอร์อุตสาหกรรม จํากัด
(31) ศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี บริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จํากัด (มหาชน) (32) บริษัท ปณปัญญ์ จํากัด
(33) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แคล - คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จํากัด สาขาที่ ๑
(34) สํานักงานนวัตกรรม แพน ราชเทวี บริษัท แพน ราชเทวี กรุ๊ป จํากัด (มหาชน)
(35) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท นันยาง อินสปายเรชั่น เซ็นเตอร์ จํากัด
(36) ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์
(37) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท สยามทรีดีเวลลอปเม้นต์ จํากัด สํานักงานสาขาที่ ๑
(38) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ฮอทิเจนเนติคส์ รีเสิร์ช (เอส.อี.เอเชีย) จํากัด
(39) ส่วนวิจัยและพัฒนาสินค้า บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์ จํากัด
(40) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท มัทสุชิตะ อิเล็คทริค เอวีซี (ประเทศไทย) จํากัด
(41) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยเอ็นเนอร์ยี่คอนเซอร์เวชั่น จํากัด (
42) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท วี-เอฟ ไล้ท์ติ้ง จํากัด
(43) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แวนการ์ด เอ็นจิเนียริ่ง เซอร์วิสสิส จํากัด สาขาที่ ๑
(44) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท พัทยาฟู้ดอินดัสตรี จํากัด
(45) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เน็ต แกดเจตส์ จํากัด
(46) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แปซิฟิค เมล็ดพันธุ์ จํากัด
(47) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาซอฟต์แวร์ บริษัท โปรซอฟท์ จํากัด
(48) โครงการศูนย์เทคโนโลยีพลังงาน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเ(ทคโนโลยีแห่งชาติ
(49) โครงการอุทยานอุตสาหกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
(50) ฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยี บริษัท เซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด
(51) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท คอนซัลแทนท์ ออฟ เทคโนโลยี จํากัด
(52) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท วอเตอร์เทสท์ จํากัด
(53) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท สยามกูรู จํากัด
(54) โครงการงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท เรียลเอสเตท คอนซัลแทนท์ จํากัด
(55) ส่วนวิจัยและพัฒนา ฝ่ายเทคนิค บริษัท เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จํากัด (มหาชน) สาขาที่ ๐๐๐๑
(56) หน่วยงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท สยามคูโบต้าอุตสาหกรรม จํากัด
(57) คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(58) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยเวทฟีดส์ จํากัด สาขาที่ ๑
(59) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จํากัด
(60) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
(61) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แวนการ์ด เอ็นจิเนียริ่ง เซอร์วิสสิส จํากัด
(62) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอคคิวพลัส อินสทรูเม้นท์ จํากัด
(63) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท นทีทอง โพลีเมอร์ จํากัด (สาขาที่ ๒)
(64) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท กุลธรเคอร์บี้ จํากัด (มหาชน)
(65) บริษัท สถาบันวิจัยศาสตร์ด้านความงามและสุขภาพ จํากัด
(66) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ไทยแทฟฟิต้า จํากัด
(67) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท น้ําตาลราชบุรี จํากัด
(68) ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จํากัด
(69) ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี บริษัท วี.เพาเดอร์เทค จํากัด
(70) ส่วนวิจัยและพัฒนาบริษัท เคมี อินโนเวชั่น จํากัด
(71) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท ยูเนี่ยนนิฟโก้ จํากัด
(72) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ยูคาลิปตัส เทคโนโลยี จํากัด
(73) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท อีปิค คอมพิวเตอร์ จํากัด
(74) ฝ่ายเทคนิคและพัฒนา บริษัท พัฒน์กล จํากัด (มหาชน)
(75) บริษัท แม็กเนท รีเสิร์ช จํากัด
(76) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ฟาร์มาสันต์ แล็บบอราตอรี่ส์ จํากัด
(77) หน่วยงานวิจัยผลิตภัณฑ์ บริษัท กระเบื้องกระดาษไทย จํากัด
(78) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์ จํากัด (มหาชน)
(79) บริษัท โซนี่ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด
(80) แผนกพัฒนาระบบ บริษัท วีแอลบิสซิเนสคอนซัลแตนท์ จํากัด
(81) ห้างหุ้นส่วนจํากัด อินทิเกรท ซายน์
(82) บริษัท ศูนย์วิทยาศาสตร์เบทาโกร จํากัด
(83) ส่วนวิจัยและพัฒนา บริษัท โปลิฟาร์ม จํากัด
(84) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท เอ็กซ์เซ้นส์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จํากัด
(85) บริษัท ซิลิคอน คราฟท์ เทคโนโลยี จํากัด
(86) สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)
(87) ฝ่ายวิจัย บริษัท ไทยฟูดแอนด์เคมิคอล จํากัด
(88) ฝ่ายวิจัย บริษัท จาร์พา เท็คเซ็นเตอร์ จํากัด
(89) ฝ่ายวิจัย บริษัท อาหารชีวภาพ จํากัด
(90) ฝ่ายวิจัย บริษัท อีเทอร์นอลไลฟ์ จํากัด
(๙๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท คิว อาร์แอนด์ดี จํากัด
(๙๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ปราชญ์สยาม จํากัด
(๙๓) บริษัท ไทยโตชิบาอุตสาหกรรม จํากัด
(๙๔) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท สตรีม ไอ.ที.คอนซัลติ้ง จํากัด
(๙๕) ฝ่ายเทคนิคและวิจัย บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จํากัด
(๙๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท แม็คโคร ฟู้ด เทค จํากัด
(๙๗) ฝ่ายวิจัยและเสริมสร้างนวัตกรรม บริษัท ธนูลักษณ์ จํากัด (มหาชน)
(๙๘) บริษัท พัฒน์กล อาร์ แอนด์ ดี จํากัด (ฝ่ายวิจัยและพัฒนา)
(๙๙) ผู้รับทําการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ดอกบัวคู่ จํากัด
(๑๐๐) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท ดี.เอช.เอ. สยามวาลา จํากัด
(๑๐๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท อินโนวา ไบโอเทคโนโลยี จํากัด
(๑๐๒) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท เภสัชกรรมศรีประสิทธิ์ จํากัด
(๑๐๓) บริษัท โรงงานเภสัชกรรม เกร๊ทเตอร์ฟาร์ม่า จํากัด
(๑๐๔) หน่วยงานเทคโนโลยีและนวัตกรรม บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)
(๑๐๕) ฝ่ายธุรกิจที่ปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จํากัด (มหาชน)
(๑๐๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แพนเอเซียอุตสาหกรรม จํากัด
(๑๐๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ดีไซน์ เกทเวย์ จํากัด
(๑๐๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ยูนิซีดส์ จํากัด
(๑๐๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เมดดิคัลซอฟท์ จํากัด
(๑๑๐) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท จีเนียส ทราฟฟิค ซีสเต็ม จํากัด
(๑๑๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท โปรเจ็คฟิลด์ จํากัด
(๑๑๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ฟอร์ท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม จํากัด
(๑๑๓) แผนกงานวิจัยและพัฒนา บริษัท ซีเอชวัฒนายนต์ จํากัด
(๑๑๔) มูลนิธิส่งเสริมการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไทย
(๑๑๕) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท เซอร์วิสเอ็นจิเนียริ่ง (1987) จํากัด
(๑๑๖) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท เหรียญไทย อินเตอร์พลาส จํากัด
(๑๑๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เวสท์โคสท์ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
(๑๑๘) บริษัท อูเบะ เทคนิคอล เซ็นเตอร์ (เอเชีย) จํากัด
(๑๑๙) ศูนย์บริการทางวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต
(๑๒๐) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน)
(๑๒๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไบโอฟูเอ็ล จํากัด
(๑๒๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท คาร์เปท อินเตอร์เเนชั่นแนล ไทยแลนด์ จํากัด (มหาชน)
(๑๒๓) ศูนย์วิจัยและพัฒนาบริษัท อุตสาหกรรมอีเล็คโทรนิคส์ จํากัด (มหาชน)
(๑๒๔) บริษัท โกลบอลเทคโนโลยี อินทิเกรเทด จํากัด
(๑๒๕) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เอซีอี เทคโนโลยี จํากัด
(๑๒๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท สีลมการแพทย์ จํากัด
(๑๒๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท บาลานซ์เทค อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
(๑๒๘) บริษัท อินโนเวชั่นเซ็นเตอร์ จํากัด
(๑๒๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท อูเบะไนล่อน (ประเทศไทย) จํากัด
(๑๓๐) บริษัท สุพรีม โพรดักส์ จํากัด
(๑๓๑) ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ฟอร์ท คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)
(๑๓๒) ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท จีเนียส อิเลคทรอนิค มิเตอร์ จํากัด
(๑๓๓) บริษัท ไทยรุ่งเรืองวิจัยและพัฒนา จํากัด
(๑๓๔) บริษัท ฟาร์มา นูวา จํากัด
(๑๓๕) คณะบุคคลโอเอ็นเอฟ เทคโนโลยี
(๑๓๖) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จํากัด
(๑๓๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยยูนิเวอร์แซลออฟฟิสโปรดักส์ จํากัด
(๑๓๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท บิทไว้ส์ (ประเทศไทย) จํากัด
(๑๓๙) ฝ่ายเทคนิค บริษัท นาม สุขภัณฑ์ จํากัด สาขาที่ ๓
(๑๔๐)สถาบันไทย-เยอรมัน
(๑๔๑) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท ไบโอแลป จํากัด
(๑๔๒) บริษัท โมบิแครท จํากัด
(๑๔๓) แผนกวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท บีโปรดักส์อินดัสตรี้ จํากัด
(๑๔๔) บริษัท สมาร์ท เอ็มเบ็ดเด็ด เน็ตเวิร์ค ซีสเต็ม จํากัด
(๑๔๕) ส่วนวิจัยและพัฒนา บริษัท บี.อินเตอร์เนชั่นแนล แอนด์ เทคโนโลยี จํากัด
(๑๔๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จํากัด
(๑๔๗) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท ทีโอเอ เพ้นท์ (ประเทศไทย) จํากัด
(๑๔๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท อําพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จํากัด
(๑๔๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท แมชีนเนอรี่เอ็มโปเรี่ยม (1995) จํากัด
(๑๕๐) บริษัท เซริบรัม ดีไซน์ จํากัด
(๑๕๑) บริษัท ไลฟ์ ซายน์ คอสเมติก รีเซิร์ซ เซ็นเตอร์ จํากัด
(๑๕๒) บริษัท คอมแพ็ค อินเตอร์เนชั่นแนล (1994) จํากัด
(๑๕๓) นายพีรเดช พูลสุข
(๑๕๔) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท ซัมมิท โอโตซีท อินดัสตรี จํากัด
(๑๕๕) หน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท สยามซีแพคบล็อค จํากัด
(๑๕๖) สํานักงานนวัตกรรมและเทคโนโลยี บริษัท เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จํากัด
(๑๕๗) หน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท สระบุรีรัชต์ จํากัด
(๑๕๘) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท อินเตอร์ไทย ฟาร์มาซูติเคิ้ล แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด
(๑๕๙) ส่วนวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เดอะ สยาม เซรามิค กรุ๊ป อินดัสทรี่ส์ จํากัด
(๑๖๐) บริษัท เพาเวอร์ ซีล จํากัด
(๑๖๑) แผนกพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท สยามไฟเบอร์กลาส จํากัด
(๑๖๒) บริษัท ไอ อาร์ ซี (เอเซีย) รีเสิร์ช จํากัด
(๑๖๓) สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย
(๑๖๔) ศูนย์วิจัย-พัฒนาและโรงงานวัคซีนต้นแบบ บริษัท ไบโอเนท-เอเชีย จํากัด
(๑๖๕) ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ดี เอ็ม ซี คอร์ป (๑๕๔) จํากัด
(๑๖๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ยูบิส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน)
(๑๖๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ไทยเซ็นทรัล เมคคานิคส์ จํากัด
(๑๖๘) หน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท อุตสาหกรรมคอนกรีตซีแพค จํากัด
(๑๖๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท แอจจิลซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จํากัด
(๑๗๐) หน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เอสซีจี แลนด์สเคป จํากัด
(๑๗๑) หน่วยงานวิจัยและพัฒนา บริษัท นอริตาเก้ เอสซีจี พลาสเตอร์ จํากัด
(๑๗๒) ส่วนผลิต บริษัท กระเบื้องหลังคาเซรามิคไทย จํากัด
(๑๗๓) บริษัท ดี. เอ. รีเซิร์ชเซ็นเตอร์ จํากัด
(๑๗๔) บริษัท ไอเมด ลาบอราทอรี่ จํากัด
(๑๗๕) บริษัท ศูนย์อัลแทร์เพื่อการฝึกอบรม วิจัยและพัฒนา (ประเทศไทย) จํากัด
(๑๗๖) บริษัท เกรซเทคโนโลยี แอนด์ คอนซัลแตนท์ จํากัด
(๑๗๗) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท พีรพัฒน์ เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน)
(๑๗๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท มี้ด จอห์นสัน นิวทริชัน (ประเทศไทย) จํากัด
(๑๗๙) ส่วนพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท กระเบื้องหลังคาซีแพค จํากัด
(๑๘๐) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ลัดดา จํากัด
(๑๘๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท สแปนชั่น (ไทยแลนด์) จํากัด
(๑๘๒) ฝ่ายศูนย์เทคนิคลูกค้า บริษัท ๓ เอ็ม ประเทศไทย จํากัด
(๑๘๓) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท สุรพลฟู้ดส์ จํากัด (มหาชน)
(๑๘๔) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Strategy Product Development Division) บริษัท เอช.ซี.สตาร์ค จํากัด
(๑๘๕) แผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ไพร์ซ ออฟ วู้ด อินดรัสทรีส์ จํากัด
(๑๘๖) แผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ ฟู้ดส์ จํากัด
(๑๘๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท น้ําตาลครบุรี จํากัด
(๑๘๘) ฝ่ายวิศวกรรมมิเตอร์ บริษัท มิตซูบิชิ อิเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จํากัด
(๑๘๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เจริญทัศน์ จํากัด
(๑๙๐) บริษัท วิจัยนวัตกรรมสิ่งทอ จํากัด
(๑๙๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท พีแซท คัสสัน (ประเทศไทย) จํากัด
(๑๙๒) สํานักงานเทคโนโลยี บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน)
(๑๙๓) แผนกวิศวกรรม บริษัท ยูเนี่ยนพลาสติก จํากัด (มหาชน)
(๑๙๔) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(๑๙๕ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สาขาที่ ๑๙
(๑๙๖) สํานักงานพลังงานทดแทน บริษัท ซิเมนต์ไทยโฮลดิ้ง จํากัด
(๑๙๗) บริษัท แอโรแคร์ จํากัด แผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
(๑๙๘) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท บางกอกกล๊าส จํากัด
(๑๙๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน)
(๒๐๐) ฝ่ายเทคนิคและวิจัย บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จํากัด
(๒๐๑) บริษัท ซัมมิท อาร์แอนด์ดี เซ็นเตอร์ จํากัด
(๒๐๒) บริษัท เอส.ซี.อาร์ทิสทรี จํากัด
(๒๐๓) แผนกวิจัย บริษัท สิทธินันท์ จํากัด
(๒๐๔) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท แมคโครฟาร์ จํากัด
(๒๐๕) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท กุยบุรีผลไม้กระป๋อง จํากัด
(๒๐๖) ฝ่ายพัฒนาระบบ บริษัท เอสซีจี ดิสทริบิวชั่น จํากัด
(๒๐๗) หน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี บริษัท สยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จํากัด
(๒๐๘) ศูนย์วิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Research and Development Center) บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินีแบ ไทย จํากัด
(๒๐๙) หน่วยงาน Information Technology Office - Domestic Market บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ - ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จํากัด
(๒๑๐) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท โทกามิ กรีน โปรดักส์ จํากัด สาขาที่ ๑
(๒๑๑) ศูนย์วิจัยและพัฒนาไทยน๊อคซ์ บริษัทไทยน๊อคซ์ สเตนเลส จํากัด (มหาชน)
(๒๑๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท อาปิโก ไฮเทค จํากัด (มหาชน)
(๒๑๓) หน่วยงานพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บริษัท เอสซีจี เทรดดิ้ง จํากัด
(๒๑๔) บริษัท ศูนย์ห้องปฏิบัติการและวิจัยทางการแพทย์และการเกษตรแห่งเอเซีย จํากัด
(๒๑๕) ส่วนบริหารระบบงาน บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จํากัด
(๒๑๖) ส่วนผลิตกล้าไม้และเทคนิค บริษัท สยามฟอเรสทรี จํากัด
(๒๑๗) ส่วนวิศวกรรม บริษัท กระเบื้องหลังคาซีแพค จํากัด
(๒๑๘) บริษัท แอ๊ดวานซ์อาเชี่ยน จํากัด
(๒๑๙) หน่วยงานเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ์ จํากัด
(๒๒๐) ส่วนผลิต โรงเยื่อบ้านโป่ง บริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จํากัด (มหาชน)
(๒๒๑) ส่วนส่งเสริมการผลิต บริษัท อุตสาหกรรมกระดาษคราฟท์ไทย จํากัด
(๒๒๒) แผนกสนับสนุนการผลิต บริษัท กระดาษสหไทย จํากัด (มหาชน)
(๒๒๓) สํานักงานพลังงานทดแทนและเทคโนโลยี บริษัท เอสซีจี เทรดดิ้ง จํากัด
(๒๒๔) ส่วนวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จํากัด (มหาชน)
(๒๒๕) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท โอสถ อินเตอร์ แลบบอราทอรีส์ จํากัด
(๒๒๖) ส่วนส่งเสริมการผลิต บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จํากัด
(๒๒๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เอ็ม.บี.เจ. เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด
(๒๒๘) ส่วนผลิต บริษัท สยามเซลลูโลส จํากัด
(๒๒๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เคไอเจ มาร์เก็ตติ้ง จํากัด
(๒๓๐) แผนกประกันคุณภาพเยื่อ และแผนกประกันคุณภาพกระดาษ บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จํากัด (มหาชน)
(๒๓๑) ส่วนส่งเสริมการผลิต บริษัท สยามคราฟท์อุตสาหกรรม จํากัด
(๒๓๒) หน่วยงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ควอลิตี้ มิเนอรัล จํากัด (มหาชน)
(๒๓๓) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ซีพีแรม จํากัด
(๒๓๔) แผนกส่งเสริมการผลิต บริษัท กระดาษสหไทยอุตสาหกรรม จํากัด
(๒๓๕) ฝ่ายผลิต บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จํากัด
(๒๓๖) สํานักงานกรรมการและผู้จัดการทั่วไป (วิศวกรรม) บริษัท สยามบรรจุภัณฑ์สงขลา (1994) จํากัด
(๒๓๗) ส่วนผลิต โรงงานกาญจนบุรี บริษัท ไทยเคนเปเปอร์ จํากัด (มหาชน)
(๒๓๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท รูเบียอุตสาหกรรม จํากัด
(๒๓๙) ส่วนผลิตและงานประกันคุณภาพ สังกัดสํานักงานกรรมการและผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไทยคอนเทนเนอร์ (ทีซีซี) จํากัด
(๒๔๐) หน่วยงานประกันคุณภาพ ร่วมกับ หน่วยงานผลิต บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จํากัด
(๒๔๑) ฝ่ายผลิตและแผนกประกันคุณภาพ บริษัท ไทยคอนเทนเนอร์ (ทีซีซี) จํากัด
(๒๔๒) ฝ่ายผลิต บริษัท ไทยคอนเทนเนอร์ (ทีซีซี) จํากัด
(๒๔๓) ส่วนออกแบบบรรจุภัณฑ์ ฝ่ายการตลาด บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จํากัด
(๒๔๔) ส่วนผลิต บริษัท ไทยเคนเปเปอร์ จํากัด (มหาชน)
(๒๔๕) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เควี อีเลคทรอนิคส์ จํากัด
(๒๔๖) สํานักงานกรรมการและผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไทยคอนเทนเนอร์ ขอนแก่น จํากัด
(๒๔๗) แผนกประกันคุณภาพ บริษัท ไทยคอนเทนเนอร์ระยอง จํากัด
(๒๔๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ศูนย์ทดสอบกลางแห่งประเทศไทย บริษัท ไทยปาร์ค เกอร์ไรซิ่ง จํากัด
(๒๔๙) แผนกพิมพ์และสําเร็จรูป ๒ บริษัท กลุ่มสยามบรรจุภัณฑ์ จํากัด
(๒๕๐) แผนกวิจัยของบริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ํามันปาล์ม จํากัด (มหาชน)
(๒๕๑) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท เมดิทอป จํากัด
(๒๕๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ จํากัด
(๒๕๓) ส่วนผลิต บริษัท ไทยคอนเทนเนอร์สระบุรี จํากัด
(๒๕๔) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาบริษัท เอ็มโฟกัส จํากัด
(๒๕๕) ส่วนงานวิจัยและปรับปรุง บริษัท เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย จํากัด (มหาชน)
(๒๕๖) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ซีพีแรม จํากัด สาขาลาดกระบัง
(๒๕๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไบโอ-อินโนวาและซินครอน จํากัด
(๒๕๘) นายพิพัฒน์ วีระถาวร
(๒๕๙) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)
(๒๖๐) บริษัท สปินคอนโทรล เอเชีย จํากัด
(๒๖๑) สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
(๒๖๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จํากัด
(๒๖๓) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท โกซอฟท์ (ประเทศไทย) จํากัด
(๒๖๔) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ซีพี รีเทลลิงค์ จํากัด
(๒๖๕) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท โมลีคิว (ประเทศไทย) จํากัด
(๒๖๖) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท เบทาโกร ฟู้ดส์ จํากัด
(๒๖๗) บริษัท เคพีอี รีเซิร์ช จํากัด
(๒๖๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของ บริษัท เมล็ดพันธุ์ เอเชีย จํากัด
(๒๖๙) บริษัท ไทยนาโนเซลลูโลส จํากัด
(๒๗๐) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)
(๒๗๑) ส่วนวิศวกรรมการผลิต บริษัท สยามซานิทารีฟิตติ้งส์ จํากัด
(๒๗๒) หน่วยงานวิจัยและพัฒนา บริษัท อาร์เอ็กซ์ แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด
(๒๗๓) บริษัท แคสป้า ฟาร์มาซูติคอล (ประเทศไทย) จํากัด
(๒๗๔) บริษัท อี เอส วิจัยและพัฒนา จํากัด
(๒๗๕) ส่วนพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท สยามซานิทารีแวร์อินดัสทรี จํากัด
(๒๗๖) มหาวิทยาลัยบูรพา
(๒๗๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เอส.ที. ไรซิ่ง จํากัด
(๒๗๘) สถานวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนจากน้ํามันปาล์มและพืชน้ํามัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
(๒๗๙) สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(๒๘๐) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท ออล อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลจีส จํากัด
(๒๘๑) บริษัท ฟรีวิลล์ โซลูชั่นส์ จํากัด
(๒๘๒) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ดิจิตอล อีโคโนมิค จํากัด
(๒๘๓) New Technology Department บริษัท ยูเนี่ยนโชจิรุชิ จํากัด
(๒๘๔) แผนกผลิตภัณฑ์และการตลาด บริษัท บางกอก คอมเทค จํากัด
(๒๘๕) บริษัท ซัมมิท โอโต บอดี้ อินดัสตรี จํากัด (วิจัยและพัฒนา)
(๒๘๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ จํากัด
(๒๘๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เอสทีเท็กซ์ไทล์ จํากัด
(๒๘๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยนําโชคเท็กซ์ไทล์ จํากัด
(๒๘๙) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ยู-แคตตาล็อก จํากัด
(๒๙๐) ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท รูเบียอุตสาหกรรม จํากัด
(๒๙๑) บริษัท มิกซ์แมทพาวเวอร์ จํากัด “ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์”
(๒๙๒) นางสาวดวงฤทัย นิคมรัฐ
(๒๙๓) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาห้างหุ้นส่วนจํากัด ซุ่นฮั่วหลีการทอ
(๒๙๔) แผนกเทคโนโลยีและสารสนเทศ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ลําปาง) จํากัด
(๒๙๕) ศูนย์อินโนเวทีฟเทคโนโลยี บริษัท ระยองวิศวกรรมและซ่อมบํารุง จํากัด
(๒๙๖) ศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สาขาที่ ๒๐)
(๒๙๗) นายธนาธิป สะและหน่าย
(๒๙๘) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท สุราบางยี่ขัน จํากัด
(๒๙๙) ศูนย์วิจัยและพัฒนาบริษัท บี. ฟู้ดส์ โปรดักส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
(๓๐๐) แผนก Service Delivery บริษัท ไอทีวัน จํากัด
(๓๐๑) นายไพศาล การถาง
(๓๐๒) ห้างหุ้นส่วนจํากัด ไทคูณ รีเสิร์ช แอนด์ ดิเวลลอปเมนท์
(๓๐๓) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาซอฟท์แวร์ บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)
(๓๐๔) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท เมก้า ฟอร์ซ อินเตอร์ จํากัด
(๓๐๕) หน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท สยามมอร์ตาร์ จํากัด
(๓๐๖) แผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท อดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟตดีวิชั่น)
(๓๐๗) ส่วนวิศวกรรมและโครงการ บริษัท เซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด สาขาที่ ๑
(๓๐๘) แผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ส่วนกลาง บริษัท โออิชิ เทรดดิ้ง จํากัด
(๓๐๙) จี เอ็ม วิจัย
(๓๑๐) ฝ่ายเทคนิค บริษัท เบียร์ไทย (๑๙๙๑) จํากัด (มหาชน)
(๓๑๑) บริษัท น้ําตาลและอ้อยตะวันออก จํากัด แผนกวิจัยและพัฒนา
(๓๑๒) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทย ไดนามิค มาสเตอร์ จํากัด
(๓๑๓) นายสุรัตน์ วรรณศรี
(๓๑๔) บริษัท คอนเวอร์เจนซ์ ทีม จํากัด
(๓๑๕) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทย โคะอิโท จํากัด
(๓๑๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท โมลด์ เมท จํากัด
(๓๑๗) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ดอกบัวคู่ จํากัด
(๓๑๘) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
(๓๑๙) สํานักวิจัยและพัฒนาบริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)
(๓๒๐) บริษัท เฮลตี้ บี จํากัด
(๓๒๑) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท คอมพลีท โอโต รับเบอร์ แมนูเฟ็ค เจอริ่ง จํากัด
(๓๒๒) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท ที.ซี.ฟาร์มาซูติคอล อุตสาหกรรม จํากัด
(๓๒๓) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท หลักชัยค้าสุรา จํากัด
(๓๒๔) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท เอส.เอส.การสุรา จํากัด
(๓๒๕) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ธรรมสรณ์ จํากัด
(๓๒๖) สํานักวิจัยและพัฒนา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
(๓๒๗) ส่วนวิศวกรรม บริษัท มงคลสมัย จํากัด
(๓๒๘) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท สุรากระทิงแดง (1988) จํากัด
(๓๒๙) บริษัท วิจัยและพัฒนาพอร์ลิเมอร์ จํากัด
(๓๓๐) บริษัท เอส ซี ไอ อีโค่ เซอร์วิสเซส จํากัด
(๓๓๑) บริษัท กิสโค จํากัด
(๓๓๒) ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์วิจัยกลาง บริษัท แสงโสม จํากัด สาขาที่ ๓
(๓๓๓) บริษัท ศูนย์วิจัยสัตว์กรุงเทพ จํากัด (สาขาที่ ๑)
(๓๓๔) หน่วยงานวิจัยและพัฒนา บริษัท เฟื่องฟูอนันต์ จํากัด
(๓๓๕) คณะทํางานวิจัยและพัฒนา บริษัท กาญจนสิงขร จํากัด
(๓๓๖) ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์และระบบคุณภาพ บริษัท อุตสาหกรรมทําเครื่องแก้วไทย จํากัด (มหาชน)
(๓๓๗) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท ประมวลผล จํากัด
(๓๓๘) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท ธนภักดี จํากัด
(๓๓๙) บริษัท อุตสาหกรรมเครื่องหอมไทย - จีน จํากัด
(๓๔๐) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท นทีชัย จํากัด
(๓๔๑) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท เทพอรุโณทัย จํากัด
(๓๔๒) สํานักวิจัย มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
(๓๔๓) หน่วยงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ยูเนี่ยนสเตนเลสสตีลโปรดักส์ จํากัด
(๓๔๔) โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (ITAP) เครือข่ายมหาวิทยาลัยขอนแก่น
(๓๔๕) บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ไบโอ เซอร์วิส จํากัด
(๓๔๖) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท ไร้ซ์แลนด์ กรุ๊ป จํากัด
(๓๔๗) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท แก่นขวัญ จํากัด
(๓๔๘) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท โอคูโน-ออโรเม็กซ์ (ประเทศไทย) จํากัด
(๓๔๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เฮมพกรีน อินโนเวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด
(๓๕๐) งานบริการค้นคว้าและวิจัยผลิตภัณฑ์เกษตร บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จํากัด
(๓๕๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เอ็นเทค แอสโซซิเอท จํากัด
(๓๕๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เกรทเทค ไซเบอร์เนติกส์ จํากัด
(๓๕๓) ส่วนวิจัยและพัฒนา ฝ่ายเทคนิค บริษัท ไมลอทท์ แลบบอราทอรีส์ จํากัด
(๓๕๔) สํานักงานวิจัยและพัฒนาความเป็นเลิศ บริษัท สีมาธุรกิจ จํากัด
(๓๕๕) สํานักงานเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง บริษัท เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จํากัด
(๓๕๖) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท เบทาโกรไฮบริด อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
(๓๕๗) ศูนย์เทคโนโลยี บริษัท นวพลาสติกอุตสาหกรรม จํากัด สาขาที่ ๒
(๓๕๘) ศูนย์วิจัยฮักเคิลเบอร์รี่ บริษัท อินโนฟีน จํากัด
(๓๕๙) บริษัท ซันโกลด์ โฮลดิ้ง จํากัด
(๓๖๐) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(๓๖๑) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ดัชมิลล์ จํากัด
(๓๖๒) ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท น้ําตาลมิตรผล จํากัด
(๓๖๓) ศูนย์นวัตกรรม บริษัท ไทยเทคโนกลาส จํากัด
(๓๖๔) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
(๓๖๕) หน่วยงานวิศวกรรม บริษัท เอสซีจี โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ จํากัด
(๓๖๖) หน่วยงานบริการเทคนิคและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Technical Services & Development) บริษัท เอสซีจี พลาสติกส์ จํากัด
(๓๖๗) หน่วยงานวิศวกรรม บริษัท สยามไฟเบอร์กลาส จํากัด
(๓๖๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แม่น้ําสแตนเลสไวร์ จํากัด (มหาชน)
(๓๖๙) บริษัท สถาบันวิจัยเอ็นวี จํากัด
(๓๗๐) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท วินเซนส์ จํากัด
(๓๗๑) ศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัท เบ็ทเทอร์ฟาร์ม่า จํากัด
(๓๗๒) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ไดโน่ อีเล็คทริค จํากัด
(๓๗๓) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท คอร์เนล โพลิเมอร์ จํากัด
(๓๗๔) คณะทํางานวิจัยและพัฒนา บริษัท สุราพิเศษทิพราช จํากัด (สาขา 1)
(๓๗๕) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จํากัด
(๓๗๖) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท สยาม มอดิฟายด์ สตาร์ช จํากัด
(๓๗๗) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท สยามฟายน์เฆมี จํากัด
(๓๗๘) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท เลนโซ่ วีล จํากัด
(๓๗๙) หน่วยงานทรัพยากรธรณีและเหมือง บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จํากัด
(๓๘๐) ส่วนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ยูนิแอร์ คอร์ปอเรชั่น จํากัด
(๓๘๑) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)
(๓๘๒) ส่วนวิจัยและพัฒนา บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จํากัด (มหาชน)
(๓๘๓) ฝ่ายเทคนิค บริษัท เบียร์ทิพย์ บริวเวอรี่ (๑๙๙๑) จํากัด
(๓๘๔) แผนกสิ่งแวดล้อม บริษัท ยูไนเต็ด ไวน์เนอรี่ แอนด์ดิสทิลเลอรี่ จํากัด
(๓๘๕) ส่วนส่งเสริมการผลิต บริษัท สยามคราฟท์อุตสาหกรรม จํากัด
(๓๘๖) ส่วนส่งเสริมการผลิต บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ทุ่งสง) จํากัด
(๓๘๗) สํานักส่งเสริมและบริการวิชาการพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
(๓๘๘) ส่วนส่งเสริมการผลิต บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จํากัด
(๓๘๙) ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ซีเอ็นซี อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด
(๓๙๐) หน่วยงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ซี.พี.สหอุตสาหกรรม จํากัด
(๓๙๑) แผนก GIS (Geographic Information System) บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด
(๓๙๒) ส่วนโปรเจค แมเนจเม้นท์ บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จํากัด
(๓๙๓) นายชาตรี เลิศสิมา
(๓๙๔) ศูนย์ Process Technology บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จํากัด
(๓๙๕) หน่วยงานวิจัยและพัฒนา บริษัท ซีพีพีซี จํากัด (มหาชน)
(๓๙๖) สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
(๓๙๗) แผนกวิทยาศาสตร์ บริษัท อธิมาตร จํากัด
(๓๙๘) คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(๓๙๙) นายอรรถกร เก่งพล
(๔๐๐) ส่วนนวัตกรรมผลิตภัณฑ์และพัฒนาตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์และวัตถุก่อสร้าง จํากัด
(๔๐๑) Process and Materials Development บริษัท แกรนด์ สยาม คอมโพสิต จํากัด
(๔๐๒) หน่วยงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ซี.พี.อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ จํากัด
(๔๐๓) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท ดัชมิลล์ อินเตอร์เนชั่นแนล รีเสิร์ช เซ็นเตอร์ จํากัด
(๔๐๔) นางสาวนรารักษ์ บุตรชา
(๔๐๕) สํานักงานเทคนิคและประกันคุณภาพ บริษัท คอสมอส บริวเวอรี่ (ประเทศไทย) จํากัด
(๔๐๖) หน่วยงานผลิตและบํารุงรักษา บริษัท อนุรักษ์พลังงานซิเมนต์ไทย จํากัด
(๔๐๗) หน่วยวิจัยและพัฒนาบริษัท มิลตั้น ไบโอเทค จํากัด
(๔๐๘) มหาวิทยาลัยนเรศวร
(๔๐๙) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ชอไชยวัฒน์ อุตสาหกรรม จํากัด สาขา ๐๑
(๔๑๐) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท โพลีเมอร์ ฟอร์ม จํากัด
(๔๑๑) หน่วยงานบริการเทคนิคและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Technical Services & Development) บริษัท เอสซีจี เพอร์ฟอร์มานซ์ เคมิคอลส์ จํากัด
(๔๑๒) แผนกวิจัย และพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการแพทย์ บริษัท เวิลด์เมดิก อินฟอร์เมชั่น แอนด์ เทคโนโลยี จํากัด
(๔๑๓) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร (องค์การมหาชน)
(๔๑๔) ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ
(๔๑๕) หน่วยงาน Information Technology Office - Structural Business บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จํากัด
(๔๑๖) บริษัท วีฟอร์อาร์แอนด์ดี จํากัด
(๔๑๗) แผนกวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีแก้ว บริษัท โอเชียนกลาส จํากัด (มหาชน)
(๔๑๘) ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น
(๔๑๙) บริษัท พรีเมียร์ซิสเต็มเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
(๔๒๐) หน่วยงาน Cement Application Technology บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จํากัด
(๔๒๑) หน่วยงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท คอสโม กรุ๊ป จํากัด (มหาชน)
(๔๒๒) ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ภัทรเมธากิจ จํากัด
(๔๒๓) แผนกวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท ฟอร์แคร์ จํากัด
(๔๒๔) ฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี บริษัท เอเชีย โกลเบิล รีเสิร์ช จํากัด
(๔๒๕) ฝ่ายพัฒนาและนวัตกรรม และฝ่ายประกันคุณภาพ – บริษัท คอนวูด จํากัด
(๔๒๖) หน่วยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ – บริษัท อินทรี ซุปเปอร์บล็อก จํากัด
(๔๒๗) แผนกวิจัยและพัฒนา บริษัท โกลบอล คอนเน็คชั่นส์ จํากัด (มหาชน)
(๔๒๘) ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นแนวหน้า สถาบันวิทยสิริเมธี
(๔๒๙) แผนกวิจัย บริษัท เค – แลบ จํากัด
(๔๓๐) กลุ่มงานส่งเสริมและบริการวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(๔๓๑) หน่วยงาน Technology Office บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จํากัด
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕5๙ เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ.2559
ประสงค์ พูนธเนศ
(นายประสงค์ พูนธเนศ)
อธิบดีกรมสรรพากร | 10,968 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 800) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 800)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239)
พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.2535
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ.2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1017) ของข้อ 3 แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2535
“(1017) มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2566 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2566
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,969 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 801) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 801)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239)
พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.2535
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ.2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1018) ของข้อ 3 แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ.2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2535
“(1018) มูลนิธิอภิบาลสงฆ์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2566 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ.2567 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2566
จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์
(นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,970 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 780) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 780)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239)
พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1005) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วย ภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535
“(1005) มูลนิธิเพื่อเยาวชนไทย สดใสแข็งแรง”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2564 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,971 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 779) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 779)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1004) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(1004) มูลนิธิสถาบันพระบรมราชชนก”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ.2564 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,972 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 778) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 778)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)
แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1003) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(1003) มูลนิธิสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเพื่อการศึกษาสําหรับเด็กและเยาวชนจังหวัดพิษณุโลก”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖5 เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,973 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 802) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 802)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239)
พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1019) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วย ภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535
“(1019) มูลนิธิดวงดาว”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2566 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2566
จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์
(นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,974 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 803) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 803)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1020) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(1020) มูลนิธิใจกระทิง”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕66 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕67 เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕66 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2566
จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์
(นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,975 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 777) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 777)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (882) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(882) มูลนิธิสุขภาพจิตโรงพยาบาลสวนปรุง”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,976 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 776) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 776)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (978) (979) และ (980) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑2 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕35 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(978) มูลนิธิพัชรสุธาคชานุรักษ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
“(979) มูลนิธิภูบดินทร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
“(980) มูลนิธิราชทัณฑ์ปันสุข ทําความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ในพระบรมราชูปถัมภ์”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,977 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 775) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 775)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1002) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วย
ภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(1002) มูลนิธิฟ้าสั่ง”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ.2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,978 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 774) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 774)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1001) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(1001) สมาคมสภาแม่ดีเด่นแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕64 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕65 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,979 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 773) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 773)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1000) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(1000) มูลนิธิสถาบันพลังจิตตานุภาพ หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕64 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕65 เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕64
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,980 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๗๗๒) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๗๗๒)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (๗๑๕) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๗๑๕) มูลนิธิสยามบรมราชกุมารี เพื่อสถาบันการศึกษาในเครือจิตรลดา”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,981 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 771) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 771)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (999) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(999) มูลนิธิตับแห่งประเทศไทย”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,982 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 46/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขอมติผู้ถือหน่วยลงทุน และการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม (ฉบับที่ 2) | -ร่าง-
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทน. 46/2562
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขอมติผู้ถือหน่วยลงทุนและการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม
(ฉบับที่ 2)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 129/2 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6 ) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทน. 33/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขอมติผู้ถือหน่วยลงทุนและการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ลงวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(2) การชําระค่าขายคืนหน่วยลงทุนเป็นหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่น เว้นแต่กรณีเป็นกองทุนรวมที่มีการชําระค่าขายคืนหน่วยลงทุนเป็นหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นแทนเงินให้แก่กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพดังกล่าวจะนําหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินที่ได้รับไปลงทุนในกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่เป็นกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เพิ่มเติมสําหรับการจัดตั้งและจัดการของกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่เป็นกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
-----------------------ร่างประกาศตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯ ที่ผ่านการพิจารณาของฝ่ายพัฒนากฎเกณฑ์ 2 แล้วเมื่อวันที่ 7/6/62 .
CSDS เลขที่ 24/2562 .ครั้งที่ 2 ผ่านทาง CSDS .
กําหนดให้กอง MF ต้นทางที่จะ pay in kind ไปยัง PVD และ PVD ดังกล่าวนําของไปลงทุนต่อใน MF for PVD ไม่ต้องใช้มติพิเศษในการแก้ไขข้อผูกพัน
(จากเดิมเคยกําหนดให้การ pay in kind ของ MF for PVD ไม่ต้องใช้มติพิเศษในการแก้ไขข้อผูกพัน) | 10,985 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 57/2562 เรื่อง ข้อผูกผันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการกองทุนรวม (ฉบับที่ 8) | -ร่าง-
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทน. 57/2562
เรื่อง ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการกองทุนรวม
(ฉบับที่ 8)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 119(6) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (ค) ของ (3) ในข้อ 8 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 19/2554 เรื่อง ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการกองทุนรวม ลงวันที่ 5 กรกฎาคมพ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 91/2558 เรื่อง ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการกองทุนรวม (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(ค) การโอนหรือการจํานําหน่วยลงทุนดังนี้
1. หน่วยลงทุนที่บริษัทจัดการกองทุนรวมขายให้ผู้ถือหน่วยลงทุนก่อนวันที่1 มกราคม พ.ศ. 2563 ในกรณีเป็นกองทุนรวมหุ้นระยะยาวที่จัดตั้งขึ้นก่อนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563
2. หน่วยลงทุนของกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2562
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
-----------------------ร่างประกาศตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ผ่านการพิจารณาของฝ่ายพัฒนากฎเกณฑ์ 2 แล้ว
เมื่อวันที่...............................................CSDS เลขที่..79/2562.. ครั้งที่ ................ | 10,987 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 58/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนและการเสนอขายหน่วยลงทุน (ฉบับที่ 7) | -ร่าง-ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทน. 58/2562
เรื่อง หลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนและการเสนอขายหน่วยลงทุน
(ฉบับที่ 7)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในหมวด 2/1 หลักเกณฑ์เพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพหรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาว ข้อ 13/1 และข้อ 13/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 3/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวน และการเสนอขายหน่วยลงทุน ลงวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 92/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนและการเสนอขายหน่วยลงทุน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“หมวด 2/1หลักเกณฑ์เพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี
ข้อ 13/1 เพื่อประโยชน์ตามความในหมวดนี้ คําว่า “กองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี” ให้หมายความว่า กองทุนรวมที่มีลักษณะเป็นกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
ข้อ 13/2 บริษัทจัดการกองทุนรวมต้องจัดส่ง แจกจ่าย หรือจัดให้มีคู่มือการลงทุนซึ่งมีข้อความเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เป็นปัจจุบันตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้
(1) ในการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี ให้บริษัทจัดการกองทุนรวมดําเนินการให้บุคลากรซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับการรับคําสั่งซื้อหน่วยลงทุนจากผู้ที่สนใจจะลงทุนจัดส่งคู่มือการลงทุนซึ่งมีข้อความเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้ผู้ที่สนใจจะลงทุนพร้อมกับใบคําสั่งซื้อหน่วยลงทุน เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ลงทุนเป็นผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีในลักษณะเดียวกันของบริษัทจัดการกองทุนรวมนั้นอยู่แล้ว บริษัทจัดการกองทุนรวมจะไม่จัดส่งคู่มือดังกล่าวก็ได้หากข้อมูลของคู่มือนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากข้อมูลที่ผู้ลงทุนรายดังกล่าวเคยได้รับ
(2) จัดให้มีคู่มือการลงทุนซึ่งมีข้อความเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีไว้ ณ ที่ทําการทุกแห่งของบริษัทจัดการกองทุนรวมและ ณ สถานที่ติดต่อทุกแห่งของผู้สนับสนุนการขายหรือรับซื้อคืน เพื่อประโยชน์ในการแจกจ่ายแก่ผู้ที่สนใจจะลงทุนได้ตลอดเวลาที่เสนอขายหน่วยลงทุน”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2562
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
-----------------------ร่างประกาศตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ผ่านการพิจารณาของฝ่ายพัฒนากฎเกณฑ์ 2 แล้ว
เมื่อวันที่.......04/12/62................................CSDS เลขที่...79/2562... ครั้งที่ .......3......... | 10,988 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 770) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 770)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)
แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (976) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔)พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(976) สมาคมศิษย์เก่าจิตรลดา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. ๒๕64
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,990 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 3/2562 เรื่อง แนวทางในการปฎิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน | ประกาศแนวปฏิบัติ
ที่ นป. 3/2562
เรื่อง แนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทลธ. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ลงวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (“ประกาศ ที่ ทลธ. 8/2557”) กําหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน นั้น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดข้างต้นของผู้ประกอบธุรกิจ สํานักงานโดยอาศัยอํานาจตามข้อ 3 ประกอบกับข้อ 23 แห่งประกาศ ที่ ทลธ. 8/2557 จึงกําหนดแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุนไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 แนวทางตามประกาศนี้มีรายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ทั้งนี้ รายละเอียดดังกล่าวได้แก่เรื่องดังต่อไปนี้
(1) การปฏิบัติหน้าที่หรือให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
(2) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ
(3) การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 (4) การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ
ประกาศ ณ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2562
(นายรพี สุจริตกุล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
| | สารบัญ บทนํา | 2 |
| | แนวทางปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน | 2 |
| | ข้อที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่หรือให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต | 2 |
| | ข้อที่ 2 การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ | 3 |
| | ข้อที่ 3 การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 | 8 |
| | ข้อที่ 4 การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ | 9 |
| | บทนํา เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากร ในธุรกิจตลาดทุนในประกาศว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน และเป็นแนวทางปฏิบัติ ที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ สํานักงานจึงได้กําหนดแนวปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากร ในธุรกิจตลาดทุน เพื่อให้ถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ต่อไป แนวทางปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ข้อ 1 การปฏิบัติหน้าที่หรือให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เช่น (1) ต้องไม่กระทําการไปในทางไม่ซื่อสัตย์สุจริต เช่น (1.1) ไม่กระทําการหรือให้การสนับสนุน ช่วยเหลือในการกระทําการโดยมิชอบ หรือได้ไปซึ่งทรัพย์สินของผู้ลงทุน เช่น ทุจริต ยักยอก ฉ้อโกง ทรัพย์สินของผู้ลงทุน เป็นต้น (1.2) ไม่เปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าโดยใช้ชื่อและลงลายมือชื่อของบุคคลอื่น และใช้บัญชีดังกล่าวซื้อขายเพื่อตนเองหรือผู้อื่น (1.3) ไม่จัดหา nominee เพื่อเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือจัดหาบัญชีให้บุคคลอื่นเพื่อซื้อขาย (1.4) ไม่ใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าของผู้ลงทุน ซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเองหรือผู้อื่น โดยผู้ลงทุนไม่ยินยอม (1.5) ไม่นําทรัพย์สินหรือข้อมูลของบริษัทที่ไม่ใช่ทรัพย์สินทั่วไป เช่น software หรือข้อมูลของผู้ลงทุน เป็นต้น ไปใช้เพื่อประโยชน์ตนเอง หรือบุคคลอื่น โดยไม่ได้รับอนุญาตจากบริษัท (2) ต้องซื่อสัตย์สุจริตต่อการประกอบวิชาชีพ โดยไม่กระทําการในลักษณะเอาเปรียบ ผู้ลงทุน หรือแสวงหาประโยชน์จากผู้ลงทุนให้แก่ตนเองหรือบุคคลอื่น เช่น (2.1) ไม่ใช้หรือขอใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าของผู้ลงทุน ซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อตนเองหรือผู้อื่น โดยผู้ลงทุนยินยอม (2.2) ไม่วิเคราะห์ ชักชวนหรือให้คําแนะนําในลักษณะที่เป็นการกระตุ้น ยุยง หรือสนับสนุนให้ผู้ลงทุนทําธุรกรรมบ่อยครั้ง (churning) (2.3) ไม่เบียดบังหรือไม่แสวงหาประโยชน์จากผู้ลงทุนโดยอาศัยโอกาส ในการปฏิบัติงาน เช่น (ก) ไม่นําข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์การลงทุนที่อยู่ระหว่างการจัดทําบทวิเคราะห์การลงทุนไปซื้อขายหรือแสวงหาผลประโยชน์ต่อตนเองหรือบุคคลอื่นก่อนที่จะมีการเผยแพร่บทวิเคราะห์ให้กับผู้ลงทุน (ข) ไม่เรียกเก็บหรือรับค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนจากผู้ลงทุนนอกเหนือจาก ที่ต้องชําระต่อผู้ประกอบธุรกิจ เช่น รับบริหาร port ให้ผู้ลงทุนโดยเรียกผลตอบแทน เป็นต้น (ค) ไม่เสนอขายหุ้น IPO โดยได้รับผลตอบแทนเกินกว่าที่ลูกค้าต้องจ่ายจริง (ง) ไม่รับสินบน (จ) ไม่รับค่าตอบแทนหรือรับผลประโยชน์อื่นใดไม่ว่าในรูปเงิน สิ่งของ หรือบริการจากบุคคลใด ๆ ยิ่งกว่าประโยชน์ปกติที่พึงได้รับจากการประกอบธุรกิจ (2.4) ต้องดําเนินการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าให้ผู้ลงทุนตามลําดับก่อนหลัง เพื่อไม่ให้มีการหาประโยชน์ หรือเป็นการเอาเปรียบผู้ลงทุน เว้นแต่ผู้ลงทุนได้กําหนดเงื่อนไข การซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าไว้เป็นอย่างอื่นอย่างชัดเจน (2.5) ในการจัดการกองทุน ต้องไม่ทําธุรกรรมเพื่อลูกค้ากับคู่สัญญารายใดรายหนึ่งบ่อยครั้งเกินจําเป็น (churning) เว้นแต่เป็นการดําเนินการตามที่ตกลงไว้กับลูกค้า ข้อ 2 การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ และปฏิบัติต่อผู้ลงทุนทุกรายอย่างเป็นธรรม ด้วยความเอาใจใส่ ระมัดระวัง รอบคอบ โดยคํานึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสําคัญ เช่น (1) การให้ข้อมูล/เอกสารตรงต่อความจริง (1.1) ไม่เปิดเผยหรือเผยแพร่ข้อมูล หรือเอกสารอันเป็นเท็จที่อาจทําให้สําคัญผิด หรือ ไม่ปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้งในสาระสําคัญต่อผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น ผู้ประกอบธุรกิจ หรือทางการ เช่น ปกปิดข้อมูล หรือยื่นเอกสารเท็จในการขอความเห็นชอบเป็นบุคลากรในธุรกิจตลาดทุนต่อสํานักงาน เป็นต้น (1.2) ไม่ปกปิดข้อมูลหรือยื่นเอกสารอันเป็นเท็จต่อผู้ประกอบธุรกิจ เพื่อช่วยเหลือ ผู้ลงทุน เช่น ปกปิด ตกแต่งข้อมูล เพื่อเปิดบัญชี หรือเพื่อให้ได้รับอนุมัติวงเงินเพิ่ม เป็นต้น (1.3) ไม่ให้ข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือไม่ตรงต่อความจริง เพื่อปกปิดผู้ลงทุนหรือ เพื่อช่วยเหลือผู้กระทําผิด (2) การทําความรู้จักและตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริงกี่ยวกับลูกค้า (“KYC/CDD”) และการประเมินความเหมาะสมในการลงทุน (suitability test) (2.1) ต้องทํา KYC/CDD อย่างครบถ้วนและเพียงพอเพื่อทราบและระบุตัวตน หรือผู้รับประโยชน์ที่แท้จริงของลูกค้า ทั้งนี้ หากพบรายการที่อาจเข้าข่ายผิดปกติ หรือมีเหตุอันควรสงสัยต้องทํา enhanced KYC/CDD โดยไม่ชักช้า (2.2) ต้องจัดทํา suitability test อย่างครบถ้วนและเพียงพอ เพื่อประเมินความสามารถ ในการรับความเสี่ยงในการลงทุนของลูกค้า อันจะนําไปสู่การให้คําแนะนําการลงทุนแก่ลูกค้าอย่างเหมาะสม (3) การให้คําแนะนําและการให้ข้อมูลแก่ผู้ลงทุน (3.1) ต้องเปิดเผยชื่อและบริษัทที่ตนสังกัดหรือดําเนินการแทน เมื่อมีการติดต่อ กับผู้ลงทุน เว้นแต่ผู้ลงทุนทราบอยู่แล้ว (3.2) ต้องให้คําแนะนําอย่างเป็นกลางและอิสระตามหลักวิชาชีพอันเป็นที่ยอมรับ และมีเอกสารสนับสนุนที่ใช้อ้างอิงได้ รวมทั้งชี้แจงให้ผู้ลงทุนทราบว่าข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริงหรือข้อคิดเห็น อย่างไรก็ดี ในการให้ความเห็นหรือคําแนะนําควรเป็นไปตามแนวทางที่บริษัทต้นสังกัดกําหนด (house opinion) เพื่อให้สามารถนําเสนอความเห็นหรือคําแนะนําเป็นไปในแนวทางเดียวกันได้ก่อนเป็นหลัก (3.3) ต้องให้ข้อมูลหรือคําแนะนําที่เหมาะสม (suitability) แก่ผู้ลงทุนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน รวมทั้งต้องเปิดเผยหรือให้ข้อมูลที่มีความสําคัญและเกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ ต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ลงทุน โดยไม่ปกปิดข้อมูลอันเป็นสาระสําคัญซึ่งอาจทําให้เกิดความเข้าใจผิด หรือบิดเบือนข้อเท็จจริง เช่น (ก) เปิดเผยหรือแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและความเสี่ยงเฉพาะของหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าหรือข้อจํากัดเกี่ยวกับหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า เช่น ใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่กําลังครบกําหนดอายุ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ให้ผู้ลงทุนไถ่ถอนคืนก่อนครบกําหนดได้ หน่วยลงทุน ของกองทุนรวมที่อยู่ระหว่างการควบรวมกองทุน หน่วยลงทุนประเภทที่รับซื้อคืนแบบมีกําหนดระยะเวลา และเงื่อนไขการจ่ายผลตอบแทน เป็นต้น (ข) เปิดเผยหรือแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ เช่น อยู่ระหว่าง การเพิ่มทุนหรือลดทุน การเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือการควบรวมกิจการ เป็นต้น (ค) เปิดเผย แจ้งข้อมูล หรือคําเตือนต่าง ๆ อันเป็นสาระสําคัญที่อาจมีผลกระทบ ต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ลงทุน เช่น ข้อมูลความเสี่ยงของกองทุน ให้คําแนะนําเพิ่มเติม หากผู้ลงทุนจะลงทุน ในกองทุนที่มีความเสี่ยงสูงกว่าที่ผู้ลงทุนจะรับได้ การจ่ายเงินปันผล ภาษี เงื่อนไขในการได้รับเงิน และ Auto redeem เป็นต้น (ง) กรณีการขายหน่วยลงทุน ต้อง 1. แจกหนังสือชี้ชวนให้แก่ผู้ลงทุน หรือให้ข้อมูลในหนังสือชี้ชวนให้ครบถ้วน 2. ให้ข้อมูลหรือคําแนะนําที่เหมาะสมกับข้อมูลผู้ลงทุนตาม customer profile ที่ update 3. ภายหลังจากที่ได้ลงทุนในหน่วยลงทุนนั้นแล้ว ต้องให้ข้อมูลหรือคําแนะนํา ที่มีผลต่อการตัดสินใจลงทุนอย่างต่อเนื่อง เช่น material event เป็นต้น (3.4) ต้องใช้วิจารณญาณในการให้คําแนะนํา หากเป็นการให้คําแนะนําซึ่งเป็นผลมาจากการวิเคราะห์ข่าวที่อาจมีผลกระทบต่อการลงทุนในหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าต้องแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบถึงที่มาของข่าวดังกล่าวด้วย รวมทั้งไม่ทําการใด ๆ ที่เป็นการเผยแพร่หรือบอกต่อข่าวลือ หรือข้อมูล ที่อาจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ยังไม่ได้รับการยืนยันความถูกต้อง จากผู้ที่เกี่ยวข้อง (3.5) ต้องไม่เร่งรัดให้ผู้ลงทุนตัดสินใจในการลงทุน โดยไม่ให้เวลาผู้ลงทุนศึกษาข้อมูล และตัดสินใจอย่างเพียงพอ (3.6) ในการจัดทําบทวิเคราะห์การลงทุนเพื่อเผยแพร่ต่อผู้ลงทุน และวิเคราะห์ การลงทุนผ่านสื่อ (ก) ต้องมีความเป็นอิสระตามหลักวิชาชีพ และมีเอกสารสนับสนุนที่ใช้อ้างอิงได้ (ข) ต้องเปิดเผยว่าได้รับความเห็นชอบเป็นนักวิเคราะห์การลงทุนประเภทปัจจัยพื้นฐานด้านใด[1](#fn1) หรือปัจจัยทางเทคนิค โดยต้องจัดทําบทวิเคราะห์การลงทุน/ให้ข้อมูลตามขอบเขต การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากบริษัทต้นสังกัด (ประเภทปัจจัยพื้นฐานด้านใดหรือปัจจัยทางเทคนิค) ทั้งนี้ ต้องไม่ปฏิบัตินอกขอบเขตของประเภทที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (4) การปฏิบัติตามคําสั่งของผู้ลงทุน (4.1) ต้องไม่รับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์/ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าแทนผู้ลงทุน (4.2) ไม่ตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าให้ผู้ลงทุนโดยผู้ลงทุน ไม่ได้สั่ง ทั้งนี้ ไม่ว่าจะทําเพื่อประโยชน์ของผู้ลงทุน ไม่ว่าจะได้รับประโยชน์จากการจัดการเช่นว่านั้นหรือไม่ และไม่ว่าผู้ลงทุนจะรับรู้หรือไม่รับรู้เรื่องดังกล่าวด้วยก็ตาม รวมถึงไม่ได้เป็นไปตามข้อตกลงที่ทําไว้เป็นลายลักษณ์อักษรที่บริษัททํากับลูกค้า (4.3) ต้องให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าแก่ผู้ลงทุนตามคําสั่ง ของผู้ลงทุนที่เป็นเจ้าของบัญชีหรือตามคําสั่งของผู้รับมอบอํานาจเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้ลงทุน (4.4) ต้องดําเนินการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าให้ผู้ลงทุนตามลําดับก่อนหลัง เว้นแต่ผู้ลงทุนได้กําหนดเงื่อนไขการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าไว้เป็นอย่างอื่น อย่างชัดเจน (4.5) ต้องไม่ยุ่งเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ลงทุน เช่น รับมอบหมายจากผู้ลงทุนหรือช่วยเหลือในการจัดการเกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน การชําระราคาค่าซื้อขายหลักทรัพย์ การเบิกถอน/โอนย้ายหลักทรัพย์ หรือการวางหลักประกันแทนผู้ลงทุน เป็นต้น (4.6) ต้องจัดทําบันทึกการรับคําสั่งหรือการยืนยันให้ตรงตามความจริง เช่น ไม่จัดทํารายงานการส่งคําสั่งซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้า (ใบ F8) โดยผู้ลงทุน ไม่ได้มาส่งคําสั่งซื้อขายที่ห้องค้า และไม่อําพรางเป็นผู้ลงทุนเพื่อยันยันรายการซื้อขาย โดยผู้ลงทุนรับทราบเป็นต้น (4.7) ต้องไม่เป็นผู้ส่งคําสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ที่ไม่เหมาะสม (false market) (4.8) ต้องยับยั้ง ทักท้วง หรือแจ้ง ในการให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์หรือ สัญญาซื้อขายล่วงหน้ากับบุคคล ซึ่งน่าเชื่อหรือสงสัยว่ามีการกระทําที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (4.9) ต้องจัดให้มีที่มาของคําสั่งซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ของผู้ลงทุน (เช่น บันทึกเทป หรือจัดทํา order ticket) เป็นต้น (5) การให้ความช่วยเหลือผู้ลงทุนให้ซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ที่ไม่เหมาะสมกับฐานะการเงิน (5.1) ต้องไม่ช่วยเหลือ สนับสนุนหรือร่วมมือกับผู้ลงทุนในการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ไม่เหมาะสมกับฐานะทางการเงิน ความสามารถในการชําระหนี้ หรือข้อจํากัด การลงทุนของผู้ลงทุน เช่น ชําระค่าซื้อหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน เป็นต้น (5.2) ต้องไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้เงินกู้นอกระบบเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า เช่น ใช้หรือจัดหาแหล่งเงินกู้นอกระบบ ให้การสนับสนุนหรือช่วยเหลือหรือรู้เห็นว่ามีการใช้เงินกู้นอกระบบในการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า เป็นต้น (6) การปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (conflict of interest) เช่น (6.1) หลีกเลี่ยงการติดต่อ ชักชวน หรือให้คําแนะนําการลงทุน ที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เว้นแต่จะเปิดเผยถึงส่วนได้เสียหรือความขัดแย้งทางผลประโยชน์นั้น ให้ผู้ลงทุนทราบ เช่น (ก) บริษัทหลักทรัพย์ ผู้บริหารของบริษัทหลักทรัพย์ หรือนักวิเคราะห์การลงทุนและผู้แนะนําการลงทุนถือหุ้นในบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์เกินกว่าร้อยละห้าของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ให้นับรวมหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าวด้วย (ข) บริษัทหลักทรัพย์หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ออกหลักทรัพย์นั้น (ค) ผู้บริหารของบริษัทหลักทรัพย์หรือนักวิเคราะห์การลงทุนและผู้แนะนํา การลงทุนเป็นกรรมการในบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์นั้น (ง) บริษัทหลักทรัพย์หรือบริษัทที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินตามประกาศว่าด้วยการให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน (จ) ผู้แนะนําการลงทุนได้รับประโยชน์ตอบแทนในการติดต่อ ชักชวน ให้คําแนะนํา หรือขายแก่ผู้ลงทุนในอัตราที่แตกต่างกัน เช่น ได้รับคะแนนผลงาน (Sale Score Point) หรือค่าธรรมเนียมจากการขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมหนึ่งมากกว่าอีกกองทุนรวมหนึ่ง เป็นต้น (6.2) ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ในกรณีที่นักวิเคราะห์การลงทุนและผู้แนะนําการลงทุนทําหน้าที่ชักชวน แนะนําให้ผู้ลงทุน ซื้อขายหลักทรัพย์ หรือเผยแพร่บทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ ในกรณีที่บริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ตามประกาศดังกล่าว (6.3) แจ้งให้ผู้ลงทุนทราบถึงการเป็นคู่สัญญากับผู้ลงทุน ในกรณีที่บริษัทหลักทรัพย์ เข้าเป็นคู่สัญญาในการซื้อขายหลักทรัพย์กับผู้ลงทุน เว้นแต่กรณีที่บริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ดูแลสภาพคล่อง (market maker) หรือผู้ค้าหลักทรัพย์ (dealer) และแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบว่าบริษัทหลักทรัพย์ทํารายการซื้อขายหลักทรัพย์กับผู้ลงทุนในฐานะใด ในกรณีที่บริษัทเป็นทั้งนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และผู้ค้าหลักทรัพย์นั้น (6.4) ในการจัดทําบทวิเคราะห์การลงทุน นักวิเคราะห์การลงทุนต้องไม่ซื้อหรือขายหลักทรัพย์ก่อนที่บทวิเคราะห์การลงทุนในหลักทรัพย์ดังกล่าวได้ถูกเผยแพร่แก่ผู้ลงทุนไปแล้วไม่น้อยกว่าสามวันทําการ (6.5) การจัดการลงทุนเพื่อลูกค้า กรณีที่เป็นธุรกรรมที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ต้องแสดงได้ว่าเป็นการทําธุรกรรมโดยคํานึงถึงประโยชน์ที่ดีของลูกค้าและทําธุรกรรมตามธรรมเนียม ทางการค้าปกติ รวมทั้งเปิดเผยผลการทําธุรกรรมที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้ลูกค้าทราบ อย่างครบถ้วน ถูกต้อง เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด หรือเปิดเผยในระยะเวลาที่กําหนดตามสัญญาที่ตกลงไว้กับลูกค้า (7) การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และระเบียบปฏิบัติของบริษัทที่สังกัด (7.1) ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามประเภทที่ตนได้รับความเห็นชอบหรือขอบเขต ที่ได้รับมอบหมายจากบริษัทที่ตนสังกัดหรือดําเนินการแทน เช่น ทําหน้าที่ภายในขอบเขตความรับผิดชอบ ที่บริษัทมอบหมาย ไม่จัดการหรือยุ่งเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญา ซื้อขายล่วงหน้าของผู้ลงทุนที่อยู่ในความรับผิดชอบของสายงานด้านปฏิบัติการ (back office) เป็นต้น (7.2) ต้องปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้าของพนักงาน (8) การปฏิบัติงานอื่น เช่น (8.1) ต้องรักษาความลับของผู้ลงทุน เช่น การไม่นําข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลการลงทุน ในหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า และข้อมูลทางการเงินของผู้ลงทุนไปเปิดเผย เว้นแต่เป็นการเปิดเผยตามหน้าที่ และไม่นําข้อมูลผู้ลงทุนนําไปหาประโยชน์แก่ตนเองและบุคคลอื่น เป็นต้น (8.2) ไม่รับประกันต่อผู้ลงทุนเกี่ยวกับผลตอบแทน ผลประโยชน์ ผลขาดทุน หรือความเสียหาย ที่อาจเกิดจากการซื้อขายหลักทรัพย์/สัญญาซื้อขายล่วงหน้า (8.3) ต้องไม่ลงนามในเอกสารเพื่อแสดงการทําหน้าที่ โดยไม่ได้ทําหน้าที่นั้นจริง เช่น ลงนามในใบคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุน หรือลงนามในเอกสารอื่นที่ตนไม่ได้เป็นผู้ติดต่อหรือให้คําแนะนํา กับผู้ลงทุน เป็นต้น (8.4) จัดการกองทุนโดยปฏิบัติต่อผู้ลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม เช่น การจัดสรรการลงทุน การจัดสรรหลักทรัพย์ทั้งก่อนและหลังการลงทุน การใช้ราคาหลักทรัพย์ในการทํา ธุรกรรม การกําหนดมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์ การเปิดเผยข้อมูลที่จําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุนแก่ลูกค้าอย่างครบถ้วน เป็นต้น ข้อ 3 การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 และประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตน รวมทั้งส่วนที่ใช้บังคับกับผู้ประกอบธุรกิจ เช่น (1) ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการติดต่อ ชักชวน ให้คําแนะนํา วางแผน หรือ การวิเคราะห์คุณค่าหรือความเหมาะสมในการซื้อขายหรือการลงทุนในหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (1.1) ต้องใช้ระบบการบันทึกการให้คําแนะนํา การรับคําสั่งซื้อขาย และการเจรจา ตกลงเกี่ยวกับการลงทุนกับผู้ลงทุนที่บริษัทจัดไว้ และจัดเก็บบทวิเคราะห์ไว้ตามระยะเวลาที่หลักเกณฑ์กําหนด (1.2) ต้องให้คําแนะนําและข้อมูลแก่ผู้ลงทุนเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ อย่างชัดเจน และถูกต้อง เช่น การวางหลักประกัน การคํานวณ Excess Equity การบังคับขาย เป็นต้น (2) ต้องไม่ละเลยการตรวจสอบดูแลตามสมควร (fail to supervise) สําหรับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหาร ผู้จัดการกองทุน และกรรมการในคณะกรรมการลงทุนของกองทุน เป็นต้น เช่น (2.1) ต้องดําเนินการแก้ไขทันที เมื่อรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการกระทําผิด หรือ รู้ว่ามีระบบงานบกพร่อง เช่น มีพนักงานแจ้งหรือรายงานข้อมูลให้ทราบแล้ว ต้องรีบดําเนินการแก้ไข เป็นต้น (2.2) ต้องกําหนดให้มีระบบงานที่เพียงพอในการกํากับดูแลให้มีประสิทธิภาพ เช่น กําหนดระบบงานตรวจสอบที่มี check & balance หรือมีการแบ่งแยกหน้าที่ระหว่าง front office และ back office เป็นต้น (2.3) ไม่ละเลยการตรวจสอบดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบงาน หรือกํากับดูแลบุคลากรของตน เช่น ตรวจสอบ หรือสอบทานให้มีการปฏิบัติตามระบบในเวลาที่เหมาะสม หรือเมื่อพบว่ามีเหตุการณ์ที่ไม่ปกติ เป็นต้น ข้อ 4 การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ ที่กําหนดโดยสํานักงาน สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจตลาดทุนที่สํานักงานยอมรับ เช่น (1) ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติงานที่สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทยกําหนด เช่น เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และการจัดทําบทวิเคราะห์และคุณสมบัตินักวิเคราะห์ เป็นต้น (2) ในกรณีที่นักวิเคราะห์การลงทุน หรือผู้แนะนําการลงทุนเป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนกับ ตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อเป็นตัวแทนของสมาชิกในการซื้อขาย ด้วยระบบการซื้อขาย ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้ากําหนด เช่น การส่งคําสั่งที่มีลักษณะไม่เหมาะสม การ rebate การใช้หรือเปิดเผย trader ID เป็นต้น (3) ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การจัดทําบทวิเคราะห์ที่มีคุณภาพของสมาคมนักวิเคราะห์ การลงทุน | |
-----------------------สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
แนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
-----------------------24
---
1. | 10,991 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 4/2562 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการกำหนดส่วนได้เสียของผู้ถือหน่วยลงทุนสำหรับสิทธิประโยชน์หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นในกองทุนรวมตลาดเงินที่กำหนดราคาหน่วยลงทุนคงที่กรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าหน่วยลงทุนอย่างมีนัยสำคัญ | ร่าง-
ประกาศแนวปฏิบัติ
ที่ นป. 4/2562
เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการกําหนดส่วนได้เสียของผู้ถือหน่วยลงทุนสําหรับสิทธิประโยชน์หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นในกองทุนรวมตลาดเงินที่กําหนดราคาหน่วยลงทุนคงที่กรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าหน่วยลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ตามที่ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ สน. 87/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (“ประกาศ ที่ สน.87/2558”) กําหนดให้บริษัทจัดการกองทุนรวมกําหนดส่วนได้เสียของผู้ถือหน่วยลงทุนสําหรับสิทธิประโยชน์หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นในกองทุนรวมตลาดเงินที่กําหนดราคาหน่วยลงทุนคงที่ไว้ในโครงการให้ชัดเจน กรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าหน่วยลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดข้างต้นของบริษัทจัดการกองทุนรวม สํานักงานโดยอาศัยอํานาจตามข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 89/2558เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 12/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562จึงกําหนดแนวทางปฏิบัติไว้ตามเอกสารฉบับนี้
ข้อ 1 ในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตลาดเงินที่กําหนดราคาหน่วยลงทุนคงที่อย่างมีนัยสําคัญเป็นอัตราตั้งแต่ร้อยละ 0.5 ของราคาหน่วยลงทุนคงที่ หากบริษัทจัดการกองทุนรวมกําหนดส่วนได้เสียของผู้ถือหน่วยลงทุนสําหรับสิทธิประโยชน์หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นในกองทุนรวมดังกล่าวในโครงการไว้อย่างชัดเจน โดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวมเป็นสําคัญและปฏิบัติต่อผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเป็นธรรม ตลอดจนไม่มีลักษณะเป็นการเอาเปรียบผู้ถือหน่วยลงทุนรายอื่นที่เหลืออยู่ตามแนวทางปฏิบัตินี้จนครบถ้วน สํานักงานจะพิจารณาว่าบริษัทจัดการกองทุนรวมได้ปฏิบัติตามประกาศ ที่ สน.87/2558 ในส่วนที่เกี่ยวข้องแล้ว ทั้งนี้ หากบริษัทจัดการกองทุนรวมดําเนินการแตกต่างจากแนวทางปฏิบัตินี้ บริษัทจัดการกองทุนรวมมีภาระที่จะต้องพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าการดําเนินการนั้นยังคงอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์ หลักการและข้อกําหนดของหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2 แนวทางปฏิบัติตามประกาศนี้มีรายละเอียดเกี่ยวกับการกําหนดส่วนได้เสียของผู้ถือหน่วยลงทุนสําหรับสิทธิประโยชน์หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นในกองทุนรวมตลาดเงินที่กําหนดราคาหน่วยลงทุนคงที่สําหรับกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อมูลค่าหน่วยลงทุนอย่างมีนัยสําคัญตามที่กําหนดในภาคผนวกที่แนบท้ายประกาศแนวปฏิบัตินี้
ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562
(นายรพี สุจริตกุล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 10,992 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 6/2562 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดการกองทุนส่วนบุคคล | ประกาศแนวปฏิบัติที่ นป. 6/2562
เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดการกองทุนส่วนบุคคล
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 (“ประกาศที่ ทธ. 35/2556”) และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 24/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียด เกี่ยวกับมาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และบุคลากรของบริษัทจัดการกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562 (“ประกาศที่ สธ. 24/2562”) กําหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจจัดให้มีโครงสร้างการบริหารจัดการ นโยบาย มาตรการ และระบบงานรองรับการให้บริการจัดการกองทุนส่วนบุคคลแก่ลูกค้า โดยต้องดําเนินการควบคุมดูแล ติดตาม และตรวจสอบให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบาย มาตรการ และระบบงานดังกล่าว ตลอดจนมีการทบทวนความเหมาะสมของเรื่องดังกล่าวเป็นประจํา เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจสามารถให้บริการเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของลูกค้าและดําเนินธุรกิจให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และมาตรฐานการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้อง นั้น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดข้างต้นของผู้ประกอบธุรกิจ สํานักงานโดยอาศัยอํานาจตามข้อ 5(3) ประกอบกับข้อ 12(1) (2) (3) (3/1) (4) (5) (6) (7) (8) (10) (11) และ (12) แห่งประกาศที่ ทธ. 35/2556 จึงกําหนดแนวทางปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล
ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจจัดให้มีโครงสร้างการบริหารจัดการ นโยบาย มาตรการ และระบบงานเพื่อรองรับการประกอบธุรกิจการจัดการกองทุนส่วนบุคคลตามแนวทางปฏิบัตินี้จนครบถ้วน สํานักงานจะพิจารณาว่าผู้ประกอบธุรกิจได้ปฏิบัติตามประกาศที่ ทธ. 35/2556 ประกาศที่ สน. 87/2558 และประกาศที่ สธ. 24/2562 ในส่วนที่เกี่ยวข้องแล้ว ทั้งนี้ หากผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการแตกต่างจากแนวปฏิบัตินี้ ผู้ประกอบธุรกิจมีภาระที่จะต้องพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าการดําเนินการนั้นยังคงอยู่ภายใต้หลักการและข้อกําหนดของหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2 แนวทางปฏิบัติมีรายละเอียดตามที่กําหนดในภาคผนวกที่แนบท้ายประกาศแนวทางปฏิบัตินี้ ทั้งนี้ รายละเอียดดังกล่าวได้แก่เรื่องดังต่อไปนี้
(1) หลักการในการประกอบธุรกิจจัดการลงทุน
(2) โครงสร้างองค์กร
(3) ความพร้อมบุคลากร
(4) การทําความรู้จักกับลูกค้าเพื่อเข้าทําสัญญารับจัดการกองทุนส่วนบุคคล
(5) สัญญารับจัดการกองทุนส่วนบุคคล
(6) การกําหนดค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
(7) การจัดการลงทุน
(8) การบริหารจัดการความเสี่ยง
(9) การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(10) การกํากับดูแลการปฏิบัติงาน
(11) การควบคุมภายใน
(12) การคํานวณมูลค่ายุติธรรม
(13) การวัดผลการดําเนินงาน
(14) การดูแลรักษาทรัพย์สินของลูกค้า
(15) การลงทุนเพื่อเป็นทรัพย์สินของผู้ประกอบธุรกิจ
(16) การมอบหมายงานให้บุคคลอื่นเป็นผู้รับดําเนินการ
(17) การดําเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(18) การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ
(19) การรายงานต่อสํานักงาน
(20) การจัดการเรื่องร้องเรียน
(21) การใช้สิทธิออกเสียง
(22) การจัดเก็บเอกสาร/ข้อมูล
(23) การรับและส่งมอบทรัพย์สินของกองทุน
ประกาศ ณ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562
(นายรพี สุจริตกุล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 10,993 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 7/2562 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการขอมติผู้ถือหน่วยลงทุน | ประกาศแนวปฏิบัติที่ นป. 7/2562
เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการขอมติผู้ถือหน่วยลงทุน
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทน. 33/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการขอมติผู้ถือหน่วยลงทุนและการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมลงวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2562 ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดแนวทาง (guideline)การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสม และสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากบริษัทจัดการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าบริษัทจัดการ มีการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ในเรื่องที่มีการออกแนวทางนั้น สํานักงานจึงกําหนดแนวทางปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนรวมวายุภักษ์
ข้อ 2 แนวทางปฏิบัติมีรายละเอียดตามที่กําหนดในภาคผนวกที่แนบท้ายประกาศแนวทางปฏิบัตินี้ ทั้งนี้ รายละเอียดดังกล่าวได้แก่เรื่องดังต่อไปนี้
(1) การขอมติผู้ถือหน่วยลงทุน
(2) การกําหนดวันขอมติผู้ถือหน่วยลงทุน
(3) การจัดส่งหนังสือ
(4) การนับวันเพื่อส่งเอกสาร
(5) การจัดทํา นําส่ง และจัดเก็บข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
(6) รายละเอียดในหนังสือนัดประชุม
(7) การจัดให้มีผู้ดูแลผลประโยชน์เข้าร่วมประชุม
(8) รายละเอียดในหนังสือขอมติ
(9) องค์
(10) การขอมติผู้ถือหน่วยลงทุนครั้งใหม่ เนื่องจากการขอมติในครั้งแรกไม่ครบองค์
(11) มติผู้ถือหน่วยลงทุน
(12) สิทธิในการออกเสียง
(13) การจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(14) การกําหนดเรื่องที่มีนัยสําคัญ
ประกาศ ณ วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2562
(นางทิพยสุดา ถาวรามร)
รองเลขาธิการ
เลขาธิการแทน สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 10,994 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 8/2562 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการติดต่อหรือให้บริการแก่ลูกค้าที่ผู้ประกอบธุรกิจต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ | ประกาศแนวปฏิบัติ
ที่ นป. 8/2562
เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการติดต่อหรือให้บริการแก่ลูกค้าที่ผู้ประกอบธุรกิจต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 (“ประกาศ ที่ ทธ. 35/2556”) และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 35/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการติดต่อและให้บริการลูกค้าสําหรับผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 (“ประกาศ ที่ สธ. 35/2557”)กําหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (“ผู้ประกอบธุรกิจ”) ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงานในการให้บริการอย่างมีคุณภาพ และปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน โดยคํานึงถึงประเภท ลักษณะ และเงื่อนไขของลูกค้า รวมทั้งใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษในการติดต่อหรือให้บริการแก่ลูกค้าที่มีข้อจํากัดในการสื่อสาร หรือในการตัดสินใจด้วยตนเองหรือมีภาวะบกพร่องทางสุขภาพ
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดข้างต้นของผู้ประกอบธุรกิจ สํานักงานโดยอาศัยอํานาจตามข้อ 5(3) ประกอบกับข้อ 7(3) ข้อ 11 ข้อ 12(3/1) ข้อ 25/1 ข้อ 26 และข้อ 44ของประกาศ ที่ ทธ. 35/2556 จึงกําหนดแนวทางปฏิบัติสําหรับผู้ประกอบธุรกิจไว้ในประกาศนี้ซึ่งในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัตินี้อย่างครบถ้วน สํานักงานจะพิจารณาว่าผู้ประกอบธุรกิจได้ปฏิบัติตามประกาศ ที่ ทธ. 35/2556 และประกาศ ที่ สธ. 35/2557 ในส่วนที่เกี่ยวข้องแล้ว ทั้งนี้ หากผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการแตกต่างจากแนวปฏิบัตินี้ ผู้ประกอบธุรกิจมีภาระที่จะต้องพิสูจน์ให้เห็นได้ว่า การดําเนินการนั้นยังคงเป็นไปตามหลักการและข้อกําหนดของหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 1 ผู้ประกอบธุรกิจมีระบบงานและมาตรฐานการปฏิบัติงานที่รองรับการให้บริการแก่ลูกค้าที่ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ ซึ่งรวมถึงลูกค้าในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) ลูกค้าที่เป็นบุคคลธรรมดาที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป
(2) ลูกค้าที่มีข้อจํากัดในการสื่อสารหรือในการตัดสินใจด้วยตนเอง หรือมีภาวะบกพร่องทางสุขภาพ ซึ่งรวมถึง “คนพิการ” ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
ข้อ 2 ผู้ประกอบธุรกิจมีระเบียบวิธีปฏิบัติที่ชัดเจนในการติดต่อหรือให้บริการแก่ลูกค้าตามที่กล่าวแล้วในข้อ 1 โดยคํานึงถึงสภาพ ประเภท และเงื่อนไขข้อจํากัดของลูกค้าเป็นสําคัญโดยอย่างน้อยควรกําหนดในเรื่องดังต่อไปนี้
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(1) จัดให้มีพนักงานที่ทําหน้าที่อํานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าที่เข้ามาติดต่อหรือใช้บริการ
(2) ก่อนเริ่มให้บริการมีการดําเนินการเพื่อให้มั่นใจได้ว่า ลูกค้าสามารถศึกษาหรือทําความเข้าใจข้อตกลง เงื่อนไข และความเสี่ยงในการใช้บริการได้ เช่น
(2.1) มีพนักงานอ่านข้อมูลให้ลูกค้า
(2.2) มีไฟล์เสียงให้ลูกค้าฟัง
(2.3) ใช้เอกสารที่มีตัวอักษรใหญ่กว่าปกติ
(2.4) มีเอกสารที่เป็นอักษรเบรลล์
(2.5) มีแอปพลิเคชันที่รองรับการใช้งานในการแปลงข้อมูลเป็นเสียง เป็นต้น
(3) กําหนดวิธีปฏิบัติที่ชัดเจนในการทําข้อตกลงกับลูกค้าก่อนเริ่มให้บริการ เช่น
(3.1) ลูกค้าลงนามด้วยตนเอง
(3.2) ลูกค้าลงนามด้วยตนเองและมีบุคคลที่ลูกค้านํามาร่วมลงนามเป็นพยาน เช่น บุคคลในครอบครัวของลูกค้า เป็นต้น เว้นแต่ในกรณีที่ลูกค้าไม่ประสงค์จะนําบุคคลมาเป็นพยานผู้ประกอบธุรกิจต้องจัดให้มีพยานร่วมลงนาม 2 คน โดยต้องเป็นเจ้าหน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจที่มีการกําหนดตําแหน่งหน้าที่รับผิดชอบเป็นการเฉพาะ และสามารถสอบทานการทํางานระหว่างกันได้
(3.3) ลูกค้าพิมพ์ลายนิ้วมือและมีพยานระบุชัดเจนว่าเป็นนิ้วข้างใด รวมทั้ง
มีพยาน 2 คน ลงนามรับรองลายพิมพ์นิ้วมือ เป็นต้น
ข้อ 3 ผู้ประกอบธุรกิจมีการสื่อสารระเบียบวิธีปฏิบัติให้พนักงานทราบ เพื่อให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อลูกค้าที่ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษได้ในลักษณะเดียวกัน
ข้อ 4 ผู้ประกอบธุรกิจมีการควบคุมดูแลการติดต่อหรือให้บริการแก่ลูกค้าที่ต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกําหนด รวมทั้งระเบียบวิธีปฏิบัติระบบงานที่ผู้ประกอบธุรกิจกําหนดขึ้น
ประกาศ ณ วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 10,995 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สน. 71/2562 เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบางประเภท | -ร่าง-
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สน. 71/2562
เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบางประเภท
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 140 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 4/2548 เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีของกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 14 มีนาคมพ.ศ. 2548
ข้อ 2 ในประกาศนี้ “บริษัทจัดการกองทุนส่วนบุคคล” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล “ประกาศที่ สช. 39/2553” หมายความว่า ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สช. 39/2553 เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีในตลาดทุนลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2553 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ข้อ 3 ในการจัดทํางบการเงินของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ให้บริษัทจัดการกองทุนส่วนบุคคลดําเนินการให้งบการเงินดังกล่าวมีการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามข้อ 4 หรือตามประกาศที่ สช. 39/2553
ข้อ 4 ให้ถือว่าผู้สอบบัญชีที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชีซึ่งใบอนุญาตยังไม่สิ้นผล เป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานในการตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพดังต่อไปนี้
(1) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่มีจํานวนลูกจ้างที่เป็นสมาชิก ณ วันสิ้นเดือนก่อนวันที่แต่งตั้งผู้สอบบัญชี ไม่เกิน 100 ราย
(2) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่มีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ ณ วันสิ้นเดือนก่อนวันที่แต่งตั้งผู้สอบบัญชี ไม่เกิน 100 ล้านบาท
ผู้สอบบัญชีที่จะถือว่าได้รับความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 15 ของประกาศที่ สช. 39/2553 และไม่ถูกสํานักงานสั่งพัก หรือเพิกถอนการได้รับความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง
ข้อ 5 ให้นําข้อกําหนดในหมวด 3 การสิ้นสุดการให้ความเห็นชอบและบทบังคับอื่น แห่งประกาศที่ สช. 39/2553 มาใช้บังคับกับการสั่งพัก หรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบของสํานักงานตามข้อ 4 โดยอนุโลม
ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2562
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 10,996 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 769) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 769)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (998) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(998) สมาคมแม่บ้านตํารวจ”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕64 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕65 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,997 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 768) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๗๖๘)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มข้อความต่อไปนี้เป็น (๙๙๗) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(๙๙๗) มูลนิธิต้นชีวิต”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,998 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 766) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 766)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (917) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 649) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. ๒๕59
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. ๒๕64
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 10,999 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 765) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 765)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลัรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (996) ของข้อ ๓ ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(996) มูลนิธิโรงพยาบาลจันทรุเบกษา”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕64 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕65 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,000 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 764) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 764)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (684) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(684) มูลนิธิ วิชัย ศรีวัฒนประภา”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,001 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 763) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 763)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (13) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(13) กองทุนพัฒนาเด็กชนบท ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2537 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,002 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 762 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 762 )
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (995) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(995) มูลนิธิหม่อมราชวงศ์หญิงรสลิน คัคณางค์ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕64 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕65 เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. ๒๕64
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,003 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 761) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 761)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (994) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(994) มูลนิธิศิษย์นายร้อย ตามรอยพระบาททูลกระหม่อมอาจารย์ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕63 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕63 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,004 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 760) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 760)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (330) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(330) มูลนิธิอเนกกุศลศาลา (วิหารเซียน) ในพระสังฆราชูปถัมภ์”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2541 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕63
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,005 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 759) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 759)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)
แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (679) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(679) มูลนิธิสู้เบาหวาน”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕63ดิษฐ์ ภัทร
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,006 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 758) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 758)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (700) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(700) มูลนิธิเตาปูน”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕63
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,007 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 757) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 757)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (993) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(993) มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕63 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕63 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕63
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,008 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 756) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 756)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (380) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(380) มูลนิธิรางวัลรัตนราชสุดาสารสนเทศ”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. ๒๕63
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯรักษาราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,009 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 755) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 755)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)
แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (846) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑2 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕35 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(846) มูลนิธิหนึ่งน้ําใจ (ONE LOVE FOUNDATION)”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ รักษาราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,010 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สบ. 67/2562 เรื่อง การกำหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคำขอต่าง ๆ (ฉบับที่ 57) | -ร่าง-
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สบ. 67/2562
เรื่อง การกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล
การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ
(ฉบับที่ 57)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19(3) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของ (5) ในข้อ 18 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สบ. 28/2547 เรื่อง การกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ ลงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สบ. 16/2554 เรื่อง การกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ (ฉบับที่ 28) ลงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(5) การจดทะเบียนกองทุนรวม
(ก) กรณีที่เป็นกองทุนรวมที่มีอายุไม่เกินหนึ่งปี และมิใช่กองทุนรวมตาม (ค)
ทุกจํานวนเงิน 100 ล้านบาท หรือเศษของ 100 ล้านบาท ให้คิดค่าธรรมเนียมในอัตรา 1,000 บาท
โดยเมื่อรวมกันแล้วต้องไม่ต่ํากว่า 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 75,000 บาท เว้นแต่กองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนและการเสนอขายหน่วยลงทุน ไม่กําหนดจํานวนขั้นต่ํา
(ข) กรณีที่เป็นกองทุนรวมที่มีอายุเกินหนึ่งปี และมิใช่กองทุนรวมตาม (ค)
ทุกจํานวนเงิน 100 ล้านบาท หรือเศษของ 100 ล้านบาท ให้คิดค่าธรรมเนียมในอัตรา 2,000 บาท
โดยเมื่อรวมกันแล้วต้องไม่ต่ํากว่า 20,000 บาท แต่ไม่เกิน 150,000 บาท เว้นแต่กองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนและการเสนอขายหน่วยลงทุน ไม่กําหนดจํานวนขั้นต่ํา
(ค) กรณีที่เป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หรือกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานทุกจํานวนเงิน 100 ล้านบาท หรือเศษของ 100 ล้านบาท ให้คิดค่าธรรมเนียมในอัตรา 10,000 บาท”
ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของ (7) ในข้อ 18 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สบ. 28/2547 เรื่อง การกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ ลงวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สบ. 16/2554 เรื่อง การกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ (ฉบับที่ 28) ลงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(7) คําขอแก้ไขรายการทางทะเบียนเพื่อเพิ่มจํานวนเงินทุน
(ก) กรณีที่เป็นกองทุนรวมที่มีอายุไม่เกินหนึ่งปี และมิใช่กองทุนรวมตาม (ค)ทุกจํานวนเงิน 100 ล้านบาท หรือเศษของ 100 ล้านบาท ให้คิดค่าธรรมเนียมในอัตรา 1,000 บาท
โดยเมื่อรวมกันแล้วต้องไม่ต่ํากว่า 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 75,000 บาท เว้นแต่กองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนและการเสนอขายหน่วยลงทุน ไม่กําหนดจํานวนขั้นต่ํา
(ข) กรณีที่เป็นกองทุนรวมที่มีอายุเกินหนึ่งปี และมิใช่กองทุนรวมตาม (ค)ทุกจํานวนเงิน 100 ล้านบาท หรือเศษของ 100 ล้านบาท ให้คิดค่าธรรมเนียมในอัตรา 2,000 บาท
โดยเมื่อรวมกันแล้วต้องไม่ต่ํากว่า 20,000 บาท แต่ไม่เกิน 150,000 บาท เว้นแต่กองทุนรวมที่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนและการเสนอขายหน่วยลงทุน ไม่กําหนดจํานวนขั้นต่ํา
(ค) กรณีที่เป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หรือกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานทุกจํานวนเงิน 100 ล้านบาท หรือเศษของ 100 ล้านบาท ให้คิดค่าธรรมเนียมในอัตรา 10,000 บาท”
ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2562
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
-----------------------ร่างประกาศตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ผ่านการพิจารณาของฝ่ายพัฒนากฎเกณฑ์ 2 แล้ว
เมื่อวันที่....04/12/62..................................CSDS เลขที่...79/2562... ครั้งที่ ......3.......... | 11,011 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เรื่อง หลักเกณฑ์และระยะเวลาดำเนินการสำหรับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจ | หลักเกณฑ์และระยะเวลาดําเนินการสําหรับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
โดยที่มาตรา 32 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 กําหนดเกี่ยวกับการยื่นขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต่อรัฐมนตรีผ่านคณะกรรมการ ก.ล.ต. โดยในการอนุญาตรัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขใด ๆ ก็ได้ และมาตรา 33 แห่งพระราชกําหนดดังกล่าว กําหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจะต้องทําการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ดิจิทัล ชําระราคา ส่งมอบรายการที่ค้างอยู่ หรือดําเนินการใด ๆ ตามหลักเกณฑ์และภายในระยะเวลาที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด สํานักงาน ก.ล.ต. จึงกําหนดหลักเกณฑ์ไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ในหลักเกณฑ์นี้
“ผู้ประกอบธุรกิจ” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
“ธุรกิจ” หมายความว่า ธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
“ลูกค้า” หมายความว่า ลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจ
ข้อ 2 เพื่อให้การเลิกประกอบธุรกิจเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเพื่อให้ลูกค้าได้รับทรัพย์สินของลูกค้าซึ่งอยู่ในความครอบครองของผู้ประกอบธุรกิจอย่างครบถ้วนถูกต้อง ให้ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะเลิกประกอบธุรกิจดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดทําแผนการเลิกประกอบธุรกิจ ซึ่งอย่างน้อยต้องมีรายการดังนี้
(ก) การซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ดิจิทัล การชําระราคา และการส่งมอบรายการที่ค้างอยู่ (ถ้ามี)
(ข) การดําเนินการกับทรัพย์สินของลูกค้า เช่น การรวบรวมและจัดสรรทรัพย์สิน
ของลูกค้าคืนแก่ลูกค้าให้ครบถ้วนถูกต้อง ซึ่งรวมถึงการดําเนินการโอนเงินคืนให้แก่ลูกค้า หรือ
การโอนสินทรัพย์ดิจิทัลตามความประสงค์ของลูกค้า การดําเนินการกรณีที่ไม่สามารถติดต่อกับลูกค้าได้ เป็นต้น
การดําเนินการตามวรรคหนึ่งให้รวมถึง การให้คําแนะนําแก่ลูกค้าเกี่ยวกับกระบวนการต่าง ๆ เช่น การสร้างกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (digital asset wallet) เพื่อรับโอนสินทรัพย์ดิจิทัลการแจ้งให้ลูกค้าทราบถึงแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจอื่นซึ่งรองรับการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้า เป็นต้น
(ค) มาตรการบรรเทาผลกระทบต่อลูกค้าเกี่ยวกับหรือเนื่องจากการเลิกประกอบธุรกิจ
(ง) ระยะเวลาการดําเนินการตามแผนในแต่ละขั้นตอนโดยประมาณ
(จ) ชื่อและรายละเอียดของผู้ติดต่อประสานงาน
(ฉ) คํารับรองว่า ผู้ประกอบธุรกิจสามารถดําเนินการตามแผนที่ได้ยื่นต่อ
สํานักงาน ก.ล.ต.ได้
(2) ยื่นแผนตาม (1) ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนการแจ้งลูกค้าและ/หรือการเปิดเผยข้อมูล
เกี่ยวกับแผนการเลิกประกอบธุรกิจ โดยผู้ประกอบธุรกิจจะแจ้งลูกค้าและ/หรือการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับแผนการเลิกประกอบธุรกิจได้ก็ต่อเมื่อพ้นระยะเวลา 10 วันทําการนับแต่วันที่ยื่นแผนดังกล่าวต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เว้นแต่สํานักงาน ก.ล.ต. จะแจ้งเป็นประการอื่น
ข้อ 3 ในการจัดการทรัพย์สินของลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจ ให้ดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) ตรวจสอบทรัพย์สินของลูกค้าที่อยู่ในความครอบครองของผู้ประกอบธุรกิจ
และภาระผูกพันที่เกี่ยวข้อง เช่น ธุรกรรมที่รอการยืนยันในระบบ เป็นต้น รวมทั้งดําเนินการแยกทรัพย์สินของลูกค้าออกจากทรัพย์สินของผู้ประกอบธุรกิจให้ถูกต้องครบถ้วน
(2) ชําระราคาและส่งมอบทรัพย์สินที่มีภาระผูกพันเกี่ยวกับการทําธุรกรรมที่ผู้ประกอบธุรกิจให้บริการ
(3) ดําเนินการโอนเงินคืนให้แก่ลูกค้า หรือการโอนสินทรัพย์ดิจิทัลตามความประสงค์ของลูกค้า ทั้งนี้ หากลูกค้าไม่มารับทรัพย์สินคืนภายในกําหนดเวลาโดยไม่มีเหตุจะอ้างตามกฎหมาย ให้ดําเนินการวางทรัพย์ต่อกรมบังคับคดี หากไม่สามารถดําเนินการวางทรัพย์ได้ ให้ดําเนินการในลักษณะอื่นใดที่สามารถเชื่อมั่นได้ว่า ทรัพย์สินของลูกค้าจะได้รับการเก็บรักษาไว้ในระบบที่มีความมั่นคงปลอดภัย
ข้อ 4 ให้ผู้ประกอบธุรกิจรายงานความคืบหน้าของการดําเนินการตามแผนการเลิกประกอบธุรกิจต่อสํานักงาน ก.ล.ต. อย่างน้อยทุก 5 วันทําการ เว้นแต่สํานักงาน ก.ล.ต. จะกําหนด
เป็นอย่างอื่น ทั้งนี้ ผู้ประกอบธุรกิจจะยื่นคําขออนุญาตเลิกประกอบธุรกิจได้ ก็ต่อเมื่อได้ดําเนินการตามแผนการเลิกประกอบธุรกิจแล้วเสร็จ โดยต้องยื่นคําขอต่อสํานักงาน ก.ล.ต. พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน
ประกาศ ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,012 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 63/2563 เรื่อง วันหยุดทำการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจำปี พ.ศ. 2563 (ฉบับที่ 3) | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 63/2563
เรื่อง วันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจ
สัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจําปี พ.ศ. 2563
(ฉบับที่ 3)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
เนื่องด้วยคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2563 ให้เลื่อนวันหยุดชดเชยวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ จากวันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็นวันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวภายในประเทศ นั้น
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 110 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และข้อ 2 วรรคหนึ่ง แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 88/2552 เรื่อง การเปิดทําการและหยุดทําการของผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 สํานักงานออกประกาศเลื่อนและกําหนดเพิ่มเติมวันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจําปี พ.ศ. 2563 ไว้ดังต่อไปนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี
1. เลื่อนวันหยุดทําการจากวันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็นวันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2563 วันหยุดชดเชยวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ (วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2563)
2. กําหนดวันหยุดทําการเพิ่มเติมในวันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2563
นอกจากวันหยุดทําการที่ประกาศเลื่อนและกําหนดเพิ่มเติมไปตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 55/2562 เรื่อง วันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจําปี พ.ศ. 2563 ลงวันที่7 สิงหาคมพ.ศ. 2562 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 18/2563 เรื่อง วันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจําปี พ.ศ. 2563 (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2563 ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 39/2563 เรื่อง การกําหนดวันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพิ่มเติม ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 47/2563 เรื่อง การกําหนดวันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพิ่มเติม ลงวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2563
ประกาศ ณ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2563
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,013 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 65/2563 เรื่อง การยกเลิกประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการประกอบธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ และประกาศ เรื่อง แนวทางในการควบคุมการปฎิบัติงานในการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และการค้าหลักทรัพย์ที่มิใช้ตราสารแห่งหนี้ | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 65/2563
เรื่อง การยกเลิกประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการประกอบธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ และประกาศ เรื่อง แนวทางในการควบคุมการปฏิบัติงานในการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และการค้าหลักทรัพย์ที่มิใช่ตราสารแห่งหนี้\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
โดยที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนได้ออกหลักเกณฑ์เกี่ยวกับมาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ซึ่งหลักเกณฑ์ดังกล่าวได้ครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ตามแนวทางที่สํานักงานเคยกําหนดไว้แล้ว ประกอบกับแนวทางดังกล่าวบางส่วนไม่สอดคล้องกับบริบทของสภาพสังคมในปัจจุบัน สํานักงานจึงเห็นควรยกเลิกประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการประกอบธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ที่ อธ. 10/2543 ลงวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2543 และประกาศ เรื่อง แนวทางในการควบคุมการปฏิบัติงานในการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และการค้าหลักทรัพย์ ที่มิใช่ตราสารแห่งหนี้ ที่ อธ. 21/2543 ลงวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2543
ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2563
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,014 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 30/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการขออนุญาตหรือแจ้งโดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 30/2564เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการขออนุญาตหรือแจ้งโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์(ฉบับประมวล)\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
เพื่อเป็นการอํานวยความสะดวกและลดภาระ ต้นทุน และเวลาให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ ในการจัดทํา เปิดเผย และนําส่งข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและธุรกิจเป็นทรัสตีต่อสํานักงาน คณะกรรมการกํากับตลาดทุนจึงเห็นควรให้ยกเลิกการจัดส่งข้อมูลที่ไม่จําเป็น และปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวให้เหมาะสมมากขึ้น ตลอดจนสามารถดําเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) มาตรา 34 และมาตรา 113 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 35 มาตรา 41 วรรคหนึ่ง (3) และ (4) มาตรา 42(10)มาตรา 56 มาตรา 92 วรรคสอง มาตรา 98(4) (5) และ (8) มาตรา 100 วรรคสอง มาตรา 103(9) และ (10) มาตรา 109 วรรคหนึ่ง มาตรา 114 มาตรา 115 มาตรา 116 มาตรา 117 มาตรา 119(6) มาตรา 124 วรรคหนึ่ง และมาตรา 130 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 124/1วรรคสอง และมาตรา 140/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 และมาตรา 133วรรคสอง มาตรา 134 และมาตรา 135 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 และมาตรา 18 มาตรา 23(3) และ (5) และมาตรา 24 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ในประกาศนี้
คําว่า “กฎหมายที่เกี่ยวข้อง” และ “วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการขออนุญาตหรือแจ้งโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
“การขออนุญาตหรือแจ้ง” หมายความว่า การขออนุญาต การขอจดทะเบียนการขอรับความเห็นชอบ การขอผ่อนผัน การส่งรายงานหรือเอกสาร หรือการดําเนินการอื่นใดในทํานองเดียวกันต่อสํานักงานตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่จะได้กําหนดไว้เป็นการเฉพาะในประกาศนี้
ข้อ 2 การขออนุญาตหรือแจ้งตามกรณีที่กําหนดในภาคผนวก 1 รายการขออนุญาต
หรือแจ้งต่อสํานักงานโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ท้ายประกาศนี้ ให้ผู้ขออนุญาตหรือแจ้งดําเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
การขออนุญาตหรือแจ้งโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ตามวรรคหนึ่งในแต่ละกรณีให้เริ่มดําเนินการได้ตั้งแต่วันที่สํานักงานกําหนดเป็นต้นไป โดยให้สํานักงานแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบถึงกรณีดังกล่าวเป็นการทั่วไปบนเว็บไซต์ของสํานักงานด้วย
เมื่อผู้ขออนุญาตหรือแจ้งได้ดําเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ให้ถือว่าสํานักงานได้รับการขออนุญาตหรือแจ้งดังกล่าวตามวันและเวลาที่เข้าสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ของสํานักงาน
ข้อ 3 ให้ยกเลิกการแจ้งข้อมูลหรือการจัดส่งรายงานตามที่กําหนดในภาคผนวก 2 รายการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการแจ้งข้อมูลหรือการจัดส่งรายงานต่อสํานักงาน ท้ายประกาศนี้และให้ดําเนินการตามกรณีที่กําหนดไว้ในภาคผนวกดังกล่าวแทน
ข้อ 4 ให้ยกเลิกการขออนุญาตหรือแจ้งตามที่กําหนดในภาคผนวก 3 รายการยกเลิกการขออนุญาตหรือแจ้ง ท้ายประกาศนี้
ข้อ 5 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2564
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,015 |
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กธ. 2/2565 เรื่อง การกำหนดแบบใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ตามกฎกระทรวงการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์สำหรับบริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเกิดจากการควบเข้ากัน พ.ศ. 2565 | ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ กธ. 2/2565
เรื่อง การกําหนดแบบใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ตามกฎกระทรวงการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์สําหรับบริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเกิดจากการควบเข้ากันพ.ศ. 2565
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ประกอบกับข้อ 7 วรรคสี่ แห่งกฎกระทรวงการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์สําหรับบริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเกิดจากการควบเข้ากัน พ.ศ. 2565 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ตามกฎกระทรวงการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์สําหรับบริษัทหลักทรัพย์ซึ่งเกิดจากการควบเข้ากัน พ.ศ. 2565 ให้เป็นไปตามแบบท้ายประกาศนี้
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565
(นายพิชิต อัคราทิตย์)
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,016 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2565 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 9) | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทจ. 9/2565
เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของ
ทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน
(ฉบับที่ 9 )
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “ผู้ลงทุนรายใหญ่” ของวรรคหนึ่งในข้อ 2
แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
““ผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการ
กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่”
ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นบทนิยามคําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” ระหว่างคําว่า
“ผู้ลงทุนรายใหญ่” และคําว่า “ผู้จัดการกองทรัสต์” ในวรรคหนึ่งของข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558
““ผู้ลงทุนสถาบัน” หมายความว่า ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการ
กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่”
ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 30/2560 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4)
ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“คําว่า “ผู้บริหาร” “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” “ผู้มีอํานาจควบคุม” “บริษัทใหญ่” และ “บริษัทย่อย” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวในประกาศคณะกรรมการ
กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออก
และเสนอขายหลักทรัพย์”
ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,017 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 10/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลของกองทุนรวมและทรัสต์ที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 11) | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทจ. 10/2565
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลของ
กองทุนรวมและทรัสต์ที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์
หรือโครงสร้างพื้นฐาน
(ฉบับที่ 11 )
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2559
คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “ผู้ลงทุนรายใหญ่” ของวรรคหนึ่งในข้อ 4
แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 20/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลของกองทุนรวมและทรัสต์ที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
““ผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการ
กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,018 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2565 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 23) | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทจ. 12/2565
เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์
เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์
(ฉบับที่ 23)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 และมาตรา 69 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (2/1) ของข้อ 53 แห่งประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 49/2555 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุน
ในอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 47/2564 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุน
ในอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 22) ลงวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2564
“(2/1) ในกรณีกองทรัสต์ที่มีข้อกําหนดขายคืนที่จะได้รับการสนับสนุนทางภาษี
และค่าธรรมเนียมจากภาครัฐ ราคาอสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนตาม (1) ต้องเป็นราคาที่ลดลงจากมูลค่า
ที่ได้จากการประเมินมูลค่าทรัพย์สินตาม (2)”
ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ฉ) ใน (3) ของข้อ 53 แห่งประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 49/2555 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุน
ในอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 47/2564 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุน
ในอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 22) ลงวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2564
“(ฉ) ระยะเวลาการลงทุนและระยะเวลาที่ต้องขายทรัพย์สินคืนให้แก่เจ้าของเดิม
ต้องไม่เกินระยะเวลาที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีกองทรัสต์ที่มีข้อกําหนดขายคืน
ที่จะได้รับการสนับสนุนทางภาษีและค่าธรรมเนียมจากภาครัฐ”
ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 54 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทจ. 49/2555 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์
ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทจ. 47/2564 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 22) ลงวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(3) ในกรณีของกองทรัสต์ที่ลงทุนในทรัพย์สินหลักที่มีลักษณะตาม (1) (ข)
ต้องเป็นไปตามข้อ 53(2) ข้อ 53(3) (ก) (ข) (ง) (จ) และ (ฉ) ข้อ 53(4) (ก) และข้อ 53(5)”
ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 55/1 แห่งประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 49/2555 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุน
ในอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 47/2564 เรื่อง การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุน
ในอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 22) ลงวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2564
“ในกรณีของกองทรัสต์ที่มีข้อกําหนดขายคืนที่จะได้รับการสนับสนุนทางภาษี
และค่าธรรมเนียมจากภาครัฐ ให้ผู้ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหน่วยทรัสต์เปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้
เพิ่มเติมในแบบแสดงรายการข้อมูลตามแบบ 69-REIT
(1) ข้อมูลที่แสดงให้เห็นว่าเจ้าของเดิมได้รับผลกระทบเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) เช่น การเปรียบเทียบรายได้และผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริง โดยต้องเป็นการเปรียบเทียบในช่วงเวลาเดียวกันก่อนการระบาดกับในช่วงที่มีการระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) เป็นต้น
(2) ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การใช้เงินของเจ้าของเดิม โดยต้องระบุให้ชัดเจนว่า
จะนําเงินที่ได้จากการขายทรัพย์สินให้กองทรัสต์ไปใช้เพื่อเสริมสภาพคล่องให้กับกิจการของเจ้าของเดิม เช่น ชําระค่าจ้างพนักงาน ค่าบํารุงรักษาทรัพย์สิน หรือชําระคืนเงินกู้หรือดอกเบี้ย เป็นต้น”
ข้อ 5 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,019 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 13/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 13/2565
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์(ฉบับที่ 6)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 20 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 27/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ลงวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(1) ห้ามมิให้ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์จัดสรรหุ้นที่ตนรับจัดจําหน่ายให้แก่บริษัทย่อยของบริษัทที่ออกหุ้นนั้น เว้นแต่เป็นการจัดสรรหุ้นให้แก่บริษัทย่อยของบริษัทที่ออกหุ้นซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุญาตให้เสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,020 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 23/2565 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 16) | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 23/2565
เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน
และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
(ฉบับที่ 16)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) และมาตรา 113 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 114 มาตรา 115 มาตรา 116 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 133 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 และมาตรา 140/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 34/3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการ
ของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 “ข้อ 34/3 ในการประเมินความเหมาะสมในการลงทุนหรือการทําธุรกรรมในผลิตภัณฑ์ในตลาดทุนที่เป็นหลักทรัพย์สําหรับลูกค้าที่เป็นผู้ลงทุนสถาบันเฉพาะในธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ใดหลักทรัพย์หนึ่ง เนื่องจากมีความสัมพันธ์กับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์นั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังต่อไปนี้ ให้ผู้ประกอบธุรกิจประเมินความเหมาะสมในการลงทุนหรือการทําธุรกรรมของลูกค้าดังกล่าวด้วย
(1) กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน
(2) ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
(3) บริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม
ผู้ลงทุนสถาบันซึ่งมีความสัมพันธ์กับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงบุคคลที่เคยมีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งข้างต้น ซึ่งพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่เกิน 3 เดือน”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,021 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 24/2565 เรื่อง การประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์ในกรณีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน และการให้คำปรึกษาหรือการให้บริการงานสนับสนุนแก่บริษัทอื่น | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 24/2565เรื่อง การประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์ในกรณีการซื้อหรือขาย
หลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน และการให้คําปรึกษาหรือ
การให้บริการงานสนับสนุนแก่บริษัทอื่น
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
โดยที่มาตรา 98(8) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
กําหนดห้ามมิให้บริษัทหลักทรัพย์ประกอบกิจการอื่นใดที่มิใช่ธุรกิจหลักทรัพย์ในประเภทที่ได้รับอนุญาตเว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการกํากับตลาดทุน คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศเพื่อปรับปรุงเกี่ยวกับการอนุญาตให้ประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์ไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ข้อ 2 ในประกาศนี้
“บริษัทหลักทรัพย์” หมายความว่า บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุนการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล การจัดการเงินร่วมลงทุนหรือการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์
“ผู้ลงทุนสถาบัน” หมายความว่า ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ แต่ไม่รวมถึงผู้ลงทุนสถาบันที่เป็นบุคคลธรรมดา
“ตราสารแห่งหนี้ภาครัฐ” หมายความว่า ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย พันธบัตรหรือตราสารแห่งหนี้ที่กระทรวงการคลังหรือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินเป็นผู้ออก ผู้รับรองตลอดไป ผู้รับอาวัลทั้งจํานวน หรือผู้ค้ําประกันต้นเงินและดอกเบี้ยเต็มจํานวนอย่างไม่มีเงื่อนไข
“อันดับที่สามารถลงทุนได้” (investment grade) หมายความว่า อันดับความน่าเชื่อถือที่แต่ละสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ได้รับการยอมรับจากสํานักงาน กําหนดว่าเป็นอันดับความน่าเชื่อถือที่ผู้ลงทุนสามารถลงทุนได้
หมวด 1
การซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ 3 บริษัทหลักทรัพย์อาจประกอบธุรกิจโดยการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนได้ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) บุคคลที่เป็นคู่สัญญาต้องมีภูมิลําเนาในประเทศไทย (2) ในกรณีที่คู่สัญญาเป็นผู้ลงทุนสถาบัน การทําสัญญาซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 4 (3) ในกรณีที่คู่สัญญาเป็นบุคคลอื่นใดที่มิใช่ผู้ลงทุนสถาบัน ให้ดําเนินการได้เฉพาะบริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ หรือการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์ โดยบริษัทหลักทรัพย์ดังกล่าว ต้องจัดให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงตามที่กําหนดในข้อ 5 และการทําสัญญาซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 6
ข้อ 4 ในกรณีที่บริษัทหลักทรัพย์ทําสัญญาซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนกับผู้ลงทุนสถาบันในหลักทรัพย์ประเภทหุ้น ต้องกําหนดเงื่อนไขในข้อสัญญาเพื่อห้ามนําหุ้นที่ได้มาจากการซื้อหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายคืนไปขายต่อ เว้นแต่เป็นการขายต่อในกรณีดังต่อไปนี้ (1) เป็นการขายต่อตามสัญญาซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนอื่น (2) เป็นการขายหรือโอนตามข้อกําหนดในธุรกรรมการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนดังกล่าว
ข้อ 5 บริษัทหลักทรัพย์ต้องจัดให้มีระบบการบริหารความเสี่ยง เพื่อรองรับการประกอบธุรกิจโดยการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนกับบุคคลอื่นใดที่มิใช่ผู้ลงทุนสถาบันอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีระบบการโอนหรือเรียกให้โอนกรรมสิทธิ์ในหลักทรัพย์ที่ซื้อขายรวมถึงระบบการบริหารจัดการเพื่อรักษาอัตราส่วนระหว่างมูลค่าตามราคาตลาดของหลักทรัพย์ที่ซื้อขายกับราคาที่กําหนดให้ซื้อหลักทรัพย์คืน ให้สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงของคู่สัญญา
(2) จัดให้มีระบบการคัดเลือกหลักทรัพย์ที่ซื้อขายอย่างเหมาะสม โดยคํานึงถึงสภาพคล่องและผลกระทบที่จะมีต่อการประกอบธุรกิจในภาพรวม
(3) จัดให้มีการประมวลผลและรายงานข้อมูลให้ผู้บริหารทราบถึงระดับความเสี่ยงในการทําธุรกรรมการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน
(4) จัดให้มีการปรับปรุงการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับปริมาณและความซับซ้อนของการทําธุรกรรมการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนอย่างสม่ําเสมอ
ข้อ 6 ในการทําสัญญาซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนกับบุคคลอื่นใดที่มิใช่ผู้ลงทุนสถาบัน บริษัทหลักทรัพย์ต้องจัดทําสัญญาเป็นหนังสือซึ่งกําหนดเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(1) กําหนดให้ซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนในหลักทรัพย์เฉพาะประเภทตราสารแห่งหนี้ภาครัฐ หรือหุ้นกู้ที่มีอันดับความน่าเชื่อถือในอันดับที่สามารถลงทุนได้(investment grade)
(2) กําหนดระยะเวลาการรับชําระหนี้ตามสัญญาต้องไม่เกิน 1 ปี
(3) กรณีเป็นการทําสัญญาที่บริษัทหลักทรัพย์มีหน้าที่ต้องส่งมอบหลักทรัพย์ตามสัญญาให้แก่ผู้ซื้อ ต้องกําหนดหน้าที่เกี่ยวกับการส่งมอบหลักทรัพย์ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้
(ก) ต้องโอนกรรมสิทธิ์ในหลักทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง (1) ให้แก่ผู้ซื้อ
(ข) ต้องจัดให้มีการดํารงอัตราส่วนระหว่างมูลค่าตามราคาตลาดของหลักทรัพย์ที่ซื้อขายกับราคาที่กําหนดให้ซื้อหลักทรัพย์คืนให้อยู่ในระดับไม่ต่ํากว่าร้อยละหนึ่งร้อย
(ค) ต้องจัดให้มีธนาคารพาณิชย์หรือบริษัทเงินทุนตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน หรือบริษัทหลักทรัพย์หรือศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป็นผู้ทําหน้าที่ดูแลและเก็บรักษาหลักทรัพย์ที่ซื้อขาย ติดตามการเปลี่ยนแปลงมูลค่าตามราคาตลาดของหลักทรัพย์รวมทั้งเรียกหรือคืนเงินสดหรือหลักทรัพย์จากคู่สัญญา เพื่อรักษาอัตราส่วนระหว่างมูลค่าตามราคาตลาดของหลักทรัพย์ที่ซื้อขายกับราคาที่กําหนดให้ซื้อหลักทรัพย์คืนให้เป็นไปตามที่กําหนด ตลอดจนดูแลการส่งมอบผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์นั้นให้แก่คู่สัญญา
(4) กําหนดเงื่อนไขการเลิกสัญญา ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่าหุ้นกู้ที่ทําการซื้อขายตามวรรคหนึ่ง (1) นั้น ถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือจนอยู่ในอันดับที่ไม่สามารถลงทุนได้ สัญญาซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนตามวรรคหนึ่งต้องได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน หรือเป็นสัญญามาตรฐานที่สํานักงานยอมรับ
ในการยื่นขอความเห็นชอบสัญญาซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืนตามวรรคสอง ให้บริษัทหลักทรัพย์ยื่นคําขอความเห็นชอบต่อสํานักงาน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอภายใน 30 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําขอพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ทั้งนี้ ในกรณีที่สํานักงานไม่ได้แจ้งผลการพิจารณาหรือไม่มีคําสั่งเป็นประการอื่นใดภายในระยะเวลาที่กําหนด ให้ถือว่าสํานักงานได้ให้ความเห็นชอบแล้ว
หมวด 2
ข้อกําหนดเฉพาะบริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ 7 บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์อาจประกอบธุรกิจที่มีลักษณะเป็นการให้คําปรึกษา หรือให้บริการงานสนับสนุนแก่บริษัทอื่นได้ ทั้งนี้ การประกอบธุรกิจดังกล่าวต้องมีลักษณะที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจตามประเภทที่ได้รับใบอนุญาต และได้จัดให้มีมาตรการควบคุมความเสี่ยงและความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นแล้ว
ประกาศ ณ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,023 |
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 14/2565 หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล (ฉบับที่ 3) | ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทน. 14/2565
เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวม
เพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุน
ประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล
(ฉบับที่ 3)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 133 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (3) ในข้อ 8 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อ
ผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(ก) คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งต้องเป็นผู้ลงทุนสถาบันตามข้อ 8/1”
ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 8/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564
“ข้อ 8/1 คําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” ตามข้อ 8(3) (ก) หมายความว่า ผู้ลงทุนที่เป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการลงทุน (professional investor) ดังต่อไปนี้
(1) ธนาคารแห่งประเทศไทย
(2) ธนาคารพาณิชย์
(3) ธนาคารที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น
(4) บริษัทเงินทุน
(5) บริษัทเครดิตฟองซิเอร์
(6) บริษัทหลักทรัพย์
(7) บริษัทประกันวินาศภัย
(8) บริษัทประกันชีวิต
(9) กองทุนรวม
(10) กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนดังนี้
(ก) ผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (9) หรือ (11) ถึง (21)
(ข) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะทํานองเดียวกับผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (21)
(ค) ผู้จัดการกองทุน หรือผู้จัดการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
(ง) ผู้ลงทุนที่มีคุณสมบัติด้านฐานะทางการเงินเทียบเท่าผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญ่
(จ) ผู้ลงทุนอื่นใดตามข้อ 5(26) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่
(11) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
(12) กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ
(13) กองทุนประกันสังคม
(14) กองทุนการออมแห่งชาติ
(15) กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน
(16) ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
(17) สถาบันการเงินระหว่างประเทศ
(18) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก
(19) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(20) นิติบุคคลประเภทบรรษัท
(21) นิติบุคคลซึ่งมีผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (20) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 75
ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด
(22) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะทํานองเดียวกับผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (21)”
ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ
คณะกรรมการกํากับตลาดทุน | 11,024 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 4/2565 เรื่อง แนวทางการพิจารณาคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ | ประกาศแนวปฏิบัติ
ที่ นป. 4/2565
เรื่อง แนวทางการพิจารณาคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์
ของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 39/2564 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่
24 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (“ประกาศ ที่ กจ. 39/2564”) กําหนดลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ
และผู้ลงทุนรายใหญ่ โดยให้พิจารณาจากคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ของผู้ลงทุนดังกล่าว
ซึ่งรวมถึงการมีประสบการณ์การลงทุนย้อนหลังในสินทรัพย์เสี่ยงเป็นประจําและต่อเนื่อง
การมีประสบการณ์การทํางานด้านการบริหารการเงินและการลงทุน หรือการมีความรู้ความเข้าใจ
ในหลักทรัพย์ที่ลงทุนอย่างเพียงพอ นั้น
เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ข้างต้นของ
ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ สํานักงานโดยอาศัยอํานาจตามข้อ 4 แห่งประกาศ
ที่ กจ. 39/2564 จึงกําหนดแนวทางการพิจารณาคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ของผู้ลงทุน
รายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ ไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 แนวทางตามประกาศนี้ให้ใช้กับการพิจารณาลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการออกหลักทรัพย์ การเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ โดยประกาศดังกล่าวมิได้กําหนดบทนิยามคําว่าผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ไว้โดยเฉพาะ เป็นประการอื่น
ข้อ 2 แนวทางตามประกาศนี้มีรายละเอียดเกี่ยวกับการพิจารณาคุณสมบัติด้านความรู้ หรือประสบการณ์ของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ตามที่กําหนดในภาคผนวกแนบท้าย ประกาศนี้ ดังต่อไปนี้
(1) ลักษณะของสินทรัพย์เสี่ยง และแนวทางการพิจารณาประสบการณ์การลงทุน
เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาคุณสมบัติด้านประสบการณ์การลงทุน
(2) ลักษณะของงานด้านการบริหารการเงินและการลงทุน เพื่อประโยชน์ในการพิจารณา คุณสมบัติด้านประสบการณ์การทํางาน
(3) ปัจจัยในการพิจารณาคุณสมบัติด้านความรู้ความเข้าใจในหลักทรัพย์ที่ลงทุนอย่างเพียงพอ
ข้อ 3 ในกรณีที่ผู้ลงทุนรายใดมีคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ตามแนวทาง
การพิจารณานี้ สํานักงานจะพิจารณาว่าผู้ลงทุนรายนั้นมีคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ตามที่กําหนดไว้สําหรับผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 6 หรือข้อ 7 แห่งประกาศ
ที่ กจ. 39/2564 แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ หากบุคคลที่อยู่ภายใต้บังคับของประกาศตามข้อ 1 พิจารณาคุณสมบัติของผู้ลงทุนแตกต่างจากแนวทางการพิจารณานี้ บุคคลดังกล่าวมีภาระที่จะต้องพิสูจน์ให้เห็น
ได้ว่าการพิจารณานั้นยังคงอยู่ภายใต้หลักการและข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องตามประกาศ ที่ กจ. 39/2564
ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,025 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 5/2565 เรื่อง แนวปฏิบัติหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณาของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล | ประกาศแนวปฏิบัติ
ที่ นป. 5/2565
เรื่อง แนวปฏิบัติหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณาของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
(“ประกาศ ที่ กธ. 19/2561”) ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ กธ. 19/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 17) ลงวันที่
18 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (“ประกาศ ที่ กธ. 19/2565”) และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 22/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขายสําหรับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (“ประกาศ ที่ สธ. 22/2565”) กําหนดให้
ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องดําเนินการให้การโฆษณามีความเหมาะสมทั้งในด้านเนื้อหา สัดส่วนของเนื้อหา และวิธีการนําเสนอ เพื่อทําให้ลูกค้าได้รับข้อมูลที่จําเป็นและเป็นประโยชน์ต่อการใช้บริการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลหรือต่อการตัดสินใจลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล โดยการโฆษณาต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด นั้น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดข้างต้นของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล สํานักงาน ก.ล.ต. โดยอาศัยอํานาจตามข้อ 3(2) ประกอบกับข้อ 10/1 ข้อ 34/3 ข้อ 34/4 ข้อ 34/5 ข้อ 34/6
ข้อ 34/7 และข้อ 34/8 ของประกาศ ที่ กธ. 19/2561 ประกอบกับข้อ 2 ข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 6 ของประกาศ
ที่ สธ. 22/2565 จึงกําหนดแนวปฏิบัติสําหรับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลไว้ในประกาศนี้ โดยในกรณีที่
ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลปฏิบัติตามแนวปฏิบัตินี้อย่างครบถ้วน สํานักงาน ก.ล.ต. จะพิจารณาว่า
ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลได้ปฏิบัติตามประกาศ ที่ กธ. 19/2561 และประกาศ ที่ สธ. 22/2565 ในส่วนที่เกี่ยวข้องแล้ว ทั้งนี้ หากผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลดําเนินการแตกต่างจากแนวปฏิบัตินี้ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลมีภาระที่จะต้องพิสูจน์ให้เห็นได้ว่า การดําเนินการนั้น ยังคงเป็นไปตามหลักการและข้อกําหนดของหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
แนวทางปฏิบัติมีรายละเอียดตามที่กําหนดในภาคผนวกแนบท้ายประกาศแนวปฏิบัตินี้ ทั้งนี้ รายละเอียดดังกล่าวได้แก่เรื่องดังต่อไปนี้
1. การจัดให้มีผู้แนะนํารายชื่อลูกค้า (introducing broker agent) สําหรับการให้บริการเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัล
2. การโฆษณาที่เป็นการแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล การลงทุน การให้บริการ หรือภาพรวมของสินทรัพย์ดิจิทัล และการโฆษณาที่เป็นการให้ความรู้ หรือการทําความเข้าใจเพื่อการศึกษา หรือการเผยแพร่การวิเคราะห์การลงทุน
3. การโฆษณาคริปโทเคอร์เรนซีในช่องทางที่เป็นทางการของผู้ประกอบธุรกิจ
และการโฆษณาการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจ
4. การแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับโฆษณาและค่าใช้จ่ายในการโฆษณา รวมถึงรายละเอียดการจ้างบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจต่อผู้ใช้บริการ[[1]](#footnote-2) (blogger หรือ influencer)
5. ผู้ประกอบธุรกิจต้องดําเนินการให้ผู้ที่มีบทบาทหลักที่ปรากฎในโฆษณาเปิดเผยข้อมูล ผู้ว่าจ้างในการโฆษณา และข้อมูลความสัมพันธ์หรือความเกี่ยวข้องระหว่างบุคคลหลักดังกล่าวกับผู้ว่าจ้างในการโฆษณา
6. ผู้ประกอบธุรกิจต้องกํากับดูแลการโฆษณาของบริษัทในกลุ่ม และบุคคลที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องในกิจการ ให้ดําเนินการเผยแพร่โฆษณาในลักษณะที่ไม่ทําให้ประชาชนเกิดความสับสน หรือสําคัญผิดว่าเป็นการโฆษณาของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
7. การจัดให้มีระบบงานและกระบวนการภายในเพื่อจัดทํา อนุมัติ และควบคุมดูแล
การโฆษณาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด
8. การนําเสนอข้อมูลประกอบการโฆษณา กรณีมีการแสดงข้อมูลด้านบวกหรือโอกาส
ที่จะได้รับผลตอบแทน ต้องมีการแสดงข้อมูลด้านลบหรือความเสี่ยงจากการลงทุนควบคู่กัน
9. การสื่อสารคําเตือนประกอบการโฆษณา
ประกาศ ณ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
1. บุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจต่อผู้ใช้บริการ (blogger หรือ influencer) โดยพิจารณาจากการมีผู้ติดตามในสื่อสังคมออนไลน์ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง
ของบุคคลนั้น มากกว่า 10,000 คนขึ้นไป [↑](#footnote-ref-2) | 11,026 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 7/2565 เรื่อง แนวปฏิบัติในการจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ | ประกาศแนวปฏิบัติ
ที่ นป. 7/2565
เรื่อง แนวปฏิบัติในการจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 16/2561
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการให้ความเห็นชอบผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ลงวันที่
3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (“ประกาศที่ กจ. 16/2561”) ประกาศคณะกรรมการ
กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (“ประกาศที่ กธ. 19/2561”) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (“ประกาศที่ ทธ. 35/2556”) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 30/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการประกอบการเป็นศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (“ประกาศที่ ทธ. 30/2559”) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 31/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการประกอบการเป็นสํานักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่
3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (“ประกาศที่ ทธ. 31/2559”) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 32/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการประกอบการเป็นสํานักหักบัญชีหลักทรัพย์และศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (“ประกาศที่ ทธ. 32/2559”) ประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2562 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ผ่านระบบคราวด์ฟันดิง
ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2562 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (“ประกาศที่ ทจ. 21/2562”) และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 38/2565 เรื่อง ข้อกําหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2565 (“ประกาศที่ สธ. 38/2565”) กําหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องจัดให้มีการกํากับดูแลและบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
รักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจน
มีการทบทวนความเหมาะสมของเรื่องดังกล่าวเป็นประจํา นั้น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดข้างต้นของผู้ประกอบธุรกิจ สํานักงานโดยอาศัยอํานาจตามข้อ 3(2) ประกอบกับข้อ 6(7) (ง) (ฉ) และ (ช) แห่งประกาศที่ กจ. 16/2561 ข้อ 3(2) ประกอบกับข้อ 9(4) และ (8) ข้อ 11 ข้อ 17 ข้อ 18 และข้อ 19 แห่งประกาศที่ กจ. 19/2561 ข้อ 5(3) ประกอบกับ
ข้อ 12 วรรคหนึ่ง (6) (11) และ (12) และข้อ 14 แห่งประกาศที่ ทธ. 35/2556 ข้อ 4(2) ประกอบกับข้อ 26 และข้อ 32 แห่งประกาศที่ ทธ. 30/2559 ข้อ 5(2) ประกอบกับข้อ 21 ข้อ 27 วรรคหนึ่ง ข้อ 37 และข้อ 43
แห่งประกาศที่ ทธ. 31/2559 ข้อ 5(2) ประกอบกับข้อ 11 ข้อ 17 วรรคหนึ่ง และข้อ 33 แห่งประกาศ
ที่ ทธ. 32/2559 และข้อ 5(2) ประกอบกับข้อ 31 (1) และ (4) วรรคหนึ่ง (ง) และ (4/1) แห่งประกาศ
ที่ ทจ. 21/2562 จึงกําหนดแนวทางในการปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกประกาศแนวปฏิบัติ ที่ นป. 3/2559 เรื่อง แนวปฏิบัติในการจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2559
ข้อ 2 แนวปฏิบัตินี้เป็นแนวทางเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้
(1) การกํากับดูแลและบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Governance)
(2) การรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Security)
(3) การตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Audit)
(4) การทบทวนความเหมาะสมของ (1) (2) และ (3)
ข้อ 3 แนวปฏิบัติตามข้อ 2 มีรายละเอียดตามที่กําหนดในภาคผนวกแนบท้ายประกาศแนวปฏิบัตินี้
ข้อ 4 ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจได้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัตินี้จนครบถ้วน สํานักงานจะพิจารณาว่าผู้ประกอบธุรกิจได้ปฏิบัติตามประกาศที่ กจ. 16/2561 ประกาศที่ กจ. 19/2561 ประกาศที่ ทธ. 35/2556 ประกาศที่ ทธ. 30/2559 ประกาศที่ ทธ. 31/2559 ประกาศที่ ทธ. 32/2559 และประกาศที่ ทธ. 21/2562
ในส่วนที่เกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และประกาศที่ สธ. 38/2565 แล้ว ทั้งนี้ หากผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการต่างจากแนวปฏิบัตินี้ ผู้ประกอบธุรกิจมีภาระที่จะต้องพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าการดําเนินการนั้นยังคงอยู่ภายใต้หลักการและข้อกําหนดของประกาศดังกล่าว
ข้อ 5 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,027 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ นป. 8/2565 เรื่อง แนวปฏิบัติในการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) | ประกาศแนวปฏิบัติ
ที่ นป. 8/2565
เรื่อง แนวปฏิบัติในการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management)
และการบริหารจัดการกุญแจ (key management)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
(“ประกาศ ที่ กธ. 19/2561”) และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 44/2565 เรื่อง ข้อกําหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์
ดิจิทัลและกุญแจ ลงวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2565 (“ประกาศ ที่ สธ. 44/2565”)
กําหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจต้องมีระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัลที่ใช้ในการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และกุญแจ (key management) ที่มีประสิทธิภาพ โดยต้องจัดให้มีนโยบายและวิธีปฏิบัติในการกํากับดูแลและบริหารจัดการระบบดังกล่าว และมีการบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบดังกล่าว นั้น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดข้างต้นของผู้ประกอบธุรกิจ สํานักงาน ก.ล.ต.
โดยอาศัยอํานาจตามข้อ 3(2) ประกอบกับข้อ 9(6)(ค) แห่งประกาศที่ กธ. 19/2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 34/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 19) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2565 สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดแนวปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 แนวปฏิบัตินี้เป็นแนวทางเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้
(1) การจัดให้มีนโยบาย วิธีปฏิบัติ และระบบงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการ
กระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัลที่ใช้ในการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และกุญแจ
(key management)
(2) การควบคุมดูแล ติดตาม และตรวจสอบให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย มาตรการ
และระบบงานตาม (1)
(3) การทบทวนความเหมาะสมของ (1)
ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจได้ปฏิบัติตามแนวทางตามวรรคหนึ่งจนครบถ้วน สํานักงาน ก.ล.ต.จะพิจารณาว่าผู้ประกอบธุรกิจได้ปฏิบัติตามประกาศ ที่ กธ. 19/2561 และประกาศ ที่ สธ. 44/2565 แล้ว ทั้งนี้ หากผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการต่างจากแนวปฏิบัตินี้ ผู้ประกอบธุรกิจมีภาระที่จะต้องพิสูจน์
ให้เห็นได้ว่าการดําเนินการนั้นยังคงอยู่ภายใต้หลักการและข้อกําหนดของประกาศ ที่ กธ. 19/2561
ในส่วนที่เกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัลที่ใช้ในการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล
(wallet management) และกุญแจ (key management) และประกาศ ที่ สธ. 44/2565
ข้อ 2 แนวทางปฏิบัติตามข้อ 1 วรรคหนึ่งมีรายละเอียดตามที่กําหนดในภาคผนวก
ที่แนบท้ายประกาศแนวปฏิบัตินี้ ทั้งนี้ รายละเอียดดังกล่าวได้แก่เรื่องดังต่อไปนี้
(1) หมวดที่ 1 การกํากับดูแลและบริหารจัดการความเสี่ยงของระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) (governance of wallet and key management)
(2) หมวดที่ 2 การบริหารจัดการระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management)
(3) หมวดที่ 3 การบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) (incident management)
ประกาศ ณ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
**ภาคผนวก**
**บทนิยาม**
| | | |
| --- | --- | --- |
| **“กระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet)”** | หมายถึง | ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บสินทรัพย์ดิจิทัล |
| **“กุญแจ (key)”** | หมายถึง | กุญแจเข้ารหัส (cryptographic key) หรือสิ่งอื่นใดที่ต้องเก็บรักษาเป็นความลับ เพื่อใช้อนุมัติการโอนหรือการทําธุรกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลในกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล |
| **“ข้อมูลต้นกําเนิด (seed)”** | หมายถึง | ชุดตัวเลขที่ได้จากการประมวลค่าวลีช่วยจํา ที่ผ่านกระบวนการทางคอมพิวเตอร์ตามที่มาตรฐานกําหนด เช่น ในกรณีของ BIP32 BIP39 และ BIP44 เป็นต้น |
| **“ผู้ประกอบธุรกิจ (business operator)”** | หมายถึง | ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้รับใบอนุญาตและมีการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้าซึ่งรวมถึงผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล |
| **“วลีช่วยจํา (mnemonic phrase)”** | หมายถึง | ชุดคํา (word lists) ที่ได้จากการประมวลค่าเอนโทรปีที่ผ่านกระบวนการทางคอมพิวเตอร์ โดยชุดคําจะเป็นไปตามที่มาตรฐานกําหนด เช่น ในกรณีของ Bitcoin ใช้ BIP32 BIP39 และ BIP44 เป็นต้น |
| **“เอนโทรปี (entropy)”** | หมายถึง | การใช้กระบวนการทางคอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างชุดตัวเลขที่เป็นคําสุ่ม (randomness) ประกอบด้วย bit 0 หรือ bit 1 โดยมีความยาวเป็นไปตามที่มาตรฐานกําหนด เพื่อนําไปใช้ประกอบการสร้างกุญแจเข้ารหัส |
| **“ข้อมูลต้นกําเนิดสํารอง (backup seed)”****“ผู้จัดการ”****“เวลาราชการ”****“นอกเวลาราชการ”** | หมายถึงหมายถึงหมายถึงหมายถึง | การสํารองข้อมูลต้นกําเนิดบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานของบริษัทช่วงเวลาตั้งแต่เวลา 08.30 น. ถึง 16.30 น. ช่วงเวลาตั้งแต่เวลา 16.31 น. ถึง 08.29 น. ของวันถัดไป |
**หมวดที่ 1 : การกํากับดูแลและบริหารจัดการความเสี่ยงของระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) (governance of wallet and key management)**
| |
| --- |
| **วัตถุประสงค์** เนื่องจากระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) ถือเป็นหนึ่งในระบบงานหลักในการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้า ซึ่งหากเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลต่อความมั่นคงปลอดภัย เช่น การสูญหาย ถูกทําลาย หรือเกิดการทุจริต จะส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้าที่ฝากไว้ และความเชื่อมั่นต่อตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวมได้ ผู้บริหารระดับสูงจึงควรมีบทบาทสําคัญในการบริหารจัดการระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) ภายใต้การกํากับดูแลของคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้สอดคล้องกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี (corporate governance) |
**ข้อกําหนดในประกาศ ที่ สธ.** **44/2565**
| |
| --- |
| “ข้อ 4 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ นโยบายดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล(1) การบริหารจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลที่สอดคล้องกับนโยบายและการบริหารความเสี่ยงองค์กร (enterprise risk) ซึ่งครอบคลุมถึงการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง และการควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้(2) การบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลตามข้อ 6ข้อ 5 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีการกํากับดูแลและบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายตามข้อ 4(1) สื่อสารนโยบายให้แก่บุคลากรของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึงในลักษณะที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย เพื่อให้บุคลากรดังกล่าวเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวได้ถูกต้อง(2) กําหนดขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย(3) ทบทวนหรือปรับปรุงนโยบาย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และทบทวนโดยไม่ชักช้าเมื่อมีเหตุการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการกํากับดูแลและบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างมีนัยสําคัญ ทั้งนี้ ต้องปรับปรุงขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานตาม (2) ให้สอดคล้องกับนโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลงด้วย(4) จัดให้มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามนโยบาย โดยหน่วยงานซึ่งเป็นอิสระจากการบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล และหน่วยงานดังกล่าวมีหน้าที่รายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวให้คณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และในกรณีที่มีเหตุการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวอย่างมีนัยสําคัญ ต้องรายงานให้คณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลทราบโดยไม่ชักช้า(5) จัดให้มีระบบควบคุมภายในสําหรับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายอย่างน้อยดังนี้(ก) มีการตรวจสอบภายในและสอบทานการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นระบบ(ข) มีการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และติดตามการปรับปรุงแก้ไขดังกล่าวอย่างเป็นระบบและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อทรัพย์สินลูกค้า” |
**แนวปฏิบัติ**
1. นโยบายการบริหารจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบการจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet
management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) ตามข้อกําหนด 4(1)
ควรสอดคล้องกับนโยบายและการบริหารความเสี่ยงองค์กร (enterprise risk) และควรมีเนื้อหาขั้นต่ํา
ดังนี้
1.1 การระบุความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management)
1.2 การประเมินความเสี่ยง ซึ่งครอบคลุมถึงโอกาสหรือความถี่ที่จะเกิดความเสี่ยง และความมีนัยสําคัญหรือผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เพื่อจัดลําดับความสําคัญในการบริหารจัดการความเสี่ยง
1.3 การกําหนดเครื่องมือและมาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กร
ยอมรับได้ (risk appetite)
1.4 การกําหนดตัวชี้วัดระดับความเสี่ยง (risk indicator) สําหรับความเสี่ยงสําคัญที่สอดคล้องกับความเสี่ยงที่ระบุตาม 1.1 รวมถึงจัดให้มีการติดตามและรายงานผลตัวชี้วัดดังกล่าว เพื่อให้สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงด้านกุญแจได้อย่างเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์
1.5 การกําหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้รับผิดชอบ (accountable person) และผู้ทําหน้าที่บริหารจัดการ (responsible person) ระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) ตามข้อกําหนด 4(1)
2. ในการปฏิบัติตามข้อกําหนด 5(1) ผู้ประกอบธุรกิจควรสื่อสารนโยบายให้แก่บุคลากรเฉพาะที่เกี่ยวข้อง สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน (หลัก need-to-know) โดยเฉพาะในส่วนของนโยบาย
ที่เกี่ยวข้องกับ cold wallet ให้สื่อสารเฉพาะกับผู้ที่มีหน้าที่เท่านั้น
3. ในการปฏิบัติตามข้อกําหนด 5(4) ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีขั้นตอนการจัดทําการติดตามและ
การควบคุมดูแลการจัดทํารายงานเพื่อให้มั่นใจได้ว่าสามารถจัดทํารายงานได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง
และทันเวลา โดยให้ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อกําหนด 5(4)
และมีหน่วยงานที่เป็นอิสระจากผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงานและรายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าว
เช่น หน่วยงานกํากับดูแลการปฏิบัติงาน และหน่วยงานตรวจสอบภายใน เป็นต้น
4. ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อกําหนด 5(5) ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีการติดตาม ประเมิน
และปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของระบบควบคุมภายใน ดังต่อไปนี้
4.1 จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินประสิทธิภาพของขั้นตอนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ที่ทําหน้าที่บริหารและจัดการในเรื่องดังต่อไปนี้ โดยผู้ตรวจสอบที่เป็นอิสระจากหน่วยงานดังกล่าว
(ก) การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายในข้อกําหนด 4(1) และ (2)
(ข) การรายงานการปฏิบัติงานในข้อกําหนด 5(4)
4.2 จัดให้มีการประเมินตนเองในด้านประสิทธิภาพของขั้นตอนการปฏิบัติงาน (control
self-assessment : CSA)
4.3 จัดให้ผู้ตรวจสอบที่เป็นอิสระเป็นผู้ประมวลและรายงานผลที่ได้จากการดําเนินการตาม 4.1
และ 4.2 พร้อมทั้งรายงานข้อบกพร่องที่ตรวจพบและผลการปรับปรุงแก้ไขให้คณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการตรวจสอบและผู้บริหารระดับสูงทราบตามรอบการประเมินและ
ตามรอบการติดตามการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง หรือโดยไม่ชักช้าเมื่อพบข้อบกพร่อง
ที่มีนัยสําคัญ
**หมวดที่ 2 : การบริหารจัดการระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management)**
| |
| --- |
| **วัตถุประสงค์** เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจมีมาตรการควบคุมดูแลความปลอดภัยขั้นสูงสุด ตั้งแต่กระบวนการสร้าง การจัดเก็บ การเข้าถึง การใช้งาน และการกู้คืนกุญแจ รวมทั้งเพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจมีการควบคุมการเข้าถึงสินทรัพย์ดิจิทัลในกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้า โดยกําหนดกระบวนการการออกแบบ การพัฒนา และบริหารจัดการระบบกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล รวมถึงการจัดเก็บ log ขั้นตอนและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ |
**ข้อกําหนดในประกาศ ที่ สธ.** **44/2565**
| |
| --- |
| “ข้อ 6 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีนโยบายและกําหนดกระบวนการในการบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล ในเรื่องของการออกแบบ พัฒนา และบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล อย่างเหมาะสมและมั่นคงปลอดภัยในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลมีการสร้าง จัดเก็บ หรือเข้าถึงกุญแจ ข้อมูลต้นกําเนิด หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจัดให้มีนโยบายและกําหนดกระบวนการในการบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลในเรื่องดังกล่าวด้วย” |
**แนวปฏิบัติ**
1. เพื่อให้มีการดําเนินการเป็นไปตามข้อกําหนด 6 วรรคสองข้างต้น ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีนโยบายและกระบวนการในการสร้าง และจัดเก็บ key รวมถึงการควบคุมการเข้าถึง key และข้อมูลอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องที่ครอบคลุมเนื้อหาขั้นต่ําดังนี้
**1.1 กรณี** **cryptographic key**
**1.1.1 กระบวนการสร้าง cryptographic key และ seed**
(1) ผู้ประกอบธุรกิจควรทําให้มั่นใจได้ว่า key และ seed ถูกคาดเดาได้ยาก
โดยครอบคลุมการดําเนินการดังนี้
(ก) ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ดีและมาตรฐานสากลที่ได้รับการยอมรับสําหรับ
entropy ที่ใช้ในการสร้าง key
(ข) มีระบบการป้องกันในกระบวนการสร้าง key และ seed เพื่อให้มั่นใจได้ว่า
key และ seed จะถูกคาดเดาได้ยาก เพื่อความปลอดภัยของทรัพย์สินลูกค้า
(2) ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ในกระบวนการสร้าง key และ seed
โดยครอบคลุมการดําเนินการดังนี้
(ก) มีพนักงานอย่างน้อย 3 คนที่มีส่วนร่วมในกระบวนการสร้าง key และ seed
ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจ รวมถึงมีมาตรการ
ที่เหมาะสมเพื่อให้มั่นใจได้ว่า ไม่มีพนักงานคนใดคนหนึ่งได้รับรู้ข้อมูล
ที่ใช้ในการสร้าง key และ seed ทั้งหมดได้
(ข) จัดให้มีบุคคลที่มีความเป็นอิสระจากหน่วยงานที่รับผิดชอบในกระบวนการ
สร้าง key และ seed เช่น หน่วยงานกํากับดูแลการปฏิบัติงาน และหน่วยงาน
ตรวจสอบภายใน เป็นต้น เข้าร่วมสังเกตการณ์ในขั้นตอนการสร้าง key และ
seed ว่าเป็นไปตามขั้นตอนที่กําหนดไว้ ทั้งนี้ ผู้สังเกตการณ์ต้องไม่สามารถ
รู้ข้อมูลที่ใช้ในการสร้าง key และ seed ทั้งหมดได้
(ค) พนักงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้าง key และ seed ไม่มีส่วนร่วม
ในระบบหรือขั้นตอนการปฏิบัติสําหรับการสร้างธุรกรรมให้ลูกค้า
(3) ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีขั้นตอนการกู้คืน key โดยครอบคลุมการดําเนินการดังนี้
(ก) จัดให้มี mnemonic phrase หรือข้อมูลอื่นใดที่สร้างขึ้นในกระบวนการสร้าง
key ซึ่งยังคงสามารถรักษาความลับในการได้มาซึ่ง key เพื่อใช้ในการ
กู้คืน key (regenerate) เมื่อมีเหตุจําเป็น
(ข) กําหนดขั้นตอนและการควบคุมการกู้คืน key เพื่อให้มั่นใจได้ว่า ผู้ประกอบ
ธุรกิจจะกู้คืน key ได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุมัติโดยผู้มีอํานาจและเจ้าของ wallet
รวมถึงมีการจัดเก็บ log หลักฐานในกระบวนการที่เกี่ยวข้อง
(4) ผู้ประกอบธุรกิจควรมีกระบวนการทดสอบการใช้งาน key seed และข้อมูลอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้อง โดยครอบคลุมการดําเนินการดังนี้
(ก) มีกระบวนการทดสอบเพื่อให้มั่นใจได้ว่า key ที่สร้างขึ้นสามารถใช้งาน
เพื่อทําธุรกรรมสําหรับ wallet นั้น ๆ ได้
(ข) มีกระบวนการทดสอบเพื่อให้มั่นใจได้ว่า ข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการกู้คืน
key สามารถใช้ในการกู้คืน key ได้
(5) ผู้ประกอบธุรกิจควรทําให้มั่นใจได้ว่า มีความมั่นคงปลอดภัยในการสร้าง key
และ seed รวมถึงการทําลายข้อมูลที่หลงเหลือ โดยครอบคลุมการดําเนินการดังนี้
(ก) ทําให้มั่นใจได้ว่า การสร้าง key seed และข้อมูลที่เกี่ยวข้องถูกจัดทํา
ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมที่เหมาะสมอย่างมั่นคงปลอดภัย และ
ควรใช้อุปกรณ์ที่ปลอดภัย โดยให้การสร้าง key ทํางานแบบไม่เชื่อมต่อ
กับเครือข่าย แต่ถ้าเป็นการทํางานแบบมีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายควรมีการ
ควบคุมการเข้าถึงหรือมีการควบคุมอื่น ๆ ที่เหมาะสมทดแทน โดยให้
มีการใช้งาน ตั้งค่า ตามข้อแนะนําเพื่อความปลอดภัยที่แนะนําโดยเจ้าของ
ผลิตภัณฑ์ หรือตามมาตรฐานสากล
(ข) มีกระบวนการและมาตรฐานการดําเนินงานที่เหมาะสม ในการทําลายข้อมูล
ที่สําคัญที่อาจหลงเหลืออยู่จากขั้นตอนการสร้าง key เพื่อป้องกันการเข้าถึง
ข้อมูลดังกล่าวโดยไม่ได้รับอนุญาต เช่น ข้อมูลบน RAM หรือ memory
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในขั้นตอนการสร้าง key เป็นต้น รวมทั้ง
การดําเนินการในกระบวนการดังกล่าวในแต่ละครั้ง ได้รับการสอบทาน
ความเหมาะสมจากบุคคลที่มีความเป็นอิสระจากจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ในกระบวนการสร้าง key และ seed
(ค) จัดเก็บบันทึกเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้าง key และ seed
รวมถึงการลบหรือทําลายข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อการสอบทานในอนาคต
**1.1.2 กระบวนการจัดเก็บ cryptographic key และ seed**
(1) ผู้ประกอบธุรกิจควรทําให้มั่นใจได้ว่า key สําหรับระบบเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล
ที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายเมื่อทําธุรกรรมเท่านั้น (cold wallet) ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่าง
การใช้งานถูกจัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ที่เข้ารหัสหรือตู้นิรภัย และมีการควบคุม
การเข้าถึงอย่างปลอดภัย และควรมีระบบและวิธีการปฏิบัติงานที่เหมาะสม
(2) ผู้ประกอบธุรกิจควรมีการจํากัดการเข้าถึง key ข้อมูล และอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ทําธุรกรรม สําหรับระบบเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลที่เชื่อมต่อกับเครือข่าย
เมื่อทําธุรกรรมเท่านั้น (cold wallet) เฉพาะกับผู้บริหารระดับสูงที่ได้รับอนุญาต
โดยไม่มีผู้บริหารระดับสูงรายใดรายหนึ่งสามารถทําธุรกรรมได้โดยบุคคลเดียว
(3) ผู้ประกอบธุรกิจควรทําให้มั่นใจได้ว่า key สําหรับเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลที่ไม่ได้
เชื่อมต่อกับเครือข่ายเมื่อทําธุรกรรมเท่านั้น (hot wallet) ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปแบบ
ที่มีการเข้ารหัส (encryption) ที่มีความมั่นคงปลอดภัย
(4) ผู้ประกอบธุรกิจควรแบ่งข้อมูล seed หรือข้อมูลที่ใช้ในการกู้คืน key ออกเป็น
อย่างน้อย 3 ส่วน โดยแบ่งผู้ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวต้องไม่ใช่บุคคลเดียวกัน
และแต่ละส่วนจะต้องเก็บไว้แยกจากกันในภาชนะที่สามารถป้องกันการงัดแงะได้
รวมทั้งจัดเก็บอย่างปลอดภัย
(5) ผู้ประกอบธุรกิจควรทําให้มั่นใจได้ว่า สถานที่จัดเก็บ backup seed
(ก) ไม่ใช่สถานที่เดียวกันกับสถานที่จัดเก็บ seed และสถานที่สําหรับการจัดการ
ธุรกรรมและการปฏิบัติงานรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล
(ข) แบ่งออกเป็นอย่างน้อย 3 ส่วน โดยแบ่งผู้ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าว
ต้องไม่ใช่บุคคลเดียวกัน และแต่ละส่วนจะต้องเก็บไว้แยกจากกันในภาชนะ
ที่สามารถป้องกันการงัดแงะได้ รวมทั้งจัดเก็บอย่างปลอดภัยโดยจัดเก็บไว้
ในตู้นิรภัย และมีมาตรการรักษาความปลอดภัยเทียบเท่ากับข้อมูล seed
ซึ่งประกอบด้วยระบบบันทึกภาพอย่างต่อเนื่อง และมีการป้องกันการโจมตี
ทางกายภาพและภัยพิบัติต่าง ๆ เช่น น้ําท่วม ไฟไหม้ พายุ หรือสภาพอากาศ
ต่าง ๆ
(6) ผู้ประกอบธุรกิจควรทําให้มั่นใจได้ว่าพื้นที่จัดเก็บ backup seed ที่อยู่นอกสถานที่
(off-site) ถูกจํากัดการเข้าถึงเฉพาะพนักงานที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น และการยืนยัน
ตัวตนพนักงานดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีการใช้ multifactor identity verification
ก่อนอนุญาตให้มีการเข้าถึงได้
(7) ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีการตรวจสอบภายในสําหรับระบบและกระบวนการ
ทํางานที่เกี่ยวข้องกับ key seed และข้อมูลอื่น ๆ ซึ่งครอบคลุมถึงการสร้างและ
การจัดเก็บ backup seed โดยผู้บริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(8) ผู้ประกอบธุรกิจควรมีการบันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
ตาม (7) อย่างเหมาะสม รวมถึงสิ่งที่ได้ดําเนินการเพื่อแก้ไขปรับปรุง (ถ้ามี) และ
ควรนําส่งรายละเอียดดังกล่าวให้แก่สํานักงาน ก.ล.ต. เมื่อมีการร้องขอ
(9) ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีกระบวนการย้าย key ระหว่างอุปกรณ์ หรือติดตั้ง key
ลงบน server ที่มั่นคงปลอดภัย โดยข้อมูลในอุปกรณ์ที่ใช้ในการย้าย key
ควรถูกลบ ทําลายอย่างปลอดภัย
**1.1.3 กระบวนการเข้าถึง cryptographic key seed และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง**
(1) ผู้ประกอบธุรกิจควรมีการจํากัดการเข้าถึง key seed และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
สินทรัพย์ดิจิทัลที่อยู่ภายใต้การรับฝากเฉพาะกับพนักงานที่ได้รับอนุญาต ภายใต้หลัก
เท่าที่จําเป็นเท่านั้น
(2) ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดทําและทบทวนบัญชีรายชื่อพนักงานที่มีสิทธิเข้าถึง key seed
และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และมีวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการให้สิทธิหรือ
เพิกถอนสิทธิการเข้าถึงข้อมูลดังกล่าว
(3) ผู้ประกอบธุรกิจควรมีการจัดเก็บบันทึกหลักฐานทั้งการเข้าถึง key seed และข้อมูล
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (access log) และการดําเนินงาน (activity log / audit log)
เพื่อการสอบทานในอนาคต เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี โดยอย่างน้อยควรมีข้อมูล
บัญชีผู้ใช้งาน วันเวลาเข้าใช้งาน เหตุการณ์ เป็นต้น
(4) ผู้ประกอบธุรกิจควรมีการควบคุมการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าบนอุปกรณ์ที่ใช้สร้าง
และจัดเก็บ key seed และข้อมูลอื่น ๆ ให้สามารถดําเนินการได้โดยผู้มีหน้าที่
รับผิดชอบ และไม่สามารถดําเนินการได้โดยบุคคลเดียว
**1.2 กรณี key ที่ไม่ใช่ cryptographic key**
สําหรับการอนุมัติการโอนหรือการทําธุรกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลโดยใช้ key รูปแบบอื่นใดนอกจาก cryptographic key ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีนโยบายและกระบวนการบริหารจัดการ key และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่สามารถตรวจสอบและควบคุมได้ มีการแบ่งแยกบุคลากรที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการ key และมีความปลอดภัยจากการที่ key
ถูกโจรกรรม เสียหาย หรือสูญหาย รวมทั้งสามารถกู้คืน key ได้เมื่อได้รับอนุมัติโดยผู้มีอํานาจและเจ้าของ wallet โดยมีการจัดเก็บ log หลักฐานในกระบวนการที่เกี่ยวข้อง
2. เพื่อให้มีการดําเนินการเป็นไปตามข้อกําหนด 6 วรรคหนึ่งข้างต้น ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีนโยบายและกระบวนการสําหรับการออกแบบ การพัฒนา และการบริหารจัดการ wallet โดยครอบคลุมเนื้อหาขั้นต่ําดังต่อไปนี้
2.1 ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีการออกแบบ wallet เพื่อให้สามารถตั้งค่าและกําหนดสิทธิหรือวงเงินในการทําธุรกรรมได้อย่างเหมาะสม และสามารถป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าถึงได้
2.2 ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีการออกแบบ wallet อย่างเหมาะสม โดยมีการคํานึงถึงการควบคุม
ที่สําคัญตั้งแต่กระบวนการการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงแก้ไข
2.3 ผู้ประกอบธุรกิจควรจัดให้มีกระบวนการจัดหา และคัดเลือกผู้ให้บริการ wallet ก่อนเปิดใช้งาน เพื่อให้มั่นใจว่า wallet ที่เลือกใช้มีความเหมาะสมและมีการรักษาความปลอดภัยที่ดี
2.4 ผู้ประกอบธุรกิจควรมีการสอบทานการตั้งค่าและการเปลี่ยนแปลงบน wallet รวมถึงสอบทานการทําธุรกรรมที่มีมูลค่าสูง
2.5 ผู้ประกอบธุรกิจควรมีการจัดเก็บบันทึกหลักฐานการตั้งค่า กําหนดสิทธิ การเข้า wallet (access log) และการดําเนินงาน (activity log / audit log) เพื่อการสอบทานในอนาคต เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี โดยอย่างน้อยควรมีข้อมูลบัญชีผู้ใช้งาน วันเวลาเข้าใช้งาน เหตุการณ์ เป็นต้น
**หมวดที่ 3 :** **การบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) (incident management)**
| |
| --- |
| **วัตถุประสงค์** เพื่อให้เหตุการณ์และจุดอ่อนที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) ได้รับการดําเนินการอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพในช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม |
**ข้อกําหนดในประกาศ ที่ สธ.** **44/2565**
| |
| --- |
| “ข้อ 7 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีการบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้(1) กําหนดขั้นตอนและกระบวนการในการบริหารจัดการเหตุการณ์(2) กําหนดผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์(3) ทดสอบขั้นตอนและกระบวนการในการบริหารจัดการเหตุการณ์ตาม (1) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง(4) พิจารณาทบทวนขั้นตอนและกระบวนการในการบริหารจัดการเหตุการณ์หลังจากที่ได้มีการทดสอบตาม (3) แล้วอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง(5) จัดให้มีการประเมินผลการทดสอบตาม (3) และประเมินผลการพิจารณาทบทวนตาม (4) โดยต้องรายงานผลต่อคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การดําเนินการดังกล่าวต้องกระทําโดยบุคคลที่เป็นอิสระจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์ตาม (2)(6) รายงานเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลต่อผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์ตาม (2) และสํานักงาน ก.ล.ต. โดยไม่ชักช้า(7) ในกรณีที่มีเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล ซึ่งกระทบต่อทรัพย์สินของลูกค้าอย่างมีนัยสําคัญ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องดําเนินการดังนี้(ก) จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญภายนอกที่มีความเป็นอิสระ มีความชํานาญตามมาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับและน่าเชื่อถือ และได้รับการรับรองหรือได้รับประกาศนียบัตร (accreditations or certifications) ที่เป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรม ทําหน้าที่ตรวจสอบความมั่นคงปลอดภัยของระบบและพิสูจน์พยานหลักฐานทางดิจิทัล (digital forensic investigation) โดยไม่ชักช้า(ข) จัดส่งรายงานที่จัดทําโดยผู้เชี่ยวชาญตาม (ก) ต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ตามหลักเกณฑ์ดังนี้1. รายงานการตรวจสอบขั้นต้น (interim forensic investigation report) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ลงนามในสัญญาจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอก2. รายงานการตรวจสอบฉบับสมบูรณ์ (final forensic investigation report) ภายใน 90 วันนับแต่วันที่ลงนามในสัญญาจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอกในกรณีที่มีเหตุอันสมควรทําให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลไม่สามารถจัดส่งรายงานดังกล่าวภายในระยะเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง (ข) ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลยื่นขอขยายระยะเวลาการจัดส่งรายงาน พร้อมทั้งเหตุผลและเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนครบกําหนดระยะดังกล่าว(8) จัดทําแผนการดําเนินการแก้ไขปัญหาที่พบตาม (7) และมาตรการในการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาดังกล่าวซ้ํา รวมทั้งระยะเวลาในการดําเนินการตามแผนดังกล่าว โดยจัดส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 10 วันนับแต่วันที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลได้รับรายงานจากผู้เชี่ยวชาญตาม (7) วรรคหนึ่ง (ข) 2.ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลดําเนินการตามแผนดังกล่าว และจัดส่งรายงานความคืบหน้าในการดําเนินการต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ทุกวันศุกร์จนกว่าผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจะดําเนินการตามแผนแล้วเสร็จในกรณีที่มีเหตุอันสมควรทําให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลไม่สามารถจัดส่งแผนการดําเนินการตามวรรคหนึ่งหรือรายงานความคืบหน้าตามวรรคสองภายในระยะเวลาที่กําหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลยื่นขอขยายระยะเวลาการจัดส่งแผนหรือรายงาน พร้อมทั้งเหตุผลและเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนครบกําหนดระยะเวลาดังกล่าว(9) จัดเก็บเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการในการบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปีนับแต่วันที่จัดทําเอกสารนั้น โดยต้องจัดเก็บไว้ในลักษณะที่พร้อมให้สํานักงาน ก.ล.ต. สามารถเรียกดูและตรวจสอบได้โดยไม่ชักช้าการแจ้ง การส่งแผนการดําเนินการ รายงาน เอกสารหลักฐาน หรือคําขอใด ๆ ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบและวิธีการที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต.” |
**แนวปฏิบัติ**
1. เพื่อให้มีการดําเนินการเป็นไปตามที่ข้อกําหนด 7(1) และ (2) ผู้ประกอบธุรกิจควรกําหนดขั้นตอน
และกระบวนการขั้นต่ําดังต่อไปนี้
1.1 กําหนดแผนรองรับในกรณีที่เกิดเหตุการณ์อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร โดยอย่างน้อยต้องครอบคลุมกรณี (1) cyber attack (2) กุญแจหลักไม่สามารถใช้งานได้ และ (3) การทุจริต
โดยบุคคลในองค์กร
1.2 ประเมินเหตุการณ์หรือจุดอ่อนของระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) และพิจารณาว่าควรจัดเป็นเหตุการณ์และมีระดับความรุนแรงที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management)
1.3 จัดให้มีบุคคลหรือหน่วยงานเพื่อทําหน้าที่รับแจ้งเหตุการณ์ (point of contact) และรายงานเหตุการณ์ต่อคณะผู้บริหารหรือผู้เกี่ยวข้องให้ทราบและดําเนินการต่อไป (escalation)
1.4 ดําเนินการเพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อทําให้เหตุการณ์คลี่คลายหรือกลับสู่ภาวะปกติอย่างรวดเร็ว โดยควรจัดให้มีทีมผู้เชี่ยวชาญ (incident response team) เพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
1.5 รวบรวมและจัดเก็บหลักฐานโดยไม่ชักช้า เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) ที่มีความสําคัญอย่างมีนัยสําคัญ เช่น ก่อให้เกิดความเสียหายกับข้อมูลหรือทรัพย์สินของลูกค้า โดยคํานึงถึงประเด็นสําคัญต่าง ๆ เช่น มีกระบวนการการจัดเก็บอย่างมั่นคงปลอดภัย การกําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง การคัดเลือกบุคคลที่มีความรู้ความสามารถหรือมีประสบการณ์ด้านการรวบรวมและจัดเก็บหลักฐาน เพื่อวิเคราะห์ตรวจสอบและจัดทําเอกสารสรุปนําเสนอต่อบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดชอบ เป็นต้น ทั้งนี้ การรวบรวม จัดเก็บ และนําเสนอหลักฐานควรสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของกฎหมายที่ใช้บังคับ
1.6 บันทึกและจัดเก็บหลักฐานการบริหารจัดการตามความจําเป็นและความเหมาะสม
1.7 ตรวจหา ติดตาม วิเคราะห์ และรายงานเหตุการณ์ ทั้งนี้ ให้รวมถึงการวิเคราะห์ภายหลังเหตุการณ์ยุติแล้ว เพื่อระบุถึงสาเหตุของเหตุการณ์และเพื่อใช้ประโยชน์จากผลการวิเคราะห์
ในการเตรียมความพร้อมรองรับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต รวมทั้งรายงาน
ความคืบหน้าให้สํานักงาน ก.ล.ต. ทราบทุกวันถัดไป
1.8 มีหนังสือรายงานสํานักงาน ก.ล.ต. ถึงสถานการณ์และผลการบริหารจัดการทราบภายใน 2 วันนับแต่วันที่เหตุการณ์ยุติแล้ว
2. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานที่พบเหตุการณ์ที่ส่งกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) ควรต้องรายงาน
ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์ที่กําหนดไว้ตามข้อกําหนด 7(2) เพื่อที่จะรายงานให้สํานักงาน ก.ล.ต. ทราบโดยไม่ชักช้าเมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว ทั้งนี้ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์ดังกล่าวควรดําเนินการตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
2.1 จัดทําแบบฟอร์มที่เป็นมาตรฐานเพื่อรองรับการรายงานสถานการณ์ และสร้างความเข้าใจให้กับ
ผู้รายงานเกี่ยวกับการดําเนินการต่าง ๆ ที่จําเป็นกรณีที่เกิดเหตุการณ์ ทั้งนี้ เนื้อหาขั้นต่ํา
ควรประกอบด้วย วันเวลา เหตุการณ์ ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น การดําเนินการแก้ไข
ผลการแก้ไข ระยะเวลาในการแก้ไข สาเหตุที่เกิดปัญหา และแนวทางการป้องกันในอนาคต
2.2 รายงานคณะผู้บริหารขององค์กรเมื่อทราบเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ
(key management) เช่น พบช่องโหว่ในการควบคุมความมั่นคงปลอดภัย (ineffective security control) เกิดเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อการรักษาความลับ (confidentiality) ความถูกต้องครบถ้วน (integrity) ข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน (human errors) การบุกรุกด้านกายภาพ (breaches of physical security arrangements) การปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามนโยบาย การทํางานผิดพลาดของโปรแกรมและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (malfunctions of software or hardware) และการเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต (access violations)
2.3 รายงานสํานักงาน ก.ล.ต. เมื่อมีเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management)
ที่มีความสําคัญ
2.4 แจ้งบุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น ลูกค้า รับทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่เหตุการณ์ส่งผลกระทบ
ต่อบุคคลดังกล่าว
2.5 จัดให้มีการรายงานความคืบหน้าในการบริหารจัดการสถานการณ์และผลการบริหารจัดการ
เป็นระยะ และเมื่อเหตุการณ์ยุติแล้ว
3. ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อกําหนด 7(3) (4) และ (9) ผู้ประกอบธุรกิจควรดําเนินการดังต่อไปนี้
3.1 จัดให้มีการจําลองสถานการณ์เสี่ยง (risk scenario) เพื่อทดสอบการเตรียมความพร้อมรับมือ
ต่อเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key management) โดย risk scenario ดังกล่าวควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
(1) เป็นสถานการณ์ที่สอดคล้องกับลักษณะ ขอบเขต และความซับซ้อนในการประกอบธุรกิจ
ของผู้ประกอบธุรกิจ
(2) เป็นสถานการณ์ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว จะส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการกระเป๋า
สินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการกุญแจ (key
management) อย่างมีนัยสําคัญ
(3) เป็นสถานการณ์ที่สามารถวัดผลได้ และนําผลที่ได้ไปใช้ในการทบทวนขั้นตอนและ
กระบวนการในการบริหารจัดการเหตุการณ์ เพื่อให้เกิดความมั่นคงปลอดภัยของระบบ
การบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management) และการบริหารจัดการ
กุญแจ (key management)
(4) เป็นสถานการณ์ที่มีความสมเหตุสมผล สามารถปฏิบัติได้จริงโดยไม่ขัดแย้งกัน
(5) เป็นสถานการณ์ที่มีความเป็นไปได้ และสอดคล้องกับสถานการณ์จริงในปัจจุบัน
3.2 จัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันดังนี้
(1) สถานการณ์เสี่ยง (risk scenario) ที่ใช้ในการทดสอบ
(2) สรุปผลการทดสอบ ผลการประเมิน และผลการทบทวนแผนรองรับในกรณีที่เกิดเหตุการณ์
4. ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อกําหนด 7(6) ผู้ประกอบธุรกิจควรดําเนินการรายงานสํานักงาน ก.ล.ต.
เมื่อมีเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล โดยควรรายงาน
ดังนี้
4.1 หากทราบเหตุการณ์ดังกล่าวในเวลาราชการ
(1) รายงานโดยไม่ชักช้าภายในวันที่ทราบเหตุการณ์นั้น แต่ไม่เกิน 18.00 น. เว้นแต่เป็น
เหตุที่กระทบต่อทรัพย์สินของลูกค้า ให้รายงานภายใน 1 ชั่วโมงนับแต่ผู้จัดการหรือบุคคล
ที่ได้รับมอบหมายให้มีอํานาจทั้งหมดหรือบางส่วนในการจัดการทราบถึงเหตุการณ์ดังกล่าว
แต่ไม่เกิน 18.00 น. โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงวันเวลา เหตุการณ์ และผลกระทบที่คาดว่า
จะเกิดขึ้น ทั้งนี้ อาจแจ้งโดยวาจาหรือผ่านระบบรับส่งข้อความผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์
(electronic messaging) ตามความเหมาะสม
(2) รายงานความคืบหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างน้อยทุกวัน ภายในเวลา 16.00 น.
ตั้งแต่วันถัดไปหลังทราบเหตุการณ์ หรือตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ร้องขอ จนกว่าระบบ
ที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลจะกลับสู่การให้บริการได้อย่างเป็นปกติ
โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงวันเวลา เหตุการณ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น การดําเนินการแก้ไขปัญหา
และความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้ ให้รายงานผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์
ที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด
(3) รายงานเมื่อเหตุการณ์ยุติหรือแก้ไขปัญหาแล้วเสร็จ เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีเนื้อหา
ครอบคลุมถึงวันเวลา เหตุการณ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น การดําเนินการแก้ไขปัญหา
ผลการแก้ไขปัญหา ระยะเวลาในการแก้ไข สาเหตุที่เกิดปัญหา และแนวทางป้องกัน
ในอนาคต
4.2 หากทราบเหตุการณ์ดังกล่าวนอกเวลาราชการ
(1) รายงานโดยไม่ชักช้าเมื่อทราบเหตุการณ์นั้น โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงวันเวลา เหตุการณ์
และผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยอาจแจ้งโดยวาจาหรือผ่านระบบรับส่งข้อความ
ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (electronic messaging) ตามความเหมาะสม
(2) รายงานความคืบหน้าเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างน้อยทุกวัน ภายในเวลา 16.00 น.
ตั้งแต่วันถัดไปหลังทราบเหตุการณ์หรือตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ร้องขอ จนกว่าระบบ
ที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลจะกลับสู่การให้บริการได้อย่างเป็นปกติ
โดยมีเนื้อหาครอบคลุมถึงวันเวลา เหตุการณ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น การดําเนินการแก้ไขปัญหา
และความคืบหน้าในการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้ ให้รายงานผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สํานักงาน
ก.ล.ต. กําหนด
(3) รายงานเมื่อเหตุการณ์ยุติหรือแก้ไขปัญหาแล้วเสร็จ เป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีเนื้อหา
ครอบคลุมถึงวันเวลา เหตุการณ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น การดําเนินการแก้ไขปัญหา
ผลการแก้ไขปัญหา ระยะเวลาในการแก้ไข สาเหตุที่เกิดปัญหา และแนวทางป้องกัน
ในอนาคต
5. ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อกําหนด 7(7) ผู้ประกอบธุรกิจควรดําเนินการดังนี้
5.1 กําหนดลักษณะเหตุการณ์ที่กระทบต่อทรัพย์สินของลูกค้าอย่างมีนัยสําคัญ โดยอาจพิจารณาจาก
มูลค่าสินทรัพย์ดิจิทัลที่สูญหายเกินกว่า 100 ล้านบาท หรือจํานวนผู้ใช้บริการที่ได้รับผลกระทบจากการสูญหายของสินทรัพย์ดิจิทัลเกินกว่า 1 พันคน
5.2 จัดจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอกเพื่อดําเนินการตรวจสอบ digital forensic investigation ภายใน
30 วันนับแต่วันที่พบเหตุการณ์ เว้นแต่เป็นเหตุสุดวิสัย ให้แจ้งให้สํานักงาน ก.ล.ต. ทราบ
เป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมแผนดําเนินการดังกล่าว | 11,028 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สจ. 30/2565 เรื่อง แบบของร่างหนังสือชี้ชวน (ฉบับที่ 13) | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สจ. 30/2565
เรื่อง แบบของร่างหนังสือชี้ชวน
(ฉบับที่ 13)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 72 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 2 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สจ. 54/2543 เรื่อง แบบของร่างหนังสือชี้ชวน ลงวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2543
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สจ. 72/2564
เรื่อง แบบของร่างหนังสือชี้ชวน (ฉบับที่ 12) ลงวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ข้อ 2 ในประกาศนี้
“ประกาศเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล” หมายความว่า
(1) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล
การเสนอขายหลักทรัพย์
(2) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล
การเสนอขายตราสารหนี้
(3) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขาย
หุ้นที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศซึ่งไม่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ
(4) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขาย
หลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศที่มีหรือจะมีหุ้นเป็นหลักทรัพย์ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์
ต่างประเทศ
(5) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเสนอขาย
หลักทรัพย์ที่ออกใหม่พร้อมกับการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์เดิมของบริษัทจดทะเบียนเพื่อปรับโครงสร้าง
การถือหุ้นและการจัดการ
(6) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหลักทรัพย์
ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิในหลักทรัพย์ต่างประเทศ
(7) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่
โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และ
การเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,029 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สจ. 32/2565 เรื่อง การจัดสรรกระแสรายรับตามโครงการแปลงสินทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์ และการรายงานการโอนสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือของนิติบุคคลเฉพาะกิจ | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สจ.32/2565
เรื่อง การจัดสรรกระแสรายรับตามโครงการแปลงสินทรัพย์
เป็นหลักทรัพย์ และการรายงานการโอนสินทรัพย์และ
ผลประโยชน์คงเหลือของนิติบุคคลเฉพาะกิจ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในข้อ 3(5) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 7/2552 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการอนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 ข้อ 6 ประกอบภาคผนวก 2 ส่วนที่ 5 หุ้นกู้เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ในข้อ 10(2) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 15/2565 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2565 และข้อ 7 ประกอบภาคผนวก 2 ส่วนที่ 5 หุ้นกู้เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ในข้อ 7(2) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2565 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจํากัด และการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพต่อบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะ ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2565 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ข้อ ๒ ในประกาศนี้
“การจัดสรรกระแสรายรับ” หมายความว่า การจัดสรรรายได้ของนิติบุคคลเฉพาะกิจที่เกิดจากการรับโอนสินทรัพย์ที่เป็นสิทธิเรียกร้อง เพื่อการชําระคืนเงินต้นและดอกเบี้ย รวมถึงค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
“รายได้” หมายความว่า รายได้ตามงบกําไรขาดทุน ซึ่งรวมถึง รายได้จากเงินลงทุนในลูกหนี้ ดอกเบี้ยจากเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องในลูกหนี้ หรือค่าเช่ารับ
“ค่าใช้จ่าย” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายตามงบกําไรขาดทุน ซึ่งรวมถึง ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเช่าจ่าย ต้นทุนในการดําเนินงาน หรือเงินสํารองค่าเผื่อหนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญตามที่กฎหมายกําหนด
หมวด ๑ การจัดสรรกระแสรายรับตามโครงการ
แปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ ๓ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล รายงานการจัดสรรกระแสรายรับต่อสํานักงานภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี
ข้อ ๔ การจัดสรรกระแสรายรับของนิติบุคคลเฉพาะกิจจะต้องไม่ต่ํากว่าร้อยละ 70 ของรายได้เฉลี่ยตลอดอายุโครงการ และต้องไม่ต่ํากว่าร้อยละ 60 ของรายได้ในแต่ละปีบัญชี
ข้อ ๕ ในกรณีมีเหตุจําเป็นทําให้นิติบุคคลเฉพาะกิจไม่สามารถจัดสรรกระแสรายรับในแต่ละปีบัญชี ให้เป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในข้อ 4 ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจยื่นขอผ่อนผันอัตราการจัดสรรกระแสรายรับต่อสํานักงานก่อนวันครบกําหนดเวลาที่ต้องรายงานการจัดสรรกระแสรายรับตามข้อ 3 โดยต้องแสดงเหตุผลและความจําเป็นในการขอผ่อนผัน และในกรณีที่สํานักงานเห็นว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร สํานักงานอาจผ่อนผันอัตราการจัดสรรกระแสรายรับดังกล่าว โดยอาจกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ได้รับการผ่อนผันต้องปฏิบัติด้วยก็ได้
หมวด ๒ รายงานการโอนสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือ
ภายหลังการสิ้นสุดสถานะของนิติบุคคลเฉพาะกิจ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ ๖ ภายหลังการสิ้นสุดสถานะของนิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้บุคคลดังกล่าวรายงานการโอนสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือให้แก่ผู้เสนอโครงการต่อสํานักงานภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นสุดสถานะของนิติบุคคลเฉพาะกิจ โดยแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) วันสิ้นสุดสถานะของนิติบุคคลเฉพาะกิจ
(2) วันที่โอนสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือให้แก่ผู้เสนอโครงการ
(3) รายละเอียดของสินทรัพย์และผลประโยชน์ที่โอน โดยระบุมูลค่าทางบัญชีของสินทรัพย์ จํานวนลูกหนี้ และมูลค่าทางบัญชีของผลประโยชน์
ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่ง ไม่อาจโอนสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือให้แก่ผู้เสนอโครงการภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้เพิ่มรายละเอียดดังนี้ไว้ในรายงานด้วย
(1) รายละเอียดของสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือที่ยังไม่ได้โอน โดยระบุมูลค่าทางบัญชีของสินทรัพย์ จํานวนลูกหนี้ และมูลค่าทางบัญชีของผลประโยชน์
(2) เหตุผลและความจําเป็นที่ทําให้ไม่สามารถโอนสินทรัพย์และผลประโยชน์ดังกล่าว
ให้แก่ผู้เสนอโครงการได้
(3) แผนการดําเนินการกับสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือที่ยังไม่ได้โอนให้แก่ผู้เสนอโครงการ และระยะเวลาที่คาดว่าจะโอนได้ทั้งหมด
รายงานตามข้อนี้ ให้ยื่นต่อกรมสรรพากรภายในกําหนดเวลาเดียวกันด้วย
ข้อ ๗ ในกรณีมีเหตุจําเป็นทําให้บุคคลตามข้อ 6 ไม่สามารถโอนสินทรัพย์และ
ผลประโยชน์คงเหลือให้แก่ผู้เสนอโครงการภายในกําหนดเวลา ให้บุคคลนั้นยื่นคําขอผ่อนผันกําหนด
เวลาการโอนดังกล่าวต่อสํานักงานก่อนวันครบกําหนด โดยต้องแสดงให้ชัดเจนถึงเหตุผลและความจําเป็น
ในการขอผ่อนผัน แผนการดําเนินการกับสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือที่ยังไม่ได้โอนให้แก่ผู้เสนอโครงการ รวมทั้งระยะเวลาที่คาดว่าจะโอนได้ทั้งหมด และในกรณีที่สํานักงานเห็นว่ามีเหตุอันจําเป็นและสมควร สํานักงานอาจผ่อนผันกําหนดเวลาการโอนดังกล่าวโดยอาจกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ได้รับการผ่อนผัน
ต้องปฏิบัติด้วยก็ได้
ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,030 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 20/2565 เรื่อง วันหยุดทำการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจำปี พ.ศ. 2566 | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 20/2565
เรื่อง วันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจ
สัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจําปี พ.ศ. 2566
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 110 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และข้อ 2 วรรคหนึ่ง แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 88/2552 เรื่อง การเปิดทําการและหยุดทําการของผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 สํานักงาน
ออกประกาศกําหนดวันหยุดทําการของบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประจําปี
พ.ศ. 2566 ไว้ดังต่อไปนี้
1. วันจันทร์ 2 มกราคม วันหยุดชดเชยวันสิ้นปีและวันขึ้นปีใหม่
(วันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565 และ
วันอาทิตย์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566)
2. วันจันทร์ 6 มีนาคม วันมาฆบูชา
3. วันพฤหัสบดี 6 เมษายน วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช และวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์
4. วันพฤหัสบดี 13 เมษายน วันสงกรานต์
5. วันศุกร์ 14 เมษายน วันสงกรานต์
6. วันจันทร์ 1 พฤษภาคม วันแรงงานแห่งชาติ
7. วันพฤหัสบดี 4 พฤษภาคม วันฉัตรมงคล
8. วันจันทร์ 5 มิถุนายน วันหยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษา
สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ
พระบรมราชินี และวันวิสาขบูชา
(วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2566)
9. วันศุกร์ 28 กรกฎาคม วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
10. วันอังคาร 1 สิงหาคม วันอาสาฬหบูชา
11. วันจันทร์ 14 สิงหาคม วันหยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษา
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และวันแม่แห่งชาติ
(วันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2566)
12. วันศุกร์ 13 ตุลาคม วันคล้ายวันสวรรคต
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
13. วันจันทร์ 23 ตุลาคม วันปิยมหาราช
14. วันอังคาร 5 ธันวาคม วันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ
15. วันจันทร์ 11 ธันวาคม วันหยุดชดเชยวันรัฐธรรมนูญ
(วันอาทิตย์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2566)
สําหรับบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าทุกแห่งในจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา ให้หยุดในวันตรุษอีดิ้ลฟิตรี (วันรายอปอซอ)
วันตรุษอีดิ้ลอัฎฮา (วันรายอฮัจยี) ตามประกาศสํานักจุฬาราชมนตรี และวันตรุษจีน เป็นการเพิ่มเติม หากวันตรุษ
ดังกล่าวไม่ตรงกับวันหยุดตามที่กล่าวข้างต้น หรือวันหยุดประจําสัปดาห์
ประกาศ ณ วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,031 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 22/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขายสำหรับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล | -ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 22/2565
เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขายสําหรับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในข้อ 3(1) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ประกอบกับข้อ 9(10) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 29/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล(ฉบับที่ 7) ลงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563 และข้อ 34/6 และข้อ 34/8 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 17) ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2565 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ในประกาศนี้
“ประกาศว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561และที่แก้ไขเพิ่มเติม
“ผู้ลงทุน” หมายความว่า ลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล และให้หมายความรวมถึง ผู้ที่สนใจจะใช้บริการหรือลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลด้วย
ข้อ 2 ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจัดให้มีระบบงานและกระบวนการภายในเพื่อจัดทํา อนุมัติ และควบคุมดูแลการโฆษณาให้เป็นไปตามข้อกําหนดเกี่ยวกับการโฆษณาตามประกาศว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลและประกาศฉบับนี้ ตลอดจนแนวทาง คําสั่ง และหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศดังกล่าว
ข้อ 3 ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลนําเสนอข้อมูลประกอบการโฆษณาไม่ว่าโดยทางข้อความ ภาพ เสียง เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ใด ๆ และไม่ว่าจะกระทําผ่านสื่อหรือเครื่องมือใด ๆ ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) การโฆษณาเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลต้องมีการนําเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจลงทุนอย่างครบถ้วน โดยอย่างน้อยต้องแสดงข้อมูลดังนี้
(ก) มีการแสดงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของสินทรัพย์ดิจิทัล
(ข) หากมีการแสดงข้อมูลด้านบวกหรือโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนต้องมีการแสดงข้อมูลด้านลบหรือความเสี่ยงจากการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลควบคู่กัน
(ค) มีการตรวจสอบความถูกต้องของถ้อยคํา เพื่อมิให้มีถ้อยคําที่ไม่ถูกต้องหรือที่มีความหมายคลุมเครือในโฆษณา
(2) การนําเสนอข้อมูลประกอบการโฆษณา ต้องไม่มีลักษณะดังนี้
(ก) ทําให้เข้าใจว่าสินทรัพย์ดิจิทัลมีความเสี่ยงต่ํากว่าความเป็นจริงหรือไม่มีความเสี่ยงจากการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล
(ข) แสดงผลตอบแทนจากการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลสูงเกินจริง
(ค) ทําให้สําคัญผิดเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล เช่น ประเภท ผลตอบแทน หรือความเสี่ยง เป็นต้น
(ง) ใช้คําศัพท์เทคนิคหรือคําศัพท์เฉพาะ เว้นแต่คําศัพท์ดังกล่าวเป็นคําศัพท์ที่ผู้ลงทุนทั่วไปมีความคุ้นเคยแล้ว
(จ) ใช้ภาษาที่ยากต่อการเข้าใจ ใช้ประโยคที่ซับซ้อน หรือใช้ข้อความที่ทําให้สามารถแปลความหมายได้หลายทาง
(ฉ) ใช้รูปแบบการนําเสนอที่ยากต่อการเข้าใจ หรือทําให้เข้าใจเกินความเป็นจริง
(ช) ใช้ภาพ เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ประกอบการโฆษณาขัดแย้งกับข้อความ
ที่ปรากฏในโฆษณา
(ซ) ใช้ภาพ เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ขนาดใหญ่จนลดความสําคัญของข้อความหรือคําเตือนในโฆษณาลง
(3) ในกรณีที่การโฆษณามีการนําเสนอข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลพื้นฐานสําหรับใช้ในการตัดสินใจลงทุน ต้องมีคําอธิบายประกอบข้อมูลดังกล่าวอย่างชัดเจน
ข้อ 4 การโฆษณาข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขที่แสดงถึงผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีต หรือผลการดําเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีต ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจัดให้การโฆษณาข้อมูลดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) ให้จัดทําในรูปแบบที่ผู้ลงทุนสามารถมองเห็นได้ ไม่ว่าจะกระทําผ่านสื่อหรือเครื่องมือใด ๆ ทั้งนี้ ต้องไม่มีลักษณะที่โดดเด่นเกินกว่าข้อมูลส่วนอื่นในโฆษณา
(2) ต้องจัดให้มีช่องทางการศึกษาข้อมูลผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีตหรือผลการดําเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีตแก่ผู้ลงทุน
(3) ต้องจัดให้มีคําเตือนดังนี้
(ก) ในกรณีที่เป็นข้อมูลเกี่ยวกับผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีต ต้องจัดให้มีการระบุคําเตือนว่า “ผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีต มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลในอนาคต”
(ข) ในกรณีที่เป็นข้อมูลเกี่ยวกับผลการดําเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีต ต้องจัดให้มีคําเตือนที่ระบุว่า “ผลการดําเนินงานในอดีต มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดําเนินงานในอนาคต”
(ค) ในกรณีที่เป็นข้อมูลเกี่ยวกับผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีตและผลการดําเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีต ต้องจัดให้มีคําเตือนที่ระบุว่า “ผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลในอดีต หรือผลการดําเนินงานในอดีต มิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลตอบแทนของสินทรัพย์ดิจิทัลหรือผลการดําเนินงานในอนาคต”
ข้อ 5 การโฆษณาข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนผู้ลงทุนที่ใช้บริการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลโฆษณาได้เฉพาะจํานวนผู้ลงทุนที่ได้รับการอนุมัติให้เปิดบัญชีหรือให้ใช้บริการ และผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลได้รวบรวมและประเมินข้อมูลของผู้ลงทุนตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด 6 การรวบรวมและประเมินข้อมูลของลูกค้า แห่งประกาศว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ซึ่งผู้ลงทุนสามารถเริ่มใช้บริการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลได้แล้วเท่านั้น
ข้อ 6 การสื่อสารคําเตือนประกอบการโฆษณาผ่านสื่อหรือเครื่องมือใด ๆให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้โดยครบถ้วน
(1) รูปแบบการนําเสนอคําเตือนต้องมีความคมชัดและสังเกตได้ง่าย โดยให้พิจารณาเลือกใช้โทนสีที่มีความแตกต่างจากสีพื้นโฆษณาหรือใช้ตัวอักษรหนาขึ้น และขนาดข้อความที่เป็นคําเตือนต้องไม่ต่ํากว่าร้อยละ 20 ของพื้นที่โฆษณาทั้งหมด
(2) จัดให้มีข้อความที่เป็นคําเตือนตลอดเวลาที่ทําการโฆษณา
(3) ข้อความที่เป็นคําเตือนต้องเป็นภาษาเดียวกับภาษาหลักที่ใช้ในการโฆษณา และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้
(ก) สําหรับการโฆษณาเกี่ยวกับคริปโทเคอร์เรนซี ให้มีข้อความที่เป็นคําเตือนภาษาใดภาษาหนึ่งดังนี้
1. กรณีภาษาหลักคือภาษาไทย ให้มีข้อความว่า “คริปโทเคอร์เรนซีมีความเสี่ยงสูง ท่านอาจสูญเสียเงินลงทุนได้ทั้งจํานวน”
2. กรณีภาษาหลักคือภาษาอังกฤษ ให้มีข้อความว่า “Cryptocurrency is highly risky; investors may lose all investment money.”
(ข) สําหรับการโฆษณาเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล ที่มีการโฆษณาเกี่ยวกับคริปโทเคอร์เรนซีด้วย ให้มีข้อความที่เป็นคําเตือนภาษาใดภาษาหนึ่งดังนี้
1. กรณีภาษาหลักคือภาษาไทย ให้มีข้อความว่า “คริปโทเคอร์เรนซี และโทเคนดิจิทัลมีความเสี่ยงสูง ท่านอาจสูญเสียเงินลงทุนได้ทั้งจํานวน โปรดศึกษาและลงทุนให้เหมาะสมกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้”
2. กรณีภาษาหลักคือภาษาอังกฤษ ให้มีข้อความว่า “Cryptocurrency and digital token involve high risks; investors may lose all investment money and should study information carefully and make investments according to own risk profile.”
(ค) สําหรับการโฆษณาเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล ที่ไม่ใช่กรณีตาม (ก) และ (ข)ให้มีข้อความที่เป็นคําเตือนภาษาใดภาษาหนึ่งดังนี้
1. กรณีภาษาหลักคือภาษาไทย ให้มีข้อความว่า “สินทรัพย์ดิจิทัลมีความเสี่ยง โปรดศึกษาและลงทุนให้เหมาะสมกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้”
2. กรณีภาษาหลักคือภาษาอังกฤษ ให้มีข้อความว่า “Digital assets involve risks; investors should study information carefully and make investments according to own risk profile.”
กรณีภาษาหลักคือภาษาอื่นนอกเหนือจากภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจัดให้มีข้อความในภาษาดังกล่าวที่มีความหมายเดียวกันหรือใกล้เคียงกับข้อความตาม (ก) (ข) หรือ (ค) แล้วแต่กรณี
(4) กรณีการโฆษณาที่มีการแสดงภาพและเสียง ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้ช่วงหนึ่งของการโฆษณามีการนําเสนอคําเตือนด้วยวิธีการอ่านออกเสียง ซึ่งต้องอยู่ในวิสัยที่ผู้ฟังสามารถจับใจความของถ้อยคําได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องจัดให้มีการอ่านออกเสียงด้วยความเร็วปกติ
ในกรณีที่เป็นการโฆษณาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (social media post) ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีคําเตือนบริเวณคําบรรยายใต้ภาพหรือภาพเคลื่อนไหว (caption) หรือคําบรรยายประกอบการโฆษณาเพิ่มเติม โดยต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่ง (2) และ (3) ด้วย
ข้อ 7 ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลมีการเผยแพร่การโฆษณาอยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ให้ดําเนินการปรับปรุงหรือแก้ไขการโฆษณาดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กําหนดในประกาศนี้ภายในโอกาสแรกที่สามารถทําได้ ทั้งนี้ ไม่เกิน 30 วันนับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
ข้อ 8 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,032 |
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 52) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการโอนโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนที่ออกเสนอขายต่อประชาชน | ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
(ฉบับที่ 52)
เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม
สําหรับการโอนโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนที่ออกเสนอขายต่อประชาชน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 779) พ.ศ. 2566 อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม สําหรับการโอนโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนที่ออกเสนอขายต่อประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม สําหรับเงินได้หรือมูลค่าของฐานภาษี อันเนื่องมาจากการโอนโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนที่ออกเสนอขายต่อประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ต้องดําเนินการ ดังนี้
(1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องไม่เปลี่ยนแปลงการจัดประเภทรายการทางบัญชีหรือวิธีการทางบัญชีที่ได้เลือกใช้ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนที่ได้ออกเสนอขายดังกล่าว
(2) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดประเภทรายการทางบัญชีสําหรับเงินได้ที่ได้จากการออกเสนอขายโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนดังกล่าวเป็นทุน หากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้ซื้อโทเคนดิจิทัลนั้นคืนจากหรือได้จ่ายเงินส่วนแบ่งของกําไรหรือผลประโยชน์อื่นใดในลักษณะเดียวกันให้แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน จะต้องไม่นําส่วนที่ได้จ่ายเพื่อซื้อคืนหรือเงินส่วนแบ่งกําไรหรือผลประโยชน์อื่นใดในลักษณะเดียวกันนั้นมารวมเป็นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
(3)กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดประเภทรายการทางบัญชีสําหรับเงินได้ที่ได้จากการออกเสนอขายโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนดังกล่าวเป็นหนี้สิน หากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้ไถ่ถอนโทเคนดิจิทัลนั้นจากผู้ถือโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน จะต้องไม่นําส่วนที่จ่ายเพื่อการไถ่ถอนดังกล่าวมารวมเป็นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
(4) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลไม่ได้นําเงินได้ที่ได้จากการออกเสนอขายโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนดังกล่าวมาใช้ในการดําเนินโครงการหรือกิจการตามที่กําหนดไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหรือหนังสือชี้ชวน หรือถูกเพิกถอนการอนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องนําเงินได้ที่ได้รับจากการออกเสนอขายโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนนั้นหลังจากหักส่วนที่ได้จ่ายคืนแก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนดังกล่าวแล้วมารวมคํานวณเป็นรายได้ในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีถัดจากรอบระยะเวลาบัญชีที่ไม่ได้ดําเนินโครงการหรือกิจการตามที่กําหนดไว้หรือในรอบระยะเวลาบัญชีถัดจากรอบระยะเวลาบัญชีที่ถูกเพิกถอนการอนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลนั้น แล้วแต่กรณี
(5)บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องเก็บรักษาหนังสืออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชนที่ออกโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แบบคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน และเอกสารอื่นใดที่เกี่ยวกับการออกเสนอขายโทเคนดิจิทัลดังกล่าว รวมทั้งข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัลนั้น พร้อมให้เจ้าพนักงานตรวจสอบได้
ข้อ ๒ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามข้อ 1 ให้สิทธิในการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 779) พ.ศ. 2566 สิ้นสุดลงนับแต่วันที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้ใช้สิทธิประโยชน์นั้น
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2566
กุลยา ตันติเตมิท
(นางสาวกุลยา ตันติเตมิท)
อธิบดีกรมบัญชีกลาง รักษาราชการแทน
อธิบดีกรมสรรพากร | 11,033 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 38/2565 เรื่อง ข้อกำหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 38/2565
เรื่อง ข้อกําหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดให้มี
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในข้อ 3(1) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 16/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการให้ความเห็นชอบผู้ให้บริการ
ระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ประกอบกับข้อ 6(7) (ง) (ฉ) และ (ช)
แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 16/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์
เงื่อนไขและวิธีการให้ความเห็นชอบผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 7/2563
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการให้ความเห็นชอบผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ฉบับที่ 4)
ลงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2563 ข้อ 3(1) ประกอบกับข้อ 9(4) และ (8) ข้อ 11 ข้อ 17 ข้อ 18 และข้อ 19
แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข
และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ข้อ 5(1) ประกอบกับข้อ 12 วรรคหนึ่ง (6) (11) และ (12) และข้อ 14 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556
เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 ข้อ 4(1) ประกอบกับ
ข้อ 26 และข้อ 32 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 30/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการประกอบการเป็นศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ข้อ 5(1) ประกอบกับ
ข้อ 21 ข้อ 27 วรรคหนึ่ง ข้อ 37 และข้อ 43 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 31/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการประกอบการเป็นสํานักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ข้อ 5(1) ประกอบกับข้อ 11 ข้อ 17 วรรคหนึ่ง และข้อ 33 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 32/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการประกอบการเป็นสํานักหักบัญชีหลักทรัพย์และ
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 และข้อ 5(1) ประกอบกับข้อ 31(1) และ (4) วรรคหนึ่ง (ง) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2562 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ผ่านระบบคราวด์ฟันดิง ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2562 และข้อ 31(4/1) แห่งประกาศคณะกรรมการ
กํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21/2562 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ผ่านระบบคราวด์ฟันดิง
ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2562 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 14/2563
เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ผ่านระบบคราวด์ฟันดิง (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 37/2559 เรื่อง ข้อกําหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2559
ข้อ 2 ในประกาศนี้
“ผู้ประกอบธุรกิจ” หมายความว่า
(1) ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ประเภทดังต่อไปนี้
(ก) การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
(ข) การค้าหลักทรัพย์
(ค) การจัดจําหน่ายหลักทรัพย์
(ง) การเป็นที่ปรึกษาการลงทุนที่มีการวางแผนการลงทุนให้แก่ลูกค้า หรือใช้โปรแกรมสําเร็จรูปประกอบการให้บริการแก่ลูกค้า
(จ) การจัดการกองทุนรวม แต่ไม่รวมถึงการจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนซึ่งเป็นคนต่างด้าว
(ฉ) การจัดการกองทุนส่วนบุคคล
(ช) กิจการการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์
(ซ) การให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์
(ฌ) การเป็นตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
(ญ) การเป็นที่ปรึกษาสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่มีการวางแผนการลงทุนให้แก่ลูกค้า หรือใช้โปรแกรมสําเร็จรูปประกอบการให้บริการแก่ลูกค้า
(ฎ) การเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
(2) ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
(3) สํานักหักบัญชีหลักทรัพย์
(4) ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
(5) ศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
(6) สํานักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
(7) ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล
(8) ผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง
“เทคโนโลยีสารสนเทศ” (information technology : IT) หมายความว่า เทคโนโลยีสารสนเทศที่นํามาใช้ในการดําเนินธุรกิจ ซึ่งครอบคลุมถึงข้อมูลหรือสารสนเทศ (data/information) ระบบปฏิบัติการ (operating system) ระบบงาน (application system) ระบบฐานข้อมูล (database system) ฮาร์ดแวร์ (hardware) และระบบเครือข่ายสื่อสาร (communication system) เป็นต้น
“ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ” (information technology risk) หมายความว่า ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยรวมถึงความเสี่ยงที่เกิดจากภัยคุกคามทาง
ไซเบอร์ ซึ่งส่งผลอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
(1) ผลกระทบต่อระบบงานหรือการปฏิบัติงานของผู้ประกอบธุรกิจ
(2) ผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและความเสี่ยงของข้อมูล
(3) ผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของตลาดทุน
“ความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ” (information technology security) หมายความว่า การธํารงไว้ซึ่งความลับ (confidentiality) ความถูกต้องครบถ้วน (integrity) สภาพพร้อมใช้งาน (availability) ของสารสนเทศ รวมทั้งคุณสมบัติอื่น ได้แก่ ความถูกต้องแท้จริง (authenticity) ความรับผิด (accountability) การห้ามปฏิเสธความรับผิด (non-repudiation) และความน่าเชื่อถือ (reliability)
ข้อ 3 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศนี้ ให้ใช้คําศัพท์
ตามภาคผนวก 1 คําศัพท์ แนบท้ายประกาศนี้ ประกอบการพิจารณาการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวด้วย
ข้อ 4 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศนี้ ให้ผู้ประกอบธุรกิจประเมินระดับความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งส่งผลต่อการดําเนินธุรกิจของผู้ประกอบธุรกิจ ตามแบบ RLA (Risk Level Assessment) และจัดส่งผลการประเมินดังกล่าวต่อสํานักงาน ภายใน
ไตรมาสที่ 4 ของทุกปี ทั้งนี้ ตามแบบและวิธีการที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน
ผลการประเมินระดับความเสี่ยงตามวรรคหนึ่ง ต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการ
หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจให้รับผิดชอบในเรื่องดังกล่าว
ข้อ 5 เว้นแต่จะมีการกําหนดไว้แล้วเป็นการเฉพาะในประกาศอื่น ในการดําเนินการ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) กํากับดูแลและบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ดําเนินการตามรายละเอียดในภาคผนวก 2 การกํากับดูแลและบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Governance)
(2) รักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ดําเนินการตามรายละเอียดในภาคผนวก 3 การรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Security)
(3) ตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้ดําเนินการตามรายละเอียด
ในภาคผนวก 4 การตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Audit)
คําว่า “ประกาศอื่น” ตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการ
กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งออกโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายว่าด้วย
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือกฎหมายว่าด้วย
การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
ข้อ 6 ในการประเมินระดับความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศตามที่กําหนดในข้อ 4 สําหรับปี พ.ศ. 2566 ให้ผู้ประกอบธุรกิจดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) ประเมินและจัดส่งผลการประเมินครั้งที่ 1 ต่อสํานักงาน ภายในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2566
(2) ประเมินและจัดส่งผลการประเมินครั้งที่ 2 ต่อสํานักงาน ภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ข้อ 7 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,034 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 39/2565 เรื่อง การรายงานข้อมูลผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมของผู้ประกอบธุรกิจที่ให้บริการซื้อขายหน่วยลงทุนแบบไม่เปิดเผยชื่อลูกค้า (omnibus account) | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 39/2565
เรื่อง การรายงานข้อมูลผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม
ของผู้ประกอบธุรกิจที่ให้บริการซื้อขายหน่วยลงทุน
แบบไม่เปิดเผยชื่อลูกค้า (omnibus account)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในข้อ 1(3) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 59/2552 เรื่อง หลักเกณฑ์และกําหนดเวลาในการยื่นรายงานของบริษัทหลักทรัพย์ ลงวันที่
3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ในประกาศนี้
“ผู้ประกอบธุรกิจ” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภท ดังต่อไปนี้ ที่ให้บริการซื้อขายหน่วยลงทุนแบบไม่เปิดเผยชื่อลูกค้า (omnibus account)
(1) การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
(2) การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นหน่วยลงทุน
ข้อ 2 ให้ผู้ประกอบธุรกิจจัดทําและจัดส่งรายงานข้อมูลผู้ถือหน่วยลงทุน
ของแต่ละกองทุนรวม เฉพาะในส่วนที่เป็นการให้บริการซื้อขายหน่วยลงทุนแบบไม่เปิดเผยชื่อลูกค้า
ต่อสํานักงานเป็นรายไตรมาสภายใน 20 วันนับแต่วันสิ้นรอบไตรมาส
รายงานตามวรรคหนึ่ง ต้องประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้
(1) เลขทะเบียนและชื่อย่อของกองทุนรวม
(2) ประเภทของผู้ถือหน่วยลงทุน
(3) จํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละราย
(4) เลขที่บัตรประจําตัวประชาชนหรือเลขที่หนังสือเดินทาง เฉพาะ 5 หลักสุดท้าย
รวมทั้งเดือนและปีที่เกิดของผู้ถือหน่วยลงทุนที่เป็นบุคคลธรรมดา
(5) เลขทะเบียนและชื่อของผู้ถือหน่วยลงทุนที่เป็นนิติบุคคล
(6) รหัสไปรษณีย์ตามภูมิลําเนาของผู้ถือหน่วยลงทุนที่เป็นบุคคลธรรมดา
ซึ่งมีสัญชาติไทย
(7) ผลการประเมินความเหมาะสมในการลงทุนหรือการทําธุรกรรมในผลิตภัณฑ์
ในตลาดทุน รวมทั้งเดือนและปีที่ประเมินล่าสุด
ให้ผู้ประกอบธุรกิจจัดส่งรายงานตามวรรคหนึ่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สํานักงานจัดไว้ โดยให้เริ่มจัดส่งสําหรับข้อมูลของรอบไตรมาสที่ 1 ของปี พ.ศ. 2566
ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,035 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 40/2565 เรื่อง การยกเลิกประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับการประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์ | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 40/2565
เรื่อง การยกเลิกประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับการประกอบกิจการอื่น
ของบริษัทหลักทรัพย์
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
โดยที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนได้ออกประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน
ที่ ทธ. 24/2565 เรื่อง การประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์ในกรณีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์
โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน และการให้คําปรึกษาหรือการให้บริการงานสนับสนุนแก่บริษัทอื่น
ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565 เพื่ออนุญาตการประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์
แทนการอนุญาตตามมติเดิมของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ในการประชุมครั้งที่ 11/2556
เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 นั้น
สํานักงานจึงขอยกเลิกประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 44/2556 เรื่อง การประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์ ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 45/2556
เรื่อง การประกอบกิจการอื่นของบริษัทหลักทรัพย์ ลงวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ประกาศ ณ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,036 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
[จำนวน ๔ ราย ๑. นายเกษม คมสัตย์ธรรม ฯลฯ] ลงวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหน่ง ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จํานวน ๔ ราย ดังนี้
๑. นายเกษม คมสัตย์ธรรม
๒. นายชาญชัย แสวงศักดิ์
๓. นายปรีชา ชวลิตธํารง
๔. นายวิชัย ชื่นชมพูนุท
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
[[๑]](#_ftnref1)ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๑/ตอนที่ ๘๘ ง/หน้า ๔๗/๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ | 11,037 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
[จำนวน ๕ ราย ๑. นายธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์ ฯลฯ] ลงวันที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด[1](#fn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ให้ดํารงตําแหน่งต่างๆ จํานวน ๕ ราย ดังนี้
๑. นายธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง รองประธานศาลปกครองสูงสุด คนที่ ๒
๒. นายจรัญ หัตถกรรม ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
๓. นายดําริ วัฒนสิงหะ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
๔. นายพีระพล เชาวน์ศิริ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
๕. นายอําพล สิงหโกวินท์ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๗
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
วิษณุ เครืองาม
รองนายกรัฐมนตรี
---
1. | 11,038 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด [จำนวน ๔ ราย
๑. นายวิษณุ วรัญญู ฯลฯ] ลงวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ที่ประชุมได้ลงมติให้ความเห็นชอบให้ นายวิษณุ วรัญญู นายนพดล เฮงเจริญ นายวรวิทย์ กังศศิเทียม และนายวราวุธ ศิริยุทธ์วัฒนา ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด และได้นําความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งต่อไปแล้ว
บัดนี้ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด จํานวน ๔ ราย ดังนี้
๑. นายวิษณุ วรัญญู เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๒. นายนพดล เฮงเจริญ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๓. นายวรวิทย์ กังศศิเทียม เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๔. นายวราวุธ ศิริยุทธ์วัฒนา เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
สมัคร สุนทรเวช
นายกรัฐมนตรี
[๑]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125/ตอนพิเศษ 114ง/หน้า 10/8 กรกฎาคม 2551 | 11,039 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
[นายหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล] ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด[[1]](#_ftn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง นายหัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ให้ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑
ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
นายกรัฐมนตรี
[1]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125/ตอนพิเศษ 190ง/หน้า 24/17 ธันวาคม 2551 | 11,040 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด [จำนวน ๔ ราย
๑. นายพีระพล เชาวน์ศิริ ฯลฯ] ลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ให้ดํารงตําแหน่งต่างๆ จํานวน ๔ ราย ดังนี้
๑. นายพีระพล เชาวน์ศิริ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง รองประธานศาลปกครองสูงสุด คนที่ ๒
๒. นายเกษม คมสัตย์ธรรม ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
๓. นายปรีชา ชวลิตธํารง ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
๔. นายวิชัย ชื่นชมพูนุท ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี
[๑]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126/ตอนพิเศษ 162ง/หน้า 31/5 พฤศจิกายน 2552 | 11,041 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด [จำนวน ๖ ราย
๑. นายสุเมธ รอยกุลเจริญ ฯลฯ] ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา เมื่อวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ ที่ประชุมได้ลงมติให้ความเห็นชอบบุคคล จํานวน ๖ ราย ซึ่งคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองพิจารณาคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด และได้นําความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งต่อไปแล้ว
บัดนี้ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุดจํานวน ๖ ราย ดังนี้
๑. นายสุเมธ รอยกุลเจริญ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๒. นายสมชาย งามวงศ์ชน เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๓. นายประสิทธิ์ศักดิ์ มีลาภ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๔. นายสุชาติ มงคลเลิศลพ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๕. นายมนูญ ปุญญกริยากร เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๖. นายพรชัย มนัสศิริเพ็ญ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี
[๑]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 126/ตอนพิเศษ 163 ง/หน้า 23/9 พฤศจิกายน 2552 | 11,042 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด [จำนวน ๕ ราย
๑. นายเกษม คมสัตย์ธรรม ฯลฯ] ลงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ให้ดํารงตําแหน่งต่าง ๆ จํานวน ๕ ราย ดังนี้
๑. นายเกษม คมสัตย์ธรรม ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่งรองประธานศาลปกครองสูงสุด คนที่ ๑
๒. นายวิชัย ชื่นชมพูนุท ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่งรองประธานศาลปกครองสูงสุด คนที่ ๒
๓. นายชาญชัย แสวงศักดิ์ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
๔. นายไพบูลย์ เสียงก้อง ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
๕. นายวรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี
[๑]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนพิเศษ ๑๑๖ง/หน้า ๖/๔ ตุลาคม ๒๕๕๓ | 11,043 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด [จำนวน ๒ ราย
๑. นายสมรรถชัย วิศาลาภรณ์ ฯลฯ] ลงวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ ที่ประชุมได้ลงมติให้ความเห็นชอบบุคคล จํานวน ๒ ราย ซึ่งคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองพิจารณาคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด และได้นําความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งต่อไปแล้ว
บัดนี้ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งบุคคลให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด จํานวน ๒ ราย ดังนี้
๑. นายสมรรถชัย วิศาลาภรณ์ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๒. นางมณีวรรณ พรหมน้อย เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
นายกรัฐมนตรี
[๑]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๗/ตอนพิเศษ ๑๓๔ง/หน้า ๒/๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ | 11,044 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด [จำนวน ๔ ราย
๑. นายประวิตร บุญเทียม ฯลฯ] ลงวันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
ด้วยในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๒๐ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ) เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๕ ที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด จํานวน ๔ ราย ดังนี้
๑. นายประวิตร บุญเทียม เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๒. นายสมชาย เอมโอช เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๓. นายสมชัย วัฒนการุณ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
๔. นายบรรจงศักดิ์ วงศ์ปราชญ์ เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด
และได้นําความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งต่อไปแล้ว
บัดนี้ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งบุคคลดังกล่าว ให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด ตามที่เสนอทุกราย
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
[[๑]](#_ftnref1)ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๙/ตอนพิเศษ ๘๘ ง/หน้า ๖ /๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ | 11,045 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด [จำนวน ๒ ราย
๑. นายชาญชัย แสวงศักดิ์ ฯลฯ] ลงวันที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ให้ดํารงตําแหน่งต่าง ๆ จํานวน ๒ ราย ดังนี้
๑. นายชาญชัย แสวงศักดิ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่งรองประธานศาลปกครองสูงสุด คนที่ ๒
๒. นายนพดล เฮงเจริญ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๒๓๓ ง/หน้า ๒/๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ | 11,046 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด
[นายวราวุธ ศิริยุทธ์วัฒนา] ลงวันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง นายวราวุธ ศิริยุทธ์วัฒนา ให้ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้า
คณะศาลปกครองสูงสุด ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132/ตอนพิเศษ 236 ง/หน้า 12/2 ตุลาคม 2558 | 11,047 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าแผนกคดีในศาลปกครองสูงสุด
[จำนวน ๓ ราย ๑. นายวรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ฯลฯ] ลงวันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าแผนกคดีในศาลปกครองสูงสุด[[๑]](#_ftn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ให้ดํารงตําแหน่งต่าง ๆจํานวน ๓ ราย ดังนี้
๑. นายวรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่งตุลาการหัวหน้าแผนกคดีบริหารงานบุคคลในศาลปกครองสูงสุด
๒. นายวิษณุ วรัญญู ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าแผนกคดีวินัยการคลังและการงบประมาณในศาลปกครองสูงสุด
๓. นายนพดล เฮงเจริญ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าแผนกคดีสิ่งแวดล้อมในศาลปกครองสูงสุด
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา
นายกรัฐมนตรี
[๑] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132/ตอนพิเศษ 345ง/หน้า 2/29 ธันวาคม 2558 | 11,048 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 43/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลของผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์ และการดำเนินการของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และนายทะเบียนหลักทรัพย์ที่เข้าร่วมโครงการทดสอบและพัฒนานวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการให้บริการในตลาดทุนโดยใช้ระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 43 /2565
เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการข้อมูล ของผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ และการดําเนินการของ
ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และนายทะเบียนหลักทรัพย์
ที่เข้าร่วมโครงการทดสอบและพัฒนานวัตกรรม
เพื่อสนับสนุนการให้บริการในตลาดทุน
โดยใช้ระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในข้อ 5(1) ประกอบกับข้อ 12 วรรคหนึ่ง (3) และ (12) และข้อ 14 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้าง การบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 ข้อ 11 วรรคหนึ่ง แห่งประกาศคณะกรรมการ กํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 71/2563 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 14) ลงวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2563 และข้อ 5(1) ประกอบกับข้อ 6(2) (ก) (ข) และ (จ) และข้อ 9(1) และ (2) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 37/2560 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการสําหรับสํานักหักบัญชีหลักทรัพย์ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และนายทะเบียนหลักทรัพย์ ตามโครงการทดสอบและพัฒนานวัตกรรม เพื่อสนับสนุนการให้บริการเกี่ยวกับตลาดทุน ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2560 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ข้อ ๒ ในประกาศนี้
“โครงการทดสอบ” หมายความว่า โครงการทดสอบและพัฒนานวัตกรรม เพื่อสนับสนุนการให้บริการในตลาดทุน โดยใช้ระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล (Digital Infrastructure Regulatory Sandbox)
“ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ และได้รับความเห็นชอบ ให้เข้าร่วมโครงการทดสอบตามประกาศนี้
“ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับความเห็นชอบการประกอบการเป็นศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยการขอรับความเห็นชอบการประกอบการเป็นสํานักหักบัญชีหลักทรัพย์ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ หรือการให้บริการเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ ตามโครงการทดสอบและพัฒนานวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการให้บริการเกี่ยวกับตลาดทุน และเข้าร่วมโครงการทดสอบตามประกาศนี้
“นายทะเบียนหลักทรัพย์” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับความเห็นชอบการให้บริการเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการขอรับความเห็นชอบการประกอบการเป็นสํานักหักบัญชีหลักทรัพย์ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ หรือการให้บริการเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ ตามโครงการทดสอบและพัฒนานวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการให้บริการเกี่ยวกับตลาดทุน และเข้าร่วมโครงการทดสอบตามประกาศนี้
“ระบบเว็บพอร์ทัล” (Web Portal) หมายความว่า ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกพัฒนาขึ้นภายใต้โครงการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล เพื่อให้บริการจัดการข้อมูลในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการทําธุรกรรมตราสารหนี้ในตลาดแรก เช่น การขออนุญาตออกและเสนอขาย การจองซื้อ การรายงานผลการขาย หรือการจัดทําทะเบียนหลักทรัพย์และการรับฝากหลักทรัพย์ในระบบไร้ใบหลักทรัพย์ (scripless) เป็นต้น
“ระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล” (Digital Infrastructure) หมายความว่า ระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลของตลาดทุนไทยภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการระบบโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลของตลาดทุนไทยระหว่างกองทุนส่งเสริมการพัฒนาตลาดทุนและสํานักงาน โดยเป็นระบบที่มีการเชื่อมต่อธุรกรรมระหว่างกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมในตลาดทุน
“ธุรกรรมในตลาดทุน” หมายความรวมถึง กระบวนการการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ การซื้อขายแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ การชําระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ การให้บริการรับฝากและถอนหลักทรัพย์ และการจัดทําทะเบียนหลักทรัพย์
“ชุดข้อมูลมาตรฐานการจัดสรรหลักทรัพย์” หมายความว่า ชุดข้อมูลมาตรฐานสําหรับการนําส่งข้อมูลผ่านระบบเว็บพอร์ทัล เพื่อประโยชน์ในการรวบรวมข้อมูลการจองซื้อหลักทรัพย์ ที่ได้รับการจัดสรรแล้วของผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์
ข้อ ๓ การจัดการข้อมูลของผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ และการดําเนินการของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และนายทะเบียนหลักทรัพย์ ตามโครงการทดสอบ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) การจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการของผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ให้เป็นไปตามหมวด 1
(2) การดําเนินการของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์และนายทะเบียนหลักทรัพย์ ให้เป็นไปตาม
หมวด 2
หมวด ๑ หมวด 1
การจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการ
ของผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ ๔ เพื่อให้ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ทุกรายที่อยู่ในกระบวนการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่เสนอขายในธุรกรรมเดียวกัน มีข้อมูลการจองซื้อหลักทรัพย์ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ให้ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดการข้อมูลดังกล่าวตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดเกี่ยวกับ การจัดการข้อมูลในหมวดนี้เพิ่มเติมจากหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการให้บริการสําหรับ ผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ข้อ ๕ ในการเข้าร่วมโครงการทดสอบ ให้ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการทดสอบ ยื่นคําขอรับความเห็นชอบต่อสํานักงาน พร้อมเอกสารหลักฐานประกอบคําขอที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน โดยผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติที่ครบถ้วนดังต่อไปนี้
(1) มีการประเมินความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการทดสอบ
(2) มีแผนการรายงานผลการทดสอบและความคืบหน้าในการทดสอบให้สํานักงานทราบอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาทดสอบ
(3) มีแผนรองรับการออกจากโครงการทดสอบ (exit strategy) ที่ชัดเจน
(4) มีแผนกําหนดขอบเขตการทดสอบในวงจํากัด เพื่อลดผลกระทบหรือความเสียหายอย่างมีนัยสําคัญต่อผู้ลงทุนหรือตลาดทุนในวงกว้าง
(5) มีการกําหนดระยะเวลาในการเข้าร่วมโครงการทดสอบ ทั้งนี้ ไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ได้รับความเห็นชอบ
ให้สํานักงานพิจารณาคําขอรับความเห็นชอบเข้าร่วมโครงการทดสอบตามวรรคหนึ่งภายใน 60 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําขอและเอกสารหลักฐานประกอบคําขอที่ถูกต้องครบถ้วน ตามคู่มือสําหรับประชาชน
ข้อ ๖ ในการจัดการข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการของผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ในโครงการทดสอบตามประกาศนี้ ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ต้องดําเนินการรวบรวมและนําส่งข้อมูล ที่ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ผ่านระบบเว็บพอร์ทัลอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ต้องจัดให้มีการปฏิบัติงานที่แยกการดําเนินการภายใต้โครงการทดสอบออกจากการดําเนินการอื่นอย่างชัดเจนด้วย
ในกรณีที่ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ไม่ดําเนินการตามที่กําหนดไว้ในวรรคหนึ่ง สํานักงาน อาจสั่งให้ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์นั้นแก้ไขให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่สํานักงานกําหนด
ข้อ ๗ สํานักงานอาจสั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ เมื่อมีเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งอันควรเชื่อได้ว่า
(1) ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามรายละเอียดที่แสดงไว้ในข้อ 5(1) (2) (3) หรือ (4) แล้วแต่กรณี หรือก่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสียหายอย่างมีนัยสําคัญต่อผู้ลงทุนหรือ ตลาดทุนในวงกว้าง
(2) ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ไม่ดําเนินการตามที่กําหนดในข้อ 6 วรรคหนึ่ง หรือไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของสํานักงานตามที่กําหนดในข้อ 6 วรรคสอง
ข้อ ๘ ข้อ 8 ให้การให้ความเห็นชอบเข้าร่วมโครงการทดสอบตามประกาศนี้ สิ้นสุดลงเมื่อ
(1) ครบกําหนดระยะเวลาการเข้าร่วมโครงการทดสอบตามข้อ 5(5) เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้ยุติการทดสอบก่อนครบกําหนดระยะเวลาหรือได้รับการผ่อนผันให้ขยายระยะเวลาการทดสอบออกไป โดยผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ได้ยื่นคําขอพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก่อนยุติการทดสอบหรือก่อนครบกําหนดระยะเวลาทดสอบไม่น้อยกว่า 30 วัน ทั้งนี้ ตามขั้นตอน และวิธีการที่ระบุไว้ในคู่มือสําหรับประชาชน
(2) สํานักงานสั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามข้อ 7
หมวด ๒ หมวด 2
การดําเนินการของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
และนายทะเบียนหลักทรัพย์
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ ๙ ให้นายทะเบียนหลักทรัพย์สอบทานชุดข้อมูลมาตรฐานการจัดสรรหลักทรัพย์ ที่ได้รับจากผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ทุกรายผ่านระบบเว็บพอร์ทัล รวบรวมข้อมูลรายชื่อผู้ได้รับจัดสรรหลักทรัพย์และบันทึกทะเบียนหลักทรัพย์ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงต่อความเป็นจริง โดยพิจารณา จากชุดข้อมูลมาตรฐานการจัดสรรหลักทรัพย์ตามที่ได้รับจากผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ผ่านระบบเว็บพอร์ทัล และให้นายทะเบียนหลักทรัพย์นําส่งชุดข้อมูลมาตรฐานการจัดสรรหลักทรัพย์ที่นายทะเบียนหลักทรัพย์ ได้สอบทานแล้วให้แก่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ผ่านระบบเว็บพอร์ทัลด้วย
ข้อ ๑๐ ในการรับฝากหลักทรัพย์ในระบบไร้ใบหลักทรัพย์ (scripless) ให้ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ดําเนินการโดยพิจารณาจากชุดข้อมูลมาตรฐานการจัดสรรหลักทรัพย์ที่ได้รับจากนายทะเบียนหลักทรัพย์ตามข้อ 9 และเมื่อดําเนินการตามกระบวนการรับฝากหลักทรัพย์แล้ว ให้ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์แจ้งยืนยันผลการรับฝากหลักทรัพย์ผ่านระบบเว็บพอร์ทัลด้วย
ข้อ ๑๑ ให้ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์จัดให้มีระบบงานที่สามารถบริหารความต่อเนื่อง ในการดําเนินธุรกิจ โดยให้นําความในข้อ 22 ข้อ 23 ข้อ 24 ข้อ 25 และข้อ 26 ในส่วนที่ 1 การบริหารความต่อเนื่องในการดําเนินธุรกิจ ของหมวด 6 การบริหารความต่อเนื่องในการดําเนินธุรกิจและความมั่นคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 32/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการประกอบการเป็นสํานักหักบัญชีหลักทรัพย์และศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๑๒ ให้นายทะเบียนหลักทรัพย์จัดให้มีมาตรการรองรับเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินที่อาจมีผลกระทบต่อการให้บริการเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ โดยให้นําความในข้อ 6 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทด. 95/2552 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้บริการเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ ลงวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
อื่นๆ ๑ ประกาศ ณ วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ผู้มีอํานาจลงนาม ๑ (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,049 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 44/2565 เรื่อง ข้อกำหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัลและกุญแจ | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 44/2565
เรื่อง ข้อกําหนดในรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัลและกุญแจ
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในข้อ 3(1) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ประกอบกับข้อ 9(6) (ค) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 34/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 19) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2565 สํานักงาน ก.ล.ต.ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป
ข้อ 2 ในประกาศนี้
“ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล และมีการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้า
“ระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล” หมายความว่า
(1) ระบบการบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล (wallet management)
(2) ระบบการบริหารจัดการกุญแจ (key management)
“นโยบาย” หมายความว่า นโยบายการกํากับดูแลและบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล
“ข้อมูลต้นกําเนิด” (seed) หมายความว่า ชุดตัวเลขที่ได้จากการประมวลค่าวลีช่วยจํา ที่ผ่านกระบวนการทางคอมพิวเตอร์ตามที่มาตรฐานกําหนด
“วลีช่วยจํา” (mnemonic phrase) หมายความว่า ชุดคํา (word lists) ที่ได้จากการประมวลค่าเอนโทรปีที่ผ่านกระบวนการทางคอมพิวเตอร์ โดยชุดคําจะเป็นไปตามที่มาตรฐานกําหนด
“เอนโทรปี” (entropy) หมายความว่า การใช้กระบวนการทางคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างชุดตัวเลขที่เป็นคําสุ่ม (randomness) ประกอบด้วย bit 0 หรือ bit 1 โดยมีความยาวเป็นไปตามที่มาตรฐานกําหนด เพื่อนําไปใช้ประกอบการสร้างกุญแจเข้ารหัส
ข้อ 3 ข้อกําหนดในรายละเอียดตามประกาศนี้ กําหนดขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลของลูกค้า ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในส่วนที่เกี่ยวกับระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพในเรื่องดังต่อไปนี้ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน
(1) นโยบายและวิธีปฏิบัติในการกํากับดูแลและบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล ให้เป็นไปตามหมวด 1
(2) การบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล ให้เป็นไปตามหมวด 2
(3) การบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล (incident management) ให้เป็นไปตามหมวด 3
หมวด 1นโยบายและวิธีปฏิบัติในการกํากับดูแลและบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ 4 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ นโยบายดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
(1) การบริหารจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลที่สอดคล้องกับนโยบายและการบริหารความเสี่ยงองค์กร (enterprise risk) ซึ่งครอบคลุมถึงการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง และการควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้
(2) การบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลตามข้อ 6
ข้อ 5 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีการกํากับดูแลและบริหารจัดการ
ระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายตามข้อ 4
(1) สื่อสารนโยบายให้แก่บุคลากรของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่เกี่ยวข้องอย่างทั่วถึงในลักษณะที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย เพื่อให้บุคลากรดังกล่าวเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวได้ถูกต้อง
(2) กําหนดขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย
(3) ทบทวนหรือปรับปรุงนโยบาย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และทบทวนโดยไม่ชักช้าเมื่อมีเหตุการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการกํากับดูแลและบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างมีนัยสําคัญ ทั้งนี้ ต้องปรับปรุงขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานตาม (2)ให้สอดคล้องกับนโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลงด้วย
(4) จัดให้มีการกํากับดูแลการปฏิบัติตามนโยบาย โดยหน่วยงานซึ่งเป็นอิสระจากการบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล และหน่วยงานดังกล่าวมีหน้าที่รายงานผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวให้คณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และในกรณีที่มีเหตุการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวอย่างมีนัยสําคัญ ต้องรายงานให้คณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลทราบโดยไม่ชักช้า
(5) จัดให้มีระบบควบคุมภายในสําหรับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายอย่างน้อยดังนี้
(ก) มีการตรวจสอบภายในและสอบทานการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นระบบ
(ข) มีการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และติดตามการปรับปรุงแก้ไขดังกล่าวอย่างเป็นระบบและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อทรัพย์สินลูกค้า
หมวด 2การบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ 6 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีนโยบายและกําหนดกระบวนการ
ในการบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล ในเรื่องของการออกแบบ พัฒนา และบริหารจัดการกระเป๋าสินทรัพย์ดิจิทัล อย่างเหมาะสมและมั่นคงปลอดภัย
ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลมีการสร้าง จัดเก็บ หรือเข้าถึงกุญแจ
ข้อมูลต้นกําเนิด หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจัดให้มีนโยบายและกําหนดกระบวนการในการบริหารจัดการระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลในเรื่องดังกล่าวด้วย
หมวด 3การบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
ข้อ 7 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องจัดให้มีการบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) กําหนดขั้นตอนและกระบวนการในการบริหารจัดการเหตุการณ์
(2) กําหนดผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์
(3) ทดสอบขั้นตอนและกระบวนการในการบริหารจัดการเหตุการณ์ตาม (1)อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(4) พิจารณาทบทวนขั้นตอนและกระบวนการในการบริหารจัดการเหตุการณ์หลังจากที่ได้มีการทดสอบตาม (3) แล้วอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(5) จัดให้มีการประเมินผลการทดสอบตาม (3) และประเมินผลการพิจารณาทบทวนตาม (4) โดยต้องรายงานผลต่อคณะกรรมการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การดําเนินการดังกล่าวต้องกระทําโดยบุคคลที่เป็นอิสระจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์ตาม (2)
(6) รายงานเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลต่อผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเหตุการณ์ตาม (2) และสํานักงาน ก.ล.ต.โดยไม่ชักช้า
(7) ในกรณีที่มีเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล ซึ่งกระทบต่อทรัพย์สินของลูกค้าอย่างมีนัยสําคัญ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องดําเนินการดังนี้
(ก) จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญภายนอกที่มีความเป็นอิสระ มีความชํานาญตามมาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับและน่าเชื่อถือ และได้รับการรับรองหรือได้รับประกาศนียบัตร (accreditations or certifications) ที่เป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรม ทําหน้าที่ตรวจสอบความมั่นคงปลอดภัยของระบบและพิสูจน์พยานหลักฐานทางดิจิทัล (digital forensic investigation) โดยไม่ชักช้า
(ข) จัดส่งรายงานที่จัดทําโดยผู้เชี่ยวชาญตาม (ก) ต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ตามหลักเกณฑ์ดังนี้
1. รายงานการตรวจสอบขั้นต้น (interim forensic investigation report) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ลงนามในสัญญาจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอก
2. รายงานการตรวจสอบฉบับสมบูรณ์ (final forensic investigation report) ภายใน 90 วันนับแต่วันที่ลงนามในสัญญาจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอก
ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรทําให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลไม่สามารถจัดส่งรายงานดังกล่าวภายในระยะเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง (ข) ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลยื่นขอขยายระยะเวลาการจัดส่งรายงาน พร้อมทั้งเหตุผลและเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ก่อนครบกําหนดระยะดังกล่าว
(8) จัดทําแผนการดําเนินการแก้ไขปัญหาที่พบตาม (7) และมาตรการในการป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาดังกล่าวซ้ํา รวมทั้งระยะเวลาในการดําเนินการตามแผนดังกล่าว โดยจัดส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 10 วันนับแต่วันที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลได้รับรายงานจากผู้เชี่ยวชาญตาม (7) วรรคหนึ่ง (ข) 2.
ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลดําเนินการตามแผนดังกล่าว และจัดส่งรายงานความคืบหน้าในการดําเนินการต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ทุกวันศุกร์จนกว่าผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลจะดําเนินการตามแผนแล้วเสร็จ
ในกรณีที่มีเหตุอันสมควรทําให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลไม่สามารถจัดส่งแผนการดําเนินการตามวรรคหนึ่งหรือรายงานความคืบหน้าตามวรรคสองภายในระยะเวลาที่กําหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลยื่นขอขยายระยะเวลาการจัดส่งแผนหรือรายงาน พร้อมทั้งเหตุผลและเอกสารหลักฐานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนครบกําหนดระยะเวลาดังกล่าว
(9) จัดเก็บเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการในการบริหารจัดการเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อระบบที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัลเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปีนับแต่วันที่จัดทําเอกสารนั้น โดยต้องจัดเก็บไว้ในลักษณะที่พร้อมให้สํานักงาน ก.ล.ต. สามารถเรียกดูและตรวจสอบได้โดยไม่ชักช้า
การแจ้ง การส่งแผนการดําเนินการ รายงาน เอกสารหลักฐาน หรือคําขอใด ๆต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามแบบและวิธีการที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต.
ประกาศ ณ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,050 |
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สำหรับผู้ลงทุนสถาบัน | ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ กน. 19/2540
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ในประกาศนี้
"ผู้ลงทุนสถาบัน" หมายความว่า ผู้ลงทุนประเภทสถาบันหรือที่มีลักษณะเฉพาะตาม ข้อ 7(3) (ก) ถึง (ณ) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 13/2539 เรื่อง การยื่นและการยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ ลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2539
"กองทุนรวม" หมายความว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่บริษัทจัดการจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อจําหน่ายหน่วยลงทุนแก่ผู้ลงทุนสถาบัน และนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยลงทุนไปซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว
"ประกาศที่ กน. 11/2540" หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 11/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540
"บริษัทจัดการ" หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม
"กองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง" หมายความว่า กองทุนรวมซึ่งกําหนดอสังหาริมทรัพย์ที่จะซื้อหรือเช่าไว้เป็นการแน่นอนแล้วในโครงการ
"กองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง" หมายความว่า กองทุนรวมซึ่งกําหนดเพียงประเภทและทําเลที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ที่จะซื้อหรือเช่าไว้ในโครงการ
"โครงการ" หมายความว่า โครงการจัดการกองทุนรวมของบริษัทจัดการ
"คนต่างด้าว" หมายความว่า บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทย และให้หมายความรวมถึงนิติบุคคลซึ่งตามประมวลกฎหมายที่ดินให้มีสิทธิในที่ดินได้เสมือนกับคนต่างด้าว
"ผู้ดูแลผลประโยชน์" หมายความว่า ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม
"นายทะเบียน" หมายความว่า นายทะเบียนหน่วยลงทุนของกองทุนรวม
"บริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน" หมายความว่า นิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ในการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่าทรัพย์สินเป็นทางค้าปกติ และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานให้เป็นบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินของกองทุนรวมได้
"การประเมินค่า" หมายความว่า การคํานวณมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชน โดยเป็นการประเมินอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งต้องมีการตรวจสอบเอกสารสิทธิ ข้อจํากัดสิทธิครอบครองในทรัพย์สินเงื่อนไขและข้อจํากัดทางกฎหมาย ข้อจํากัดอื่นของการใช้ประโยชน์ รายละเอียดการใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน และรายละเอียดอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสํารวจทรัพย์สินตามสภาพที่เป็นอยู่
"สถาบันการเงิน" หมายความว่า สถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของ สถาบันการเงิน
"รายงานการประเมินค่า" หมายความว่า รายงานของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินซึ่งระบุรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่า โดยมีผู้ประเมินหลักเป็นผู้ลงลายมือชื่อในรายงานดังกล่าว
"ผู้ประเมินหลัก" หมายความว่า ผู้ที่รับผิดชอบในการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่า ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานให้เป็นผู้ประเมินหลักของกองทุนรวมได้ และลงลายมือชื่อในรายงานการประเมินค่า
"การสอบทานการประเมินค่า" หมายความว่า การเสนอความเห็นเกี่ยวกับมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม โดยมิได้มีการสํารวจทรัพย์สิน
"รายได้ประจํา" หมายความว่า รายได้ที่เป็นผลตอบแทนเป็นปกติประจําที่กองทุนรวมได้รับเนื่องจากการให้บุคคลอื่นใช้อสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม เช่น ค่าเช่า ค่าบริการ
เป็นต้น และให้หมายความรวมถึงดอกเบี้ยของรายได้ดังกล่าวด้วย
"สํานักงาน" หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ข้อ 2 การจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ให้เป็นไปตามประกาศที่ กน. 11/2540 และประกาศนี้ แต่ทั้งนี้ มิให้นําข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10(6)(9) และ (10) ข้อ 11 ข้อ 12(6) ข้อ 14 ข้อ 17 ข้อ 18(4)(7) และ (9) ข้อ 19 ข้อ 21 ข้อ 26 วรรคหนึ่ง ข้อ 28 ข้อ 29 ข้อ 30 ข้อ 33 ข้อ 34 ข้อ 35 ข้อ 37 ข้อ 38 ข้อ 39 ข้อ 40 ข้อ 42 ข้อ 43 ข้อ 44 ข้อ 45 ข้อ 46 ข้อ 47 และข้อ 48 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 มาใช้บังคับ
ข้อ 3 การยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องยื่นคําขอภายในหนึ่งปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ และต้องเป็นกองทุนรวมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
(1) มีผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมดเป็นผู้ลงทุนสถาบันซึ่งมีจํานวนไม่น้อยกว่าสิบราย
(2) เป็นกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจงหรือกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจงซึ่งไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุน
(3) มีเงินทุนของโครงการไม่ต่ํากว่าห้าร้อยล้านบาท
(4) มีผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นคนต่างด้าวไม่เกินร้อยละสี่สิบเก้าของจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมด หรือมีคนต่างด้าวถือหน่วยลงทุนรวมกันไม่เกินร้อยละสี่สิบเก้าของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด เว้นแต่เป็นกองทุนรวมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยลงทุนไปเช่าอสังหาริมทรัพย์เพียงอย่างเดียว
(5) มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนได้ไม่เกินร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้
(ก) ในกรณีที่แสดงให้เห็นได้ว่าเงินที่นํามาชําระค่าหน่วยลงทุนเป็นเม็ดเงินใหม่ และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานให้มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนได้เกินร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด แต่ไม่เกินร้อยละยี่สิบห้าของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด
(ข) ในกรณีที่มีเหตุผลและความจําเป็น รวมทั้งแสดงให้เห็นได้ว่าเงินที่นํามาชําระค่าหน่วยลงทุนเป็นเม็ดเงินใหม่ที่นําเข้ามาจากต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานให้มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนได้เกินร้อยละยี่สิบห้าของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด
(6) มีลักษณะอย่างอื่นตามที่สํานักงานประกาศกําหนด
ข้อ 4 การขออนุมัติจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอเป็นหนังสือพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอดังต่อไปนี้
(1) รายละเอียดของโครงการตามรายการที่สํานักงานประกาศกําหนดตามมาตรา 118 (1)
(2) ร่างข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ ซึ่งมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามที่กําหนดในมาตรา 119 และตามที่กําหนดในข้อ 7
(3) ร่างสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ ซึ่งมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามที่กําหนดในข้อ 11 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 และข้อ 8
(4) สัญญาหรือข้อผูกพันที่แสดงถึงสิทธิที่จะซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ หากได้รับอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง
(5) เอกสารหลักฐานอื่นตามที่สํานักงานประกาศกําหนด
ข้อ 5 บริษัทจัดการที่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมต้องดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ และสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผล ประโยชน์ โดยมีสาระสําคัญไม่ต่างจากร่างข้อผูกพันและร่างสัญญาที่ผ่านการพิจารณาจากสํานักงาน
(2) จัดส่งและจัดให้มีหนังสือชี้ชวนและรายละเอียดของโครงการตามหลักเกณฑ์และวิธีการต่อไปนี้
(ก) จัดส่งหนังสือชี้ชวนให้สํานักงานไม่น้อยกว่าเจ็ดวันทําการก่อนการเริ่มจัดส่งหนังสือชี้ชวนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันที่สนใจ
(ข) จัดส่งหนังสือชี้ชวนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันที่สนใจไม่น้อยกว่าสามวันทําการก่อนการเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนสถาบัน
(ค) จัดให้มีรายละเอียดของโครงการไว้ ณ ที่ทําการของบริษัทจัดการ เพื่อให้ผู้ลงทุนสถาบันสามารถตรวจดูได้ และจัดสําเนาให้เมื่อมีการร้องขอ ทั้งนี้ จนกว่าจะจดทะเบียนเลิกกองทุนรวม
ข้อ 6 ให้บริษัทจัดการยุติการจําหน่ายหน่วยลงทุนและให้ถือว่าการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมนั้นสิ้นสุดลง หากครบกําหนดระยะเวลาการเสนอขายหน่วยลงทุนซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งเดือนนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมแล้วปรากฎว่าไม่สามารถจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันได้ถึงสิบราย หรือจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันได้ถึงสิบราย แต่หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าน้อยกว่าห้าร้อยล้านบาท หรือ หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าถึงห้าร้อยล้านบาท แต่มูลค่าดังกล่าวไม่เพียงพอกับราคาอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมจะซื้อหรือเช่าตามที่ระบุไว้ในโครงการ
ข้อ 7 ให้บริษัทจัดการจัดทําข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการซึ่งต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามมาตรา 119 และต้องมีข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนว่าบริษัทจัดการหรือนายทะเบียนจะปฏิเสธการลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่มีการโอนหน่วยลงทุนซึ่งจะมีผลให้กองทุนรวมมีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้
(ก) มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนเกินร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดโดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน
(ข) มีผู้ถือหน่วยลงทุนน้อยกว่าสิบราย
(ค) มีผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นคนต่างด้าวเกินร้อยละสี่สิบเก้าของจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมดหรือมีคนต่างด้าวถือหน่วยลงทุนรวมกันเกินร้อยละสี่สิบเก้าของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยลงทุนไปเช่าอสังหาริมทรัพย์เพียงอย่างเดียว
(2) ในกรณีทีมีการโอนหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ลงทุนสถาบัน
ข้อ 8 ในสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ นอกจากการกําหนดหน้าที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ในสัญญาดังกล่าวตามข้อ 10 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 แล้ว ให้บริษัทจัดการกําหนดให้ผู้ดูแลผลประโยชน์พิจารณาให้ความเห็นชอบบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินตามจํานวนที่บริษัทจัดการจะแต่งตั้งตามข้อ 19 ไว้ในสัญญาดังกล่าวด้วย โดยในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์พิจารณาตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) ไม่เข้าข่ายต้องห้ามมิให้ทําการประเมินค่าตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และประกาศว่าด้วยการให้ความเห็นชอบและการดําเนินงานของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินและผู้ประเมินหลักของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
(2) สามารถทําการประเมินค่าด้วยความเป็นกลาง และเป็นบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินที่เรียกค่าธรรมเนียมในการประเมินค่าอย่างเหมาะสม
ข้อ 9 รายการในใบหน่วยลงทุน นอกจากการระบุรายการตามข้อ 12 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 แล้ว ให้บริษัทจัดการระบุข้อความที่เป็นข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนตามที่กําหนดใน ข้อ 7 ไว้ในใบหน่วยลงทุนด้วย
ข้อ 10 บริษัทจัดการต้องแจ้งให้นายทะเบียนทราบถึงข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนที่ระบุไว้ในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการตามข้อ 7
ในกรณีที่นายทะเบียนลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนโดยฝ่าฝืนข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนที่ระบุไว้ในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการตามข้อ 7 ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้นายทะเบียนเพิกถอนการลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนนั้นโดยไม่ชักช้า
ข้อ 11 บริษัทจัดการต้องลงทุนเพื่อให้ได้มาและมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังริมทรัพย์ที่มีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปี เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ในรอบระยะเวลาบัญชีประจําปีสุดท้ายก่อนสิ้นอายุโครงการ
(2) ในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(3) เมื่อได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน
การลงทุนเพื่อให้ได้มาและมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องดําเนินการภายในหกเดือนนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม
ข้อ 12 บริษัทจัดการอาจลงทุนเพื่อให้ได้มาหรือมีไว้ซึ่งที่ดินว่างเปล่าได้ภายในระยะเวลาสองปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับหรือภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กําหนดเป็นอย่างอื่น หากที่ดินเปล่าที่จะลงทุนนั้นได้จํานองไว้กับสถาบันการเงิน หรือสถาบันการเงินเป็นเจ้าของอันเนื่องมาจากการชําระหนี้ หรือจากการประกันการให้สินเชื่อ หรือจากการซื้อที่ดินว่างเปล่าที่จํานองไว้แก่สถาบันการเงินนั้นจากการขายทอดตลาดโดยคําสั่งศาลหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ และการจํานองหรือการเป็นเจ้าของที่ดินนั้นมีอยู่แล้วก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
การลงทุนเพื่อให้ได้มาหรือมีไว้ซึ่งที่ดินว่างเปล่านอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นการได้มาหรือมีไว้เพื่อประโยชน์ที่จะส่งเสริมให้เกิดรายได้แก่อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่สร้างสิ้นแล้วของกองทุนรวม และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน
ข้อ 13 ห้ามมิให้บริษัทจัดการดําเนินการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บนที่ดินว่างเปล่าของกองทุนรวมที่ได้มาหรือมีไว้ตามข้อ 12 วรรคหนึ่ง ในลักษณะที่เป็นการเพิ่มอุปทานส่วนเกินในระบบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เว้นแต่การพัฒนานั้นเป็นไปเพื่อการปรับปรุงสภาพหรือการปกปักรักษาที่ดินว่างเปล่า หรือเพื่อประโยชน์ในการจําหน่ายที่ดินว่างเปล่านั้น เช่น การก่อสร้างรั้ว หรือการปรับปรุงสภาพทางเข้าออก เป็นต้น และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน
ข้อ 14 การลงทุนเพื่อให้ได้มาหรือมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพิ่มเติม ห้ามมิให้บริษัทจัดการลงทุนเมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม
ข้อ 15 บริษัทจัดการต้องถืออสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมไว้อย่างน้อยสองปีเว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นอย่างยิ่งที่ไม่อาจถืออสังริมทรัพย์นั้นต่อไปได้ บริษัทจัดการอาจจําหน่ายหรือโอนสินธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ก่อนระยะเวลาดังกล่าวได้ โดยต้องดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) มีหนังสือแจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายทราบ และไม่ปรากฎว่ามีผู้ถือหน่วยลงทุนคัดค้าน ซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันตั้งแต่ร้อยละยี่สิบห้าขึ้นไปของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม
(2) ขอความเห็นชอบจากสํานักงาน
ความในวรรคหนึ่งมิให้นํามาใช้บังคับในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมเป็นที่ดินว่างเปล่าที่ได้มาหรือมีไว้ตามข้อ 12 วรรคหนึ่ง
ข้อ 16 การจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์เมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ ปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน และนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์หักค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวเฉลี่ยคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อไถ่ถอนหน่วยลงทุนตามวิธีการที่ระบุไว้ในโครงการ ทั้งนี้ ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับตั้งแต่ถัดจากวันที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์นั้น
เมื่อได้ดําเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอจดทะเบียนลดเงินทุนของกองทุนรวมต่อสํานักงานภายในห้าวันทําการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนแล้วเสร็จ ทั้งนี้ ตามแบบ 117-1 ท้ายประกาศนี้
ข้อ 17 การซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง บริษัทจัดการต้องซื้อหรือเช่าในราคาที่ไม่สูงกว่าราคาที่เปิดเผยไว้ในรายละเอียดของโครงการ และหากราคาที่จะซื้อหรือเช่าสูงกว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว บริษัทจัดการต้องชี้แจงข้อเท็จจริงและเหตุผลที่ซื้อหรือเช่าในราคานั้นในหนังสือชี้ชวนด้วย
การซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง หากบริษัทจัดการซื้อหรือเช่าในราคาที่สูงกว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้ จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว บริษัทจัดการต้องชี้แจงข้อเท็จจริงและเหตุผลซื้อหรือเช่าในราคาดังกล่าวตามที่กําหนดในข้อ 18
การจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม หากบริษัทจัดการจําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าในราคาที่ต่ํากว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว บริษัทจัดการต้องชี้แจงข้อเท็จจริงและเหตุผลที่จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าในราคาดังกล่าวตามที่กําหนดในข้อ 18
รายงานการประเมินค่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม จะจัดทําขึ้นล่วงหน้าก่อนการชื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ดังกล่าวได้ไม่เกินหกเดือน
ข้อ 18 ให้บริษัทจัดการจัดส่งหนังสือสรุปข้อมูลที่เป็นสาระสําคัญเกี่ยวกับการซื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมให้ผู้ถือหน่วยลงทุนและสํานักงานภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ซื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่า โดยหนังสือสรุปข้อมูลต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) ราคาที่ซื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(2) ราคาที่ได้จากรายงานการประมาณค่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน
(3) ข้อเท็จจริงและเหตุผลที่ซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมในราคาที่สูงกว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว
(4) ข้อเท็จจริงและเหตุผลที่จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมในราคาที่ต่ํากว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว
(5) ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อไถ่ถอนหน่วยลงทุนในกรณีที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์เมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม โดยต้องระบุจํานวนและมูลค่าหน่วยลงทุนที่ใช้ในการไถ่ถอนหน่วยลงทุนกําหนดเวลาปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน รวมทั้งกําหนดเวลาและวิธีการคืนเงินค่าไถ่ถอนหน่วยลงทุน
ข้อ 19 ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน เพื่อทําการประเมินค่าและการสอบทานการประเมินค่า โดยให้บริษัทจัดการเสนอรายชื่อบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินอย่างน้อยสองรายต่อผู้ดูแลผลประโยชน์ และให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินจํานวนหนึ่งรายตามที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์ เว้นแต่ในกรณีเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรกของกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินได้โดยไม่ต้องเสนอรายชื่อเพื่อขอรับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์
ในกรณีที่บริษัทประเมินค่าทรัพย์สินที่ได้รับแต่งตั้งจากบริษัทจัดการไม่สามารถทําการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่าได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินใหม่ โดยให้นําความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง บริษัทจัดการจะแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินให้ทําการประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์เดียวกันติดต่อกันเกินสองครั้งไม่ได้
ข้อ 20 บริษัทจัดการต้องจัดให้บริษัทประเมินค่าทรัพย์สินทําการสอบทานการประเมินค่า ณ วันทําการสุดท้ายของเดือนกันยายน
ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ใดได้มีการประเมินค่าครั้งล่าสุดไปแล้วก่อนวันทําการสุดท้ายของเดือนกันยายนเป็นระยะเวลาไม่เกินหกเดือน บริษัทจัดการอาจไม่จัดให้มีการสอบทานการประเมินค่าก็ได้ หากบริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์เห็นว่าไม่มีความจําเป็นที่จะต้องทําการสอบทานการประเมินค่า
ข้อ 21 ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินที่ทําการประเมินค่าครั้งล่าสุดเป็นผู้สอบทานการประเมินค่าตามข้อ 20
ข้อ 22 ให้บริษัทจัดการส่งสําเนารายงานการประเมินค่า พร้อมด้วยสําเนาเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ผู้ดูแลผลประโยชน์โดยพลัน และให้สํานักงานภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับรายงานการประเมินค่า เว้นแต่กรณีรายงานการประเมินค่าที่จัดให้มีขึ้นตามข้อ 20 ให้ส่งรายงานดังกล่าวให้เฉพาะผู้ดูแลผลประโยชน์
ข้อ 23 ภายใต้บังคับข้อ 16 ให้บริษัทจัดการคํานวณมูลค่าทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิและมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ณ วันทําการสุดท้ายของเดือนธันวาคม และดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) แจ้งมูลค่าที่คํานวณได้ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ภายในวันทําการถัดจากวันที่คํานวณเพื่อให้ผู้ดูแลผลประโยชน์รับรองว่าการคํานวณมูลค่าดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศนี้
(2) แจ้งมูลค่าดังกล่าวข้างต้นที่ผู้ดูแลผลประโยชน์รับรองแล้วตาม (1) ให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบภายในห้าวันทําการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่คํานวณ
ข้อ 24 ในกรณีที่มีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขึ้นภายหลังจากวันที่คํานวณตามข้อ 23 อันมีผลกระทบต่อมูลค่าอสังหาริมทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ ให้บริษัทจัดการแจ้งเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบด้วย
ข้อ 25 ให้บริษัทจัดการจัดทํารายงานแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกองทุนรวมทุกรอบปีบัญชีสิ้นสุดเดือนธันวาคม และส่งให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน รวมทั้งส่งให้สํานักงานภายในสามเดือนนับตั้งแต่วันถัดจากวันสิ้นเดือนธันวาคม โดยรายงานดังกล่าวต้องมีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) รายการแสดงทรัพย์สินแยกตามประเภท คือ อสังหาริมทรัพย์ สิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ ตราสารแห่งหนี้ และเงินฝาก พร้อมทั้งมูลค่าทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุน ณ วันทําการสุดท้ายของปี
(2) รายละเอียดเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมทุกรายการ ซึ่งต้องระบุสาระสําคัญอย่างน้อยเกี่ยวกับชื่อ ที่ตั้ง ลักษณะ ประเภทการใช้งาน ขนาดพื้นที่ อายุการเช่า มูลค่าที่ได้จากรายงานการประเมินค่าครั้งล่าสุด และภาระผูกพันต่าง ๆ เป็นต้น
(3) รายละเอียดเกี่ยวกับการซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์แต่ละรายการในระหว่างระยะเวลาหนึ่งปี ซึ่งต้องระบุสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(ก) วันที่ ราคา และเหตุผลที่ซื้อหรือเช่า
(ข) รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินค่าก่อนการซื้อหรือเช่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน เช่น วันที่ทําการประเมินค่า ราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า และวิธีที่ใช้ในการประเมินค่า เป็นต้น
(ค) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อหรือเช่า
(4) รายละเอียดเกี่ยวกับการจําหน่ายหรือการโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์แต่ละรายการใน ระหว่างระยะเวลาหนึ่งปี ซึ่งต้องระบุสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(ก) วันที่ ราคา และเหตุผลที่จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่า
(ข) รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินค่าก่อนการจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน เช่น วันที่ทําการประเมินค่า ราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า และวิธีที่ใช้ในการประเมินค่า เป็นต้น
(ค) กําไรหรือขาดทุนจากการจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่า และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(ง) มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่จําหน่ายหรือโอน
(5) รายละเอียดเกี่ยวกับการไถ่ถอนหน่วยลงทุนในกรณีที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์เมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม โดยต้องระบุจํานวนหน่วยลงทุนที่ได้ไถ่ถอนทั้งหมด และจํานวนหน่วยลงทุนคงเหลือของกองทุนรวมนั้นภายหลังการไถ่ถอนหน่วยลงทุน
(6) งบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีที่มีคุณสมบัติตาม ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์
(7) การเปรียบเทียบงบดุลและงบกําไรขาดทุนของปีปัจจุบันและปีก่อน
(8) ความเห็นของผู้ดูแลผลประโยชน์เกี่ยวกับการดําเนินงานของกองทุนรวมในรอบระยะเวลาหนึ่งปีที่ผ่านมา
ข้อ 26 ในกรณีที่กองทุนรวมมีกําไรสุทธิจากรายได้ประจําหรือจากการขายอสังหาริมทรัพย์และบริษัทจัดการประสงค์จะจ่ายเงินปันผล ให้จ่ายเงินปันผลจากเงินได้ที่เป็นกําไรดังกล่าวแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนภายในเก้าสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันสิ้นงวดบัญชีประจําปี
การจ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษัทจัดการจ่ายได้ไม่เกิน สองในสามของกําไรสุทธิหลังหักค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์นั้น
ข้อ 27 บริษัทจัดการอาจเพิ่มเงินทุนของกองทุนรวมได้ภายในห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม โดยมีวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) เพื่อซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์เพิ่มเติม
(2) เพื่อดําเนินการปรับปรุงอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมให้อยู่ในสภาพที่ดีและมีความพร้อมที่จะใช้หาผลประโยชน์
ในการเพิ่มเงินทุนของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือมีหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุน เพื่อขอมติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้น ทั้งนี้ ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องระบุวัตถุประสงค์การเพิ่มเงินทุน อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจงจํานวนเงินทุนและจํานวนหน่วยลงทุนที่จะเพิ่ม วิธีการกําหนดราคาหน่วยลงทุนที่เสนอขาย และวิธีการจัดสรรหน่วยลงทุน
(2) ขอความเห็นชอบจากสํานักงาน โดยต้องระบุรายละเอียดเช่นเดียวกันกับการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนตาม (1) เป็นอย่างน้อย
(3) จัดส่ง หรือจัดให้มีหนังสือชี้ชวน โดยให้นําความในข้อ 5(2) มาใช้บังคับโดยอนุโลม
(4) จดทะเบียนเพิ่มเงินทุนของกองทุนรวมตามประกาศว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน และให้นําข้อ 12 แห่ง ประกาศ ที่ กน. 11/2540 และข้อ 9 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ 28 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
(นายอํานวย วีรวรรณ)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,051 |
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 25/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สำหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 2) | ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ กน. 25/2540
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 2)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า "โครงการที่มีการระดมเงินทุนในต่างประเทศ" ระหว่างบทนิยามคําว่า "ผู้ดูแลผลประโยชน์" และคําว่า "นายทะเบียน" ในข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 ดังต่อไปนี้
""โครงการที่มีการระดมเงินทุนในต่างประเทศ" หมายความว่า โครงการซึ่งจัดตั้งขึ้นด้วยความประสงค์ที่จะเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งหมดแก่บริษัทลงทุนหรือกองทุนซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศโดยมีการระดมเงินทุนจากบุคคลทั่วไปในต่างประเทศ"
ข้อ 2 ให้ยกเลิก (4) ในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (5) ของข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"(5) มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนได้ไม่เกินร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด เว้นแต่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน โดยคํานึงถึงการชําระค่าหน่วยลงทุนตามโครงการโดยรวมด้วยเม็ดเงินใหม่ หรือประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม หรือเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาตามนโยบายของทางการเป็นสําคัญ และ"
ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในข้อ 6 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"ข้อ 6 ให้บริษัทจัดการยุติการจําหน่ายหน่วยลงทุนและให้ถือว่าการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการ
กองทุนรวมนั้นสิ้นสุดลง หากครบกําหนดระยะเวลาการเสนอขายหน่วยลงทุนที่สํานักงานกําหนดในการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมแล้วปรากฎว่า
(1) ไม่สามารถจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันได้ถึงสิบราย
(2) หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าน้อยกว่าห้าร้อยล้านบาท หรือ
(3) หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าถึงห้าร้อยล้านบาท แต่มูลค่าดังกล่าวไม่เพียงพอกับราคา อสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมจะซื้อหรือเช่าตามที่ระบุไว้ในโครงการ"
ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (1) ในข้อ 7 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"(ก) มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนเกินอัตราที่กําหนดหรือเกินจํานวนที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตาม ข้อ 3(5)"
ข้อ 6 ให้ยกเลิก (ค) ใน (1) ของข้อ 7 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
ข้อ 7 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 27/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
"ข้อ 27/1 มิให้นําข้อ 3(1) และ (5) ข้อ 6 (1) และข้อ 7 (1) (ข) มาใช้บังคับในกรณีที่เป็นโครงการที่มีการระดมเงินทุนในต่างประเทศ
ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร สํานักงานอาจพิจารณาผ่อนผันการปฏิบัติตามประกาศ ที่ กน. 11/2540 ประกาศนี้ และประกาศที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้กับกองทุนรวมตามโครงการที่มีการระดมเงินทุนในต่างประเทศได้"
ข้อ 8 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2540
(นายอํานวย วีรวรรณ)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,052 |
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 42/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สำหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 3) | ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ กน. 42/2540
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 3)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า "อาคารขนาดใหญ่" ระหว่างบทนิยามคําว่า "การประเมินค่า" และคําว่า " สถาบันการเงิน" ในข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 ดังต่อไปนี้
""อาคารขนาดใหญ่" หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้างขึ้นโดยมีความสูงจากระดับถนนตั้งแต่สิบห้าเมตรขึ้นไปและมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันเกินหนึ่งพันตารางเมตร หรือโดยมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกินสองพันตารางเมตร"
ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"ข้อ 2 การจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ให้เป็นไปตามประกาศ ที่ กน. 11/2540 ประกาศนี้ และที่แก้ไขเพิ่มเติม แต่ทั้งนี้ มิให้นําข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10(6)(9) และ (10) ข้อ 11 ข้อ 12(6) ข้อ 14 ข้อ 17 ข้อ 18(3)(ข)(4)(5)(7) และ (9) ข้อ 19 ข้อ 21 ข้อ 26 วรรคหนึ่ง ข้อ 28 ข้อ 29 ข้อ 30 ข้อ 33 ข้อ 34 ข้อ 35 ข้อ 37 ข้อ 38 ข้อ 39 ข้อ 40 ข้อ 42 ข้อ 43 ข้อ 44 ข้อ 45 ข้อ 46 ข้อ 47 ข้อ 47/1 และข้อ 48 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 มาใช้บังคับ"
ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 10/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
"ข้อ 10/1 ในกรณีที่เป็นการเช่าอสังหาริมทรัพย์ บริษัทจัดการต้องเช่าอสังหาริมทรัพย์จากบุคคลผู้มีกรรมสิทธิ์ตามโฉนดที่ดินหรือจากบุคคลผู้มีสิทธิครอบครองตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์ หรือเช่าจากผู้มีสิทธิในอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างตามสัญญาซึ่งทําไว้กับบุคคลดังกล่าว"
ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 11/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
"ข้อ11/1 ให้บริษัทจัดการซื้อหรือเช่าอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างเฉพาะที่สร้างเสร็จสิ้นแล้ว
การซื้ออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างที่ยังก่อสร้างไม่แล้วเสร็จให้กระทําได้ในกรณีซื้อ อาคารขนาดใหญ่ทั้งอาคาร หรือกรณีซื้ออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างที่มิใช่อาคารขนาดใหญ่ทั้งโครงการก่อสร้าง โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) มีการระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม
(2) อาคารขนาดใหญ่ หรืออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวได้เริ่มก่อสร้างก่อนวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2540 และได้มีการก่อสร้างไปแล้วก่อนการซื้อ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วนดังต่อไปนี้
(ก) กรณีที่เป็นการซื้ออาคารขนาดใหญ่ทั้งอาคาร อาคารนั้นต้องมีการก่อสร้างไปแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละหกสิบของมูลค่าโครงสร้างอาคารโดยได้รับการรับรองจากบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน ทั้งนี้ ไม่รวมมูลค่าที่ดินและมูลค่าระบบวิศวกรรมประกอบอาคารทั้งหมด เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ เป็นต้น
(ข) กรณีที่เป็นการซื้ออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างทั้งโครงการก่อสร้างต้องปรากฏว่า
1. โครงการก่อสร้างนั้นได้มีการเริ่มก่อสร้างอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้าง ดังกล่าวไปแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้าของจํานวนหน่วยทั้งหมดตามโครงการก่อสร้างนั้น โดยได้รับการรับรองจากบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน
2. มูลค่ารวมของมูลค่าที่ดินและมูลค่าอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้มีการก่อสร้างแล้วตาม 1. ไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้าของมูลค่าโครงการก่อสร้างทั้งหมด โดยได้รับการรับรองจากบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน หรือ
3. โครงการก่อสร้างนั้นมีปริมาณงานคืบหน้าในลักษณะอื่นตามที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ
(3) มีการลงทุนในอาคารขนาดใหญ่ หรืออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างตาม (2) ภายในระยะเวลาสองปีนับตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2540
ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง ก่อนซื้ออาคารขนาดใหญ่ หรืออาคารโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างตามวรรคสอง บริษัทจัดการต้องจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือมีหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน และได้มติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้น ทั้งนี้ ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องระบุประมาณการเงินทุนที่ใช้ในการดําเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ บริษัทที่จะดําเนินการก่อสร้าง และระยะเวลาการก่อสร้างจนแล้วเสร็จด้วย"
ข้อ 5 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 16 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"เมื่อได้ดําเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอจดทะเบียนลดเงินทุนของกองทุนรวมต่อสํานักงาน ภายในห้าวันทําการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนแล้วเสร็จ ทั้งนี้ ตามแบบ 117-2 ท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วย หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์"
ข้อ 6 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 17/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
"ข้อ 17/1 ความในข้อ 17 มิให้นํามาใช้บังคับในกรณีที่บริษัทจัดการซื้อ เช่า จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมโดยได้รับความยินยอมจากผู้ซื้อหรือผู้ถือหน่วยลงทุนตามวิธีการที่ระบุไว้ในโครงการ หรือตามมติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้นและในกรณีเช่นว่านี้ ให้บริษัทจัดการได้รับยกเว้นการปฏิบัติตาม ข้อ 18(2) (3) หรือ (4) และข้อ 25(3) (ข) หรือ (4) (ข)"
ข้อ 7 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 26/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม อสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
"ข้อ 26/1 บริษัทจัดการอาจลดเงินทุนของกองทุนรวมโดยการลดจํานวนหน่วยลงทุนได้เมื่อมีสินทรัพย์สภาพคล่องส่วนเกินเนื่องจากเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) การตัดค่าเสื่อมราคาอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(2) การตัดบัญชีสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(3) การจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมภายในกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม
ในการลดเงินทุนของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง หากมิได้กําหนดไว้ในโครงการบริษัทจัดการ ต้องจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือมีหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน และได้มติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้น ทั้งนี้ ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องระบุจํานวนเงินทุนและจํานวนหน่วยลงทุนที่จะลด วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน และวันคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) ปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน และคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันปิดสมุดทะเบียนดังกล่าว
(2) ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุนเพื่อไถ่ถอนหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละราย ทั้งนี้ มูลค่าหน่วยลงทุนให้คํานวณจากมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน
เมื่อได้ดําเนินการตามวรรคสองแล้ว ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอจดทะเบียนลดเงินทุนของกองทุนรวมต่อสํานักงานภายในห้าวันทําการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ ผู้ถือหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ตามแบบ 117-2 ท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์"
ข้อ 8 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(นายธารินทร์ นิมมานเหมินท์)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,053 |
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 1/2541 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สำหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 4) | ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ กน. 1/2541
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 4)
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม
อสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 42/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"ข้อ 2 การจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ให้เป็นไปตามประกาศ ที่ กน. 11/2540 ประกาศนี้ และที่แก้ไขเพิ่มเติม แต่ทั้งนี้มิให้นําข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10(1)(2)(3)(4)(5) (6)(9)(10) และ (13) ข้อ 11 ข้อ 12(6) ข้อ14 ข้อ 16(2) ข้อ 17 ข้อ 18(3)(ข)(4)(5)(7) และ (9) ข้อ 19 ข้อ 21 ข้อ 24 ข้อ 25 ข้อ 26 วรรคหนึ่ง ข้อ 28 ข้อ 29 ข้อ 30 ข้อ 33 ข้อ 34 ข้อ35 ข้อ 37 ข้อ38 ข้อ 39 ข้อ 40 ข้อ 42 ข้อ 43 ข้อ 44 ข้อ 45 ข้อ 46 ข้อ 47 ข้อ 47/1 และข้อ 48 แห่งประกาศ ที่ กน. 11/2540 มาใช้บังคับ"
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2541
(นายธารินทร์ นิมมานเหมินท์)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,054 |
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สำหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับประมวล) | ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ กน. 19/2540
เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ในประกาศนี้
"ผู้ลงทุนสถาบัน" หมายความว่า ผู้ลงทุนประเภทสถาบันหรือที่มีลักษณะเฉพาะตาม ข้อ 7(3) (ก) ถึง (ณ) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 13/2539 เรื่อง การยื่นและการยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ ลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2539
"กองทุนรวม" หมายความว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่บริษัทจัดการจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อจําหน่ายหน่วยลงทุนแก่ผู้ลงทุนสถาบัน และนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยลงทุนไปซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว
"ประกาศที่ กน. 11/2540" หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 11/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540
"บริษัทจัดการ" หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม
"กองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง" หมายความว่า กองทุนรวมซึ่งกําหนดอสังหาริมทรัพย์ที่จะซื้อหรือเช่าไว้เป็นการแน่นอนแล้วในโครงการ
"กองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง" หมายความว่า กองทุนรวมซึ่งกําหนดเพียงประเภทและทําเลที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ที่จะซื้อหรือเช่าไว้ในโครงการ
"โครงการ" หมายความว่า โครงการจัดการกองทุนรวมของบริษัทจัดการ
"คนต่างด้าว" หมายความว่า บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทย และให้หมายความรวมถึงนิติบุคคลซึ่งตามประมวลกฎหมายที่ดินให้มีสิทธิในที่ดินได้เสมือนกับคนต่างด้าว
"ผู้ดูแลผลประโยชน์" หมายความว่า ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม
[1](#fn1) "โครงการที่มีการระดมเงินทุนในต่างประเทศ" หมายความว่า โครงการซึ่งจัดตั้งขึ้นด้วยความประสงค์ที่จะเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งหมดแก่บริษัทลงทุนหรือกองทุนซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศโดยมีการระดมเงินทุนจากบุคคลทั่วไปในต่างประเทศ
"นายทะเบียน" หมายความว่า นายทะเบียนหน่วยลงทุนของกองทุนรวม
"บริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน" หมายความว่า นิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ในการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่าทรัพย์สินเป็นทางค้าปกติ และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานให้เป็นบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินของกองทุนรวมได้
"การประเมินค่า" หมายความว่า การคํานวณมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชน โดยเป็นการประเมินอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งต้องมีการตรวจสอบเอกสารสิทธิ ข้อจํากัดสิทธิครอบครองในทรัพย์สินเงื่อนไขและข้อจํากัดทางกฎหมาย ข้อจํากัดอื่นของการใช้ประโยชน์ รายละเอียดการใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน และรายละเอียดอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสํารวจทรัพย์สินตามสภาพที่เป็นอยู่
[2](#fn2) "อาคารขนาดใหญ่" หมายความว่า อาคารที่ก่อสร้างขึ้นโดยมีความสูงจากระดับถนนตั้งแต่สิบห้าเมตรขึ้นไปและมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันเกินหนึ่งพันตารางเมตร หรือโดยมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกินสองพันตารางเมตร
"สถาบันการเงิน" หมายความว่า สถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของ สถาบันการเงิน
"รายงานการประเมินค่า" หมายความว่า รายงานของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินซึ่งระบุรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่า โดยมีผู้ประเมินหลักเป็นผู้ลงลายมือชื่อในรายงานดังกล่าว
"ผู้ประเมินหลัก" หมายความว่า ผู้ที่รับผิดชอบในการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่า ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานให้เป็นผู้ประเมินหลักของกองทุนรวมได้ และลงลายมือชื่อในรายงานการประเมินค่า
"การสอบทานการประเมินค่า" หมายความว่า การเสนอความเห็นเกี่ยวกับมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม โดยมิได้มีการสํารวจทรัพย์สิน
"รายได้ประจํา" หมายความว่า รายได้ที่เป็นผลตอบแทนเป็นปกติประจําที่กองทุนรวมได้รับเนื่องจากการให้บุคคลอื่นใช้อสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม เช่น ค่าเช่า ค่าบริการ
เป็นต้น และให้หมายความรวมถึงดอกเบี้ยของรายได้ดังกล่าวด้วย
"สํานักงาน" หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ข้อ 2[3](#fn3)[4](#fn4) การจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ให้เป็นไปตามประกาศ ที่ กน. 11/2540 ประกาศนี้ และที่แก้ไขเพิ่มเติม แต่ทั้งนี้มิให้นําข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10(1)(2)(3)(4)(5) (6)(9)(10) และ (13) ข้อ 11 ข้อ 12(6) ข้อ14 ข้อ 16(2) ข้อ 17 ข้อ 18(3)(ข)(4)(5)(7) และ (9) ข้อ 19 ข้อ 21 ข้อ 24 ข้อ 25 ข้อ 26 วรรคหนึ่ง ข้อ 28 ข้อ 29 ข้อ 30 ข้อ 33 ข้อ 34 ข้อ35 ข้อ 37 ข้อ38 ข้อ 39 ข้อ 40 ข้อ 42 ข้อ 43 ข้อ 44 ข้อ 45 ข้อ 46 ข้อ 47 ข้อ 47/1 และข้อ 48 แห่งประกาศ ที่ กน. 11/2540 มาใช้บังคับ
ข้อ 3 การยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องยื่นคําขอภายในหนึ่งปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ และต้องเป็นกองทุนรวมที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
(1) มีผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมดเป็นผู้ลงทุนสถาบันซึ่งมีจํานวนไม่น้อยกว่าสิบราย
(2) เป็นกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจงหรือกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจงซึ่งไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุน
(3) มีเงินทุนของโครงการไม่ต่ํากว่าห้าร้อยล้านบาท
(4)[5](#fn5) ยกเลิกทั้งวงเล็บ 4
(5)[6](#fn6) มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนได้ไม่เกินร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด เว้นแต่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน โดยคํานึงถึงการชําระค่าหน่วยลงทุนตามโครงการโดยรวมด้วยเม็ดเงินใหม่ หรือประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม หรือเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาตามนโยบายของทางการเป็นสําคัญ และ
(ก)[7](#fn7) ยกเลิกทั้งวงเล็บ ก ของ (5)
(ข)[8](#fn8) ยกเลิกทั้งวงเล็บ ข ของ (5)
(6) มีลักษณะอย่างอื่นตามที่สํานักงานประกาศกําหนด
ข้อ 4 การขออนุมัติจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอเป็นหนังสือพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอดังต่อไปนี้
(1) รายละเอียดของโครงการตามรายการที่สํานักงานประกาศกําหนดตามมาตรา 118 (1)
(2) ร่างข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ ซึ่งมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามที่กําหนดในมาตรา 119 และตามที่กําหนดในข้อ 7
(3) ร่างสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ ซึ่งมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามที่กําหนดในข้อ 11 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 และข้อ 8
(4) สัญญาหรือข้อผูกพันที่แสดงถึงสิทธิที่จะซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ หากได้รับอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง
(5) เอกสารหลักฐานอื่นตามที่สํานักงานประกาศกําหนด
ข้อ 5 บริษัทจัดการที่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมต้องดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดให้มีข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ และสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผล ประโยชน์ โดยมีสาระสําคัญไม่ต่างจากร่างข้อผูกพันและร่างสัญญาที่ผ่านการพิจารณาจากสํานักงาน
(2) จัดส่งและจัดให้มีหนังสือชี้ชวนและรายละเอียดของโครงการตามหลักเกณฑ์และวิธีการต่อไปนี้
(ก) จัดส่งหนังสือชี้ชวนให้สํานักงานไม่น้อยกว่าเจ็ดวันทําการก่อนการเริ่มจัดส่งหนังสือชี้ชวนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันที่สนใจ
(ข) จัดส่งหนังสือชี้ชวนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันที่สนใจไม่น้อยกว่าสามวันทําการก่อนการเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนสถาบัน
(ค) จัดให้มีรายละเอียดของโครงการไว้ ณ ที่ทําการของบริษัทจัดการ เพื่อให้ผู้ลงทุนสถาบันสามารถตรวจดูได้ และจัดสําเนาให้เมื่อมีการร้องขอ ทั้งนี้ จนกว่าจะจดทะเบียนเลิกกองทุนรวม
ข้อ 6[9](#fn9) ให้บริษัทจัดการยุติการจําหน่ายหน่วยลงทุนและให้ถือว่าการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมนั้นสิ้นสุดลง หากครบกําหนดระยะเวลาการเสนอขายหน่วยลงทุนที่สํานักงานกําหนดในการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมแล้วปรากฎว่า
(1)[10](#fn10) ไม่สามารถจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันได้ถึงสิบราย
(2)[11](#fn11) หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าน้อยกว่าห้าร้อยล้านบาท หรือ
(3)[12](#fn12) หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าถึงห้าร้อยล้านบาท แต่มูลค่าดังกล่าวไม่เพียงพอกับราคา อสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมจะซื้อหรือเช่าตามที่ระบุไว้ในโครงการ
ข้อ 7 ให้บริษัทจัดการจัดทําข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการซึ่งต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามมาตรา 119 และต้องมีข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนว่าบริษัทจัดการหรือนายทะเบียนจะปฏิเสธการลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ในกรณีที่มีการโอนหน่วยลงทุนซึ่งจะมีผลให้กองทุนรวมมีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้
(ก)[13](#fn13) มีผู้ถือหน่วยลงทุนรายใดรายหนึ่งถือหน่วยลงทุนเกินอัตราที่กําหนดหรือเกินจํานวนที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตาม ข้อ 3(5)
(ข) มีผู้ถือหน่วยลงทุนน้อยกว่าสิบราย
(ค)[14](#fn14) ยกเลิกทั้งวงเล็บ ค ของ (1)
(2) ในกรณีทีมีการโอนหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ลงทุนสถาบัน
ข้อ 8 ในสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ นอกจากการกําหนดหน้าที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ในสัญญาดังกล่าวตามข้อ 10 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 แล้ว ให้บริษัทจัดการกําหนดให้ผู้ดูแลผลประโยชน์พิจารณาให้ความเห็นชอบบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินตามจํานวนที่บริษัทจัดการจะแต่งตั้งตามข้อ 19 ไว้ในสัญญาดังกล่าวด้วย โดยในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์พิจารณาตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1) ไม่เข้าข่ายต้องห้ามมิให้ทําการประเมินค่าตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และประกาศว่าด้วยการให้ความเห็นชอบและการดําเนินงานของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินและผู้ประเมินหลักของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
(2) สามารถทําการประเมินค่าด้วยความเป็นกลาง และเป็นบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินที่เรียกค่าธรรมเนียมในการประเมินค่าอย่างเหมาะสม
ข้อ 9 รายการในใบหน่วยลงทุน นอกจากการระบุรายการตามข้อ 12 แห่งประกาศที่ กน. 11/2540 แล้ว ให้บริษัทจัดการระบุข้อความที่เป็นข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนตามที่กําหนดใน ข้อ 7 ไว้ในใบหน่วยลงทุนด้วย
ข้อ 10 บริษัทจัดการต้องแจ้งให้นายทะเบียนทราบถึงข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนที่ระบุไว้ในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการตามข้อ 7
ในกรณีที่นายทะเบียนลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนโดยฝ่าฝืนข้อจํากัดการโอนหน่วยลงทุนที่ระบุไว้ในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการตามข้อ 7 ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้นายทะเบียนเพิกถอนการลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนนั้นโดยไม่ชักช้า
ข้อ 10/1[15](#fn15) ในกรณีที่เป็นการเช่าอสังหาริมทรัพย์ บริษัทจัดการต้องเช่าอสังหาริมทรัพย์จากบุคคลผู้มีกรรมสิทธิ์ตามโฉนดที่ดินหรือจากบุคคลผู้มีสิทธิครอบครองตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์ หรือเช่าจากผู้มีสิทธิในอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างตามสัญญาซึ่งทําไว้กับบุคคลดังกล่าว
ข้อ 11 บริษัทจัดการต้องลงทุนเพื่อให้ได้มาและมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังริมทรัพย์ที่มีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปี เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ในรอบระยะเวลาบัญชีประจําปีสุดท้ายก่อนสิ้นอายุโครงการ
(2) ในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(3) เมื่อได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน
การลงทุนเพื่อให้ได้มาและมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องดําเนินการภายในหกเดือนนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม
ข้อ 11/1[16](#fn16) ให้บริษัทจัดการซื้อหรือเช่าอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างเฉพาะที่สร้างเสร็จสิ้นแล้ว
[17](#fn17) การซื้ออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างที่ยังก่อสร้างไม่แล้วเสร็จให้กระทําได้ในกรณีซื้อ อาคารขนาดใหญ่ทั้งอาคาร หรือกรณีซื้ออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างที่มิใช่อาคารขนาดใหญ่ทั้งโครงการก่อสร้าง โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
(1)[18](#fn18) มีการระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม
(2)[19](#fn19) อาคารขนาดใหญ่ หรืออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวได้เริ่มก่อสร้างก่อนวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2540 และได้มีการก่อสร้างไปแล้วก่อนการซื้อ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วนดังต่อไปนี้
(ก)[20](#fn20) กรณีที่เป็นการซื้ออาคารขนาดใหญ่ทั้งอาคาร อาคารนั้นต้องมีการก่อสร้างไปแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละหกสิบของมูลค่าโครงสร้างอาคารโดยได้รับการรับรองจากบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน ทั้งนี้ ไม่รวมมูลค่าที่ดินและมูลค่าระบบวิศวกรรมประกอบอาคารทั้งหมด เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ เป็นต้น
(ข)[21](#fn21) กรณีที่เป็นการซื้ออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างทั้งโครงการก่อสร้างต้องปรากฏว่า
1.[22](#fn22) โครงการก่อสร้างนั้นได้มีการเริ่มก่อสร้างอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้าง ดังกล่าวไปแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้าของจํานวนหน่วยทั้งหมดตามโครงการก่อสร้างนั้น โดยได้รับการรับรองจากบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน
2.[23](#fn23) มูลค่ารวมของมูลค่าที่ดินและมูลค่าอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างที่ได้มีการก่อสร้างแล้วตาม 1. ไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบห้าของมูลค่าโครงการก่อสร้างทั้งหมด โดยได้รับการรับรองจากบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน หรือ
3.[24](#fn24) โครงการก่อสร้างนั้นมีปริมาณงานคืบหน้าในลักษณะอื่นตามที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ
(3)[25](#fn25) มีการลงทุนในอาคารขนาดใหญ่ หรืออาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างตาม (2) ภายในระยะเวลาสองปีนับตั้งแต่วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2540
[26](#fn26) ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง ก่อนซื้ออาคารขนาดใหญ่ หรืออาคารโรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างตามวรรคสอง บริษัทจัดการต้องจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือมีหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน และได้มติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้น ทั้งนี้ ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องระบุประมาณการเงินทุนที่ใช้ในการดําเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ บริษัทที่จะดําเนินการก่อสร้าง และระยะเวลาการก่อสร้างจนแล้วเสร็จด้วย
ข้อ 12 บริษัทจัดการอาจลงทุนเพื่อให้ได้มาหรือมีไว้ซึ่งที่ดินว่างเปล่าได้ภายในระยะเวลาสองปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับหรือภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กําหนดเป็นอย่างอื่น หากที่ดินเปล่าที่จะลงทุนนั้นได้จํานองไว้กับสถาบันการเงิน หรือสถาบันการเงินเป็นเจ้าของอันเนื่องมาจากการชําระหนี้ หรือจากการประกันการให้สินเชื่อ หรือจากการซื้อที่ดินว่างเปล่าที่จํานองไว้แก่สถาบันการเงินนั้นจากการขายทอดตลาดโดยคําสั่งศาลหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ และการจํานองหรือการเป็นเจ้าของที่ดินนั้นมีอยู่แล้วก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ
การลงทุนเพื่อให้ได้มาหรือมีไว้ซึ่งที่ดินว่างเปล่านอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นการได้มาหรือมีไว้เพื่อประโยชน์ที่จะส่งเสริมให้เกิดรายได้แก่อสังหาริมทรัพย์ที่เป็นอาคาร โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างที่สร้างสิ้นแล้วของกองทุนรวม และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน
ข้อ 13 ห้ามมิให้บริษัทจัดการดําเนินการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บนที่ดินว่างเปล่าของกองทุนรวมที่ได้มาหรือมีไว้ตามข้อ 12 วรรคหนึ่ง ในลักษณะที่เป็นการเพิ่มอุปทานส่วนเกินในระบบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เว้นแต่การพัฒนานั้นเป็นไปเพื่อการปรับปรุงสภาพหรือการปกปักรักษาที่ดินว่างเปล่า หรือเพื่อประโยชน์ในการจําหน่ายที่ดินว่างเปล่านั้น เช่น การก่อสร้างรั้ว หรือการปรับปรุงสภาพทางเข้าออก เป็นต้น และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน
ข้อ 14 การลงทุนเพื่อให้ได้มาหรือมีไว้ซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพิ่มเติม ห้ามมิให้บริษัทจัดการลงทุนเมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม
ข้อ 15 บริษัทจัดการต้องถืออสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมไว้อย่างน้อยสองปีเว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นอย่างยิ่งที่ไม่อาจถืออสังริมทรัพย์นั้นต่อไปได้ บริษัทจัดการอาจจําหน่ายหรือโอนสินธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ก่อนระยะเวลาดังกล่าวได้ โดยต้องดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) มีหนังสือแจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายทราบ และไม่ปรากฎว่ามีผู้ถือหน่วยลงทุนคัดค้าน ซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันตั้งแต่ร้อยละยี่สิบห้าขึ้นไปของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม
(2) ขอความเห็นชอบจากสํานักงาน
ความในวรรคหนึ่งมิให้นํามาใช้บังคับในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมเป็นที่ดินว่างเปล่าที่ได้มาหรือมีไว้ตามข้อ 12 วรรคหนึ่ง
ข้อ 16 การจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์เมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ ปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน และนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์หักค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวเฉลี่ยคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อไถ่ถอนหน่วยลงทุนตามวิธีการที่ระบุไว้ในโครงการ ทั้งนี้ ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับตั้งแต่ถัดจากวันที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์นั้น
[27](#fn27) เมื่อได้ดําเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอจดทะเบียนลดเงินทุนของกองทุนรวมต่อสํานักงาน ภายในห้าวันทําการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนแล้วเสร็จ ทั้งนี้ ตามแบบ 117-2 ท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วย หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
ข้อ 17 การซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง บริษัทจัดการต้องซื้อหรือเช่าในราคาที่ไม่สูงกว่าราคาที่เปิดเผยไว้ในรายละเอียดของโครงการ และหากราคาที่จะซื้อหรือเช่าสูงกว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว บริษัทจัดการต้องชี้แจงข้อเท็จจริงและเหตุผลที่ซื้อหรือเช่าในราคานั้นในหนังสือชี้ชวนด้วย
การซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง หากบริษัทจัดการซื้อหรือเช่าในราคาที่สูงกว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้ จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว บริษัทจัดการต้องชี้แจงข้อเท็จจริงและเหตุผลซื้อหรือเช่าในราคาดังกล่าวตามที่กําหนดในข้อ 18
การจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม หากบริษัทจัดการจําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าในราคาที่ต่ํากว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว บริษัทจัดการต้องชี้แจงข้อเท็จจริงและเหตุผลที่จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าในราคาดังกล่าวตามที่กําหนดในข้อ 18
รายงานการประเมินค่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสาม จะจัดทําขึ้นล่วงหน้าก่อนการชื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ดังกล่าวได้ไม่เกินหกเดือน
ข้อ 17/1[28](#fn28) ความในข้อ 17 มิให้นํามาใช้บังคับในกรณีที่บริษัทจัดการซื้อ เช่า จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมโดยได้รับความยินยอมจากผู้ซื้อหรือผู้ถือหน่วยลงทุนตามวิธีการที่ระบุไว้ในโครงการ หรือตามมติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้นและในกรณีเช่นว่านี้ ให้บริษัทจัดการได้รับยกเว้นการปฏิบัติตาม ข้อ 18(2) (3) หรือ (4) และข้อ 25(3) (ข) หรือ (4) (ข)
ข้อ 18 ให้บริษัทจัดการจัดส่งหนังสือสรุปข้อมูลที่เป็นสาระสําคัญเกี่ยวกับการซื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมให้ผู้ถือหน่วยลงทุนและสํานักงานภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ซื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่า โดยหนังสือสรุปข้อมูลต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) ราคาที่ซื้อ เช่า จําหน่าย หรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(2) ราคาที่ได้จากรายงานการประมาณค่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน
(3) ข้อเท็จจริงและเหตุผลที่ซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมในราคาที่สูงกว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว
(4) ข้อเท็จจริงและเหตุผลที่จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมในราคาที่ต่ํากว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว
(5) ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อไถ่ถอนหน่วยลงทุนในกรณีที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์เมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม โดยต้องระบุจํานวนและมูลค่าหน่วยลงทุนที่ใช้ในการไถ่ถอนหน่วยลงทุนกําหนดเวลาปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน รวมทั้งกําหนดเวลาและวิธีการคืนเงินค่าไถ่ถอนหน่วยลงทุน
ข้อ 19 ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน เพื่อทําการประเมินค่าและการสอบทานการประเมินค่า โดยให้บริษัทจัดการเสนอรายชื่อบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินอย่างน้อยสองรายต่อผู้ดูแลผลประโยชน์ และให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินจํานวนหนึ่งรายตามที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์ เว้นแต่ในกรณีเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรกของกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินได้โดยไม่ต้องเสนอรายชื่อเพื่อขอรับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์
ในกรณีที่บริษัทประเมินค่าทรัพย์สินที่ได้รับแต่งตั้งจากบริษัทจัดการไม่สามารถทําการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่าได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินใหม่ โดยให้นําความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง บริษัทจัดการจะแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินให้ทําการประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์เดียวกันติดต่อกันเกินสองครั้งไม่ได้
ข้อ 20 บริษัทจัดการต้องจัดให้บริษัทประเมินค่าทรัพย์สินทําการสอบทานการประเมินค่า ณ วันทําการสุดท้ายของเดือนกันยายน
ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ใดได้มีการประเมินค่าครั้งล่าสุดไปแล้วก่อนวันทําการสุดท้ายของเดือนกันยายนเป็นระยะเวลาไม่เกินหกเดือน บริษัทจัดการอาจไม่จัดให้มีการสอบทานการประเมินค่าก็ได้ หากบริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์เห็นว่าไม่มีความจําเป็นที่จะต้องทําการสอบทานการประเมินค่า
ข้อ 21 ให้บริษัทจัดการแต่งตั้งบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินที่ทําการประเมินค่าครั้งล่าสุดเป็นผู้สอบทานการประเมินค่าตามข้อ 20
ข้อ 22 ให้บริษัทจัดการส่งสําเนารายงานการประเมินค่า พร้อมด้วยสําเนาเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ผู้ดูแลผลประโยชน์โดยพลัน และให้สํานักงานภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับรายงานการประเมินค่า เว้นแต่กรณีรายงานการประเมินค่าที่จัดให้มีขึ้นตามข้อ 20 ให้ส่งรายงานดังกล่าวให้เฉพาะผู้ดูแลผลประโยชน์
ข้อ 23 ภายใต้บังคับข้อ 16 ให้บริษัทจัดการคํานวณมูลค่าทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิและมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ณ วันทําการสุดท้ายของเดือนธันวาคม และดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) แจ้งมูลค่าที่คํานวณได้ให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ภายในวันทําการถัดจากวันที่คํานวณเพื่อให้ผู้ดูแลผลประโยชน์รับรองว่าการคํานวณมูลค่าดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศนี้
(2) แจ้งมูลค่าดังกล่าวข้างต้นที่ผู้ดูแลผลประโยชน์รับรองแล้วตาม (1) ให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบภายในห้าวันทําการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่คํานวณ
ข้อ 24 ในกรณีที่มีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขึ้นภายหลังจากวันที่คํานวณตามข้อ 23 อันมีผลกระทบต่อมูลค่าอสังหาริมทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ ให้บริษัทจัดการแจ้งเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบด้วย
ข้อ 25 ให้บริษัทจัดการจัดทํารายงานแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกองทุนรวมทุกรอบปีบัญชีสิ้นสุดเดือนธันวาคม และส่งให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน รวมทั้งส่งให้สํานักงานภายในสามเดือนนับตั้งแต่วันถัดจากวันสิ้นเดือนธันวาคม โดยรายงานดังกล่าวต้องมีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) รายการแสดงทรัพย์สินแยกตามประเภท คือ อสังหาริมทรัพย์ สิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ ตราสารแห่งหนี้ และเงินฝาก พร้อมทั้งมูลค่าทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุน ณ วันทําการสุดท้ายของปี
(2) รายละเอียดเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมทุกรายการ ซึ่งต้องระบุสาระสําคัญอย่างน้อยเกี่ยวกับชื่อ ที่ตั้ง ลักษณะ ประเภทการใช้งาน ขนาดพื้นที่ อายุการเช่า มูลค่าที่ได้จากรายงานการประเมินค่าครั้งล่าสุด และภาระผูกพันต่าง ๆ เป็นต้น
(3) รายละเอียดเกี่ยวกับการซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์แต่ละรายการในระหว่างระยะเวลาหนึ่งปี ซึ่งต้องระบุสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(ก) วันที่ ราคา และเหตุผลที่ซื้อหรือเช่า
(ข) รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินค่าก่อนการซื้อหรือเช่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน เช่น วันที่ทําการประเมินค่า ราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า และวิธีที่ใช้ในการประเมินค่า เป็นต้น
(ค) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อหรือเช่า
(4) รายละเอียดเกี่ยวกับการจําหน่ายหรือการโอนสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์แต่ละรายการใน ระหว่างระยะเวลาหนึ่งปี ซึ่งต้องระบุสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(ก) วันที่ ราคา และเหตุผลที่จําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่า
(ข) รายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินค่าก่อนการจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่าของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน เช่น วันที่ทําการประเมินค่า ราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่า และวิธีที่ใช้ในการประเมินค่า เป็นต้น
(ค) กําไรหรือขาดทุนจากการจําหน่ายหรือโอนสิทธิการเช่า และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(ง) มูลค่าตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่จําหน่ายหรือโอน
(5) รายละเอียดเกี่ยวกับการไถ่ถอนหน่วยลงทุนในกรณีที่มีการจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์เมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม โดยต้องระบุจํานวนหน่วยลงทุนที่ได้ไถ่ถอนทั้งหมด และจํานวนหน่วยลงทุนคงเหลือของกองทุนรวมนั้นภายหลังการไถ่ถอนหน่วยลงทุน
(6) งบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบและแสดงความเห็นโดยผู้สอบบัญชีที่มีคุณสมบัติตาม ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์
(7) การเปรียบเทียบงบดุลและงบกําไรขาดทุนของปีปัจจุบันและปีก่อน
(8) ความเห็นของผู้ดูแลผลประโยชน์เกี่ยวกับการดําเนินงานของกองทุนรวมในรอบระยะเวลาหนึ่งปีที่ผ่านมา
ข้อ 26 ในกรณีที่กองทุนรวมมีกําไรสุทธิจากรายได้ประจําหรือจากการขายอสังหาริมทรัพย์และบริษัทจัดการประสงค์จะจ่ายเงินปันผล ให้จ่ายเงินปันผลจากเงินได้ที่เป็นกําไรดังกล่าวแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนภายในเก้าสิบวันนับตั้งแต่วันถัดจากวันสิ้นงวดบัญชีประจําปี
การจ่ายเงินปันผลจากกําไรสุทธิจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษัทจัดการจ่ายได้ไม่เกิน สองในสามของกําไรสุทธิหลังหักค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์นั้น
ข้อ 26/1[29](#fn29) บริษัทจัดการอาจลดเงินทุนของกองทุนรวมโดยการลดจํานวนหน่วยลงทุนได้เมื่อมีสินทรัพย์สภาพคล่องส่วนเกินเนื่องจากเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้
(1)[30](#fn30) การตัดค่าเสื่อมราคาอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(2)[31](#fn31) การตัดบัญชีสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม
(3)[32](#fn32) การจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมภายในกําหนดระยะเวลาห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม
[33](#fn33) ในการลดเงินทุนของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง หากมิได้กําหนดไว้ในโครงการบริษัทจัดการ ต้องจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือมีหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน และได้มติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้น ทั้งนี้ ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องระบุจํานวนเงินทุนและจํานวนหน่วยลงทุนที่จะลด วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน และวันคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้
(1)[34](#fn34) ปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน และคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันปิดสมุดทะเบียนดังกล่าว
(2)[35](#fn35) ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุนเพื่อไถ่ถอนหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละราย ทั้งนี้ มูลค่าหน่วยลงทุนให้คํานวณจากมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน
[36](#fn36) เมื่อได้ดําเนินการตามวรรคสองแล้ว ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอจดทะเบียนลดเงินทุนของกองทุนรวมต่อสํานักงานภายในห้าวันทําการนับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ ผู้ถือหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ตามแบบ 117-2 ท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
ข้อ 27 บริษัทจัดการอาจเพิ่มเงินทุนของกองทุนรวมได้ภายในห้าปีนับตั้งแต่วันถัดจากวันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม โดยมีวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) เพื่อซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์เพิ่มเติม
(2) เพื่อดําเนินการปรับปรุงอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมให้อยู่ในสภาพที่ดีและมีความพร้อมที่จะใช้หาผลประโยชน์
ในการเพิ่มเงินทุนของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือมีหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุน เพื่อขอมติโดยเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งคิดตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้น ทั้งนี้ ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องระบุวัตถุประสงค์การเพิ่มเงินทุน อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจงจํานวนเงินทุนและจํานวนหน่วยลงทุนที่จะเพิ่ม วิธีการกําหนดราคาหน่วยลงทุนที่เสนอขาย และวิธีการจัดสรรหน่วยลงทุน
(2) ขอความเห็นชอบจากสํานักงาน โดยต้องระบุรายละเอียดเช่นเดียวกันกับการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนตาม (1) เป็นอย่างน้อย
(3) จัดส่ง หรือจัดให้มีหนังสือชี้ชวน โดยให้นําความในข้อ 5(2) มาใช้บังคับโดยอนุโลม
(4) จดทะเบียนเพิ่มเงินทุนของกองทุนรวมตามประกาศว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน และให้นําข้อ 12 แห่ง ประกาศ ที่ กน. 11/2540 และข้อ 9 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ข้อ 27/1[37](#fn37) มิให้นําข้อ 3(1) และ (5) ข้อ 6 (1) และข้อ 7 (1) (ข) มาใช้บังคับในกรณีที่เป็นโครงการที่มีการระดมเงินทุนในต่างประเทศ
[38](#fn38) ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร สํานักงานอาจพิจารณาผ่อนผันการปฏิบัติตามประกาศ ที่ กน. 11/2540 ประกาศนี้ และประกาศที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้กับกองทุนรวมตามโครงการที่มีการระดมเงินทุนในต่างประเทศได้
ข้อ 28 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2540
(นายอํานวย วีรวรรณ)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
หมายเหตุ:
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 19/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน ลงวันที่ 23/05/2540 ประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 01/05/2540 ฉบับททั่วไป เล่ม 114 ตอนที่ 35ง
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 25/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 23/05/2540 ประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 27/05/2540 ฉบับทั่วไป เล่ม 144 ตอนที่ 38ง
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 42/2540 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 28/11/2540 ประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 15/12/2540 ฉบับทั่วไป เล่ม 114 ตอนพิเศษ 115ง
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กน. 1/2541 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์สําหรับผู้ลงทุนสถาบัน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 29/01/2541 ประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2541 ฉบับทั่วไป เล่มที่ 115 ตอนพิเศษ 12ง
---
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.
29.
30.
31.
32.
33.
34.
35.
36.
37.
38. | 11,055 |
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สธ. 26/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 3) | ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ที่ สธ. 26/2565
เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล(ฉบับที่ 3)
\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_
อาศัยอํานาจตามความในข้อ 7/1 วรรคหนึ่ง แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 19/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 12) ลงวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกตารางท้ายประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 45/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ตารางท้ายประกาศนี้เป็นตารางท้ายประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สธ. 45/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 แทน
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2565
(นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
เลขาธิการ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ | 11,056 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง ลงวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2544 | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง[1](#fn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองกลาง ให้ดํารงตําแหน่งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง จํานวน 19 ราย ดังนี้
1. นายกมล สกลเดชา
2. นายกิตดนัย ธรมธัช
3. นายเกษม คมสัตย์ธรรม
4. นายชูพงศ์ เศวตจินดา
5. นายณัฐจักร ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา
6. นายดําริห์ สุตเตีย์
7. นายประทีป วรนิติ
8. นายประสาท พงษ์สุวรรณ์
9. นางปานตา ศิริวัฒน์
10. นางมณีวรรณ พรหมน้อย
11. นายวรวิทย์ กังศศิเทียม
12. นายวราวุธ ศิริยุทธ์วัฒนา
13. นายวิษณุ วรัญญู
14. นาวาเอก วุฒิ มีช่วย
15. นางศิริวรรณ จุลโพธิ์
16. นายสมชาย งามวงศ์ชน
17. นางสายสุดา เศรษฐบุตร
18. นางสุกัญญา นาชัยเวียง
19. นายอาลัย อิงคะวณิช
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม 2544 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2544
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
---
1. | 11,057 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง
ลงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2544 | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง[1](#fn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองกลางให้ดํารงตําแหน่งตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง จํานวน 3 ราย ดังนี้
1. นายจิรศักดิ์ จิรวดี
2. นายประวิทย์ เอื้อนิรันดร์
3. นายอดุล จันทรศักดิ์
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2544 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2544
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
---
1. | 11,058 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 754) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 754)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (992) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(992) มูลนิธิศัลย์ฯ สร้างข้อต่อชีวิต”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕63 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
(๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕63 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2563
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ รักษาราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,059 |
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 753) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ | ประกาศกระทรวงการคลัง
ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 753)
เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา
ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา
ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (991) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
“(991) มูลนิธิอารยศิลป์ สิริวัณณวรีนารีรัตน์”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ
(1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕63 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕64 เป็นต้นไป
(2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕63 เป็นต้นไป
ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2563
สันติ พร้อมพัฒน์
(นายสันติ พร้อมพัฒน์)
รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ รักษาราชการแทน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | 11,060 |
ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองเชียงใหม่ | ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี
เรื่อง แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองเชียงใหม่[1](#fn1)
มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองกลางให้ดํารงตําแหน่งต่างๆ ในศาลปกครองเชียงใหม่ จํานวน 10 ราย ดังนี้
1. นายอาลัย อิงคะวณิช ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง อธิบดีศาลปกครองเชียงใหม่
2. นายวรวิทย์ กังศศิเทียม ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง รองอธิบดีศาลปกครองเชียงใหม่
3. นายประทีป วรนิติ ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองเชียงใหม่
4. นางสาวกรรณิการ์ สุริยา ตุลาการศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองเชียงใหม่
5. นายจีรพัฒน์ กล่อมสกุล ตุลาการศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่
6. นายชัยโรจน์ เกตุกําเนิด ตุลาการศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่
7. นายีระเดช เดชะชาติ ตุลาการศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่
8. นายสะเทื้อน ชูสกุล ตุลาการศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่
9. นายสุจินต์ จุฑาธิปไตย ตุลาการศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่
10. นายสุรัตน์ พุ่มพวง ตุลาการศาลปกครองกลาง ดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองเชียงใหม่
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2544 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2544
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
---
1. | 11,061 |
Subsets and Splits
No community queries yet
The top public SQL queries from the community will appear here once available.