title
stringlengths
8
870
text
stringlengths
0
298k
__index_level_0__
int64
0
54.3k
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 699) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 699) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (956) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(956) มูลนิธินวธรรม” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕61 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕62 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,162
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 697) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 697) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (954) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(954) มูลนิธิภิรัชบุรี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2561 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,163
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 696) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 696) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (953) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑2 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕3๕ “(953) มูลนิธิพิพัฒน์ ปรีดาวิภาต” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,164
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 695) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 695) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (952) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(952) มูลนิธิพัฒนาเครื่องมือแพทย์ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,165
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 694) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 694) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (865) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔)พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(865) มูลนิธิพลังแห่งการเรียนรู้” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,166
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 693) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 693) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (951) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(951) มูลนิธิมนตรี ตราโมทในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,167
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 692) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 692) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (950) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(950) มูลนิธิธรรมาภิบาลทางการแพทย์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2560 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,168
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 691) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 691) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (949) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(949) มูลนิธิเบญจรงคกุล” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,169
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 690) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 690) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (394) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(394) มูลนิธิสถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2559เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,170
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 689) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 689) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (๘๙๐) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ (๘๙๐) มูลนิธิ ไฉ่ ฟ้า ว่องกุศลกิจ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,171
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 688) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 688) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (774) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(774 ) มูลนิธิสงเคราะห์เด็กและเยาวชน ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครศรีธรรมราช” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,172
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 687) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 687) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (๗๒๔) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๗๒๔) มูลนิธิสุทธิรัตน์ อยู่วิทยา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,173
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 686) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 686) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (948) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(948) มูลนิธิปกเกล้าตุลาการ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,174
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 685) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 685) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (947) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(947) มูลนิธิโรงพยาบาลปากเกร็ด” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,175
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 684) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 684) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่ง พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (946) ของข้อ 3 แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2535 “(946) มูลนิธิสงเคราะห์เด็กของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนนทบุรี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2560 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,176
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 683) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 683) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (945) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(945) มูลนิธิร่วมทางฝัน” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,177
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 682) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 682) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (944) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ "(944) มูลนิธิกองบัญชาการตํารวจนครบาล” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,178
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 681) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 681) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (223) ของข้อ 3 แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(223) มูลนิธิเพื่อสถาบันราชานุกูล ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์” ตอน ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,179
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 680) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 680) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (943) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(943) มูลนิธิเขมไชย รสานนท์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,180
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๒
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยที่มาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๖ และมาตรา ๖๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ กําหนดให้การดําเนินการทั้งปวงเกี่ยวกับการฟ้อง การร้องสอดการเรียกบุคคล หน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้ามาเป็นคู่กรณีในคดี การดําเนินกระบวนพิจารณา การรับฟังพยานหลักฐาน และการพิพากษาคดีปกครอง รวมทั้งการยื่นคําฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสาร และการดําเนินกระบวนพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๖ และมาตรา ๖๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๒” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ ถ้าข้อความมิได้แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น “กระบวนพิจารณาคดีปกครองโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า กระบวนพิจารณาที่ใช้ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และให้หมายความรวมถึงระบบการประชุมทางจอภาพ “ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ระบบงานที่ศาลปกครองจัดให้มีขึ้นเพื่อการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีปกครองโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การฟ้องคดี การยื่น ส่ง และรับ คําให้การ คําคัดค้านคําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ หรือพยานหลักฐาน รวมถึงคําสั่งศาล หมายเรียก หรือเอกสารอื่นใด ในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ “ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ข้อความที่ได้สร้าง ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผลด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิธีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อดิจิทัลอื่นใด “ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ์อื่นใดที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งนํามาใช้ประกอบกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น และเพื่อแสดงว่าบุคคลดังกล่าวยอมรับข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้น “สิ่งพิมพ์ออก” หมายความว่า สิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการนําเสนอหรือเก็บรักษาไว้ในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๔ วิธีพิจารณาคดีปกครองที่ระเบียบนี้มิได้กําหนดไว้โดยเฉพาะ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง และระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๕ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ กับให้มีอํานาจออกประกาศหรือคําสั่งเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ส่วน ส่วนที่ ๑ บททั่วไป ข้อ ๖ ผู้ประสงค์จะฟ้องคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ตามส่วนที่ ๒ หรือดําเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ตามส่วนที่ ๓ จะต้องลงทะเบียนในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ตามขั้นตอนและวิธีการที่กําหนด การลงทะเบียนในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ให้ระบุข้อมูลตามที่กําหนดในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ และให้ถือว่าผู้ลงทะเบียนได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลที่ให้ไว้ในการลงทะเบียนนั้น การลงทะเบียนเป็นอันเสร็จสมบูรณ์ เมื่อผู้ลงทะเบียนได้นําชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านที่ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ได้แจ้งไปยังที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เข้ายืนยันการลงทะเบียน ข้อ ๗ ชื่อผู้ใช้ระบบและรหัสผ่านสําหรับระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ลงทะเบียนจะต้องเก็บรักษาไว้เป็นความลับ การนําชื่อผู้ใช้ระบบและรหัสผ่านเข้าใช้งานในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือว่าผู้ลงทะเบียนเป็นผู้ใช้ระบบ ข้อ ๘ ผู้ลงทะเบียนต้องยอมรับและปฏิบัติตามข้อกําหนดการใช้งานระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ตามที่สํานักงานศาลปกครองประกาศกําหนด ผู้ลงทะเบียนที่ไม่ได้ปฏิบัติหรือฝ่าฝืนข้อกําหนดการใช้งาน ศาลอาจมีคําสั่งให้ระงับการใช้งานระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ของผู้นั้นได้ เว้นแต่ในกรณีที่มีความจําเป็นเร่งด่วนซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ให้เจ้าหน้าที่สามารถดําเนินการระงับการใช้งานของผู้นั้นไปก่อนได้แล้วรายงานศาลเพื่อมีคําสั่งต่อไป ข้อ ๙ คําฟ้อง คําให้การ คําคัดค้านคําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ พยานหลักฐาน หรือเอกสารอื่นใดที่กฎหมายกําหนดให้ผู้ยื่นจะต้องลงลายมือชื่อหรือรับรองข้อความในเอกสารดังกล่าว เมื่อผู้ยื่นได้ยื่นหรือส่งเอกสารดังกล่าวทางระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือว่าผู้ยื่นได้ลงลายมือชื่อหรือรับรองข้อความในเอกสารนั้นแล้ว ข้อ ๑๐ ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้การใดต้องทําเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือมีเอกสารมาแสดง หรือแสดงพยานหลักฐานที่เป็นหนังสือ ถ้าได้มีการจัดทําข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและนํากลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง ให้ถือว่าข้อความนั้นได้ทําเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ มีเอกสารมาแสดง หรือแสดงพยานหลักฐานที่เป็นหนังสือแล้ว ข้อ ๑๑ สํานวนคดี เอกสารของคู่กรณี พยานหลักฐาน รายงานกระบวนพิจารณาคําพิพากษา คําสั่ง หรือเอกสารอื่นใดที่รวมไว้ในสํานวนคดี ไม่ว่าจะเป็นเอกสารต้นฉบับหรือสาเนาคู่ฉบับถ้าศาลเห็นสมควร จะมีคําสั่งให้เก็บรักษาหรือนําเสนอในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ และให้ถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวที่รับรองโดยวิธีการที่กําหนดในประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นสําเนาเอกสารและให้ใช้แทนต้นฉบับได้ ข้อ ๑๒ รูปแบบหรือขนาดของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการยื่นหรือส่งเอกสารทางระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ให้เป็นไปตามที่สํานักงานศาลปกครองประกาศกําหนด ข้อ ๑๓ รายงานกระบวนพิจารณาที่กระทําในกระบวนพิจารณาคดีปกครองโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หากเป็นกรณีที่ได้กระทําต่อหน้าคู่กรณีหรือพยาน ให้ถือว่าคู่กรณีหรือพยานนั้นได้ทราบและลงลายมือชื่อในรายงานกระบวนพิจารณานั้นแล้ว เมื่อศาลได้อ่านรายงานกระบวนพิจารณาให้คู่กรณีหรือพยานได้รับฟัง ความในวรรคหนึ่งให้ใช้กับบันทึกถ้อยคําของคู่กรณีหรือพยานด้วย ข้อ ๑๔ การลงลายมือชื่อของตุลาการศาลปกครองในคําพิพากษา คําสั่งศาล หมายเรียก หรือเอกสารอื่นใดที่กระทําเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ และให้ถือว่าเป็นต้นฉบับเอกสาร ข้อ ๑๕ การเริ่มเปิดใช้ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ในศาลปกครองสูงสุดหรือศาลปกครองชั้นต้นใด ให้เป็นไปตามประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้นแล้วแต่กรณี ส่วน ส่วนที่ ๒ การฟ้องคดีทางอิเล็กทรอนิกส์หรือโทรสาร ข้อ ๑๖ การยื่นคําฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อดิจิทัลอื่นใด ให้ผู้ที่ประสงค์ยื่นคําฟ้องซึ่งได้ลงทะเบียนในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ระบุข้อมูลเกี่ยวกับคําฟ้องตามวิธีการที่กําหนดในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๑๗ การยื่นคําฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อดิจิทัลอื่นใด ให้ถือว่าวันที่ข้อมูลเข้าสู่ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์เสร็จสมบูรณ์ เป็นวันที่ส่งคําฟ้องต่อศาลปกครอง ข้อ ๑๘ คําฟ้องอาจยื่นได้ในเวลาทําการหรือนอกเวลาทําการปกติของศาลปกครองและในเวลาที่ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์เปิดใช้งาน ทั้งนี้ การยื่นคําฟ้องนอกเวลาทําการปกติให้ถือว่าเป็นการยื่นในวันทําการแรกที่ศาลเปิดทําการปกติถัดไป โดยให้ถือตามเวลาของระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๑๙ การยื่นคําฟ้องต่อศาลด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือว่าผู้ฟ้องคดีมีความประสงค์ที่ให้มีการดําเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ในเวลาต่อไปด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นคําร้องต่อศาลพร้อมแสดงเหตุผลความจําเป็นที่ไม่อาจดําเนินกระบวนพิจารณาต่อไปด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ และศาลอนุญาต ข้อ ๒๐ การยื่นคําฟ้องโดยส่งทางโทรสาร ให้ผู้ยื่นคําฟ้องส่งไปยังหมายเลขโทรสารของศาลตามที่สํานักงานศาลแต่ละแห่งประกาศกําหนด และจัดส่งต้นฉบับคําฟ้องต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลในโอกาสแรกที่จะกระทําได้ ทั้งนี้ ให้ถือว่าวันที่ปรากฏในหลักฐานการรับโทรสารของสํานักงานศาลเป็นวันที่ส่งคําฟ้องต่อศาลปกครอง เว้นแต่จะมีการพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจากนั้น ต้นฉบับคําฟ้องและพยานหลักฐานที่ส่งพร้อมกับคําฟ้อง ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้ผู้ยื่นต้องมีการลงลายมือชื่อหรือรับรองข้อความในเอกสารดังกล่าว ผู้ยื่นต้องลงลายมือชื่อหรือรับรองข้อความในเอกสารดังกล่าวด้วย ส่วน ส่วนที่ ๓ การยื่น ส่ง และรับ คําให้การ คําคัดค้านคําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ พยานหลักฐาน คําสั่งศาล หมายเรียก หรือเอกสารอื่นใด โดยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือโดยโทรสาร ข้อ ๒๑ คู่กรณี หน่วยงานทางปกครอง เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลที่ศาลมีคําสั่งให้ชี้แจงข้อเท็จจริง ให้ความเห็นเป็นหนังสือ หรือให้ถ้อยคําประกอบการพิจารณา อาจยื่นคําให้การ คําคัดค้าน คําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ พยานหลักฐาน หรือเอกสารอื่นใดต่อศาลโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ การยื่นเอกสารตามวรรคหนึ่ง ต้องกระทําในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ และให้นําหลักเกณฑ์และวิธีการในการฟ้องคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาบังคับใช้โดยอนุโลม ข้อ ๒๒ ในการยื่นคําให้การ คําคัดค้านคําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ พยานหลักฐาน หรือเอกสารอื่นใดโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือว่าวันที่มีการนําเข้าซึ่งข้อมูลมาถึงระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์เสร็จสมบูรณ์ เป็นวันที่ยื่นเอกสารต่อศาลปกครอง ข้อ ๒๓ ผู้ยื่นอาจยื่นเอกสารในเวลาทําการหรือนอกเวลาทําการปกติของศาลปกครองและในเวลาที่ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์เปิดใช้งาน ทั้งนี้ การยื่นเอกสารนอกเวลาทําการปกติให้ถือว่าเป็นการยื่นในวันทําการแรกที่ศาลเปิดทําการปกติถัดไป โดยให้ถือตามเวลาของระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๒๔ การส่งหรือแจ้งคําให้การ คําคัดค้านคําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ หรือพยานหลักฐาน รวมถึงคําสั่งศาล หมายเรียก หรือเอกสารอื่นใดแก่คู่กรณี หรือบุคคลที่ลงทะเบียนไว้แล้ว ให้ส่งหรือแจ้งทางระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ และให้ถือว่าผู้รับได้รับแจ้งเมื่อมีการแจ้งสถานะการส่งหรือแจ้งดังกล่าวเข้าสู่ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ไปยังที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ให้ไว้ในการลงทะเบียน ข้อ ๒๕ การยื่นคําให้การ คําคัดค้านคําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ พยานหลักฐาน หรือเอกสารอื่นใดโดยส่งทางโทรสาร ให้ผู้ยื่นส่งไปยังหมายเลขโทรสารของศาลตามที่สํานักงานศาลแต่ละแห่งประกาศกําหนด และให้จัดส่งต้นฉบับเอกสารต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลในโอกาสแรกที่จะกระทําได้ ทั้งนี้ ให้ถือว่าวันที่ปรากฏในหลักฐานการรับโทรสารของสํานักงานศาล เป็นวันที่ยื่นเอกสารต่อศาลปกครอง เว้นแต่จะมีการพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจากนั้น ต้นฉบับเอกสารตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่กฎหมายกําหนดให้ผู้ยื่นต้องมีการลงลายมือชื่อหรือรับรองข้อความในเอกสารดังกล่าว ผู้ยื่นต้องลงลายมือชื่อหรือรับรองข้อความในเอกสารดังกล่าวด้วย ข้อ ๒๖ กรณีที่ศาลมีคําสั่งให้ส่งหรือแจ้งคําให้การ คําคัดค้านคําให้การ คําให้การเพิ่มเติม คําชี้แจง คําแถลง คําร้อง คําขอ หรือพยานหลักฐาน รวมถึงคําสั่งศาล หมายเรียก หรือเอกสารอื่นใดแก่คู่กรณี ให้ส่งไปยังหมายเลขโทรสารที่คู่กรณีได้ให้ไว้ ในกรณีนี้ให้ถือว่าวันที่ปรากฏในหลักฐานการส่งโทรสารของสํานักงานศาล เป็นวันที่คู่กรณีได้รับเอกสาร ส่วน ส่วนที่ ๔ การพิจารณาคดีโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบการประชุมทางจอภาพ ข้อ ๒๗ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีคําขอและศาลเห็นว่าจะเป็นประโยชน์แก่ความยุติธรรมหรือเพื่ออํานวยความสะดวกแก่คู่กรณี ศาลอาจมีคําสั่งให้ดําเนินกระบวนพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพ ในกรณีที่คู่กรณีมีคําขอ ให้ยื่นคําขอต่อศาลที่จะทําการพิจารณาคดีนั้น โดยระบุสถานที่ที่ใช้เชื่อมโยงสัญญาณกับศาลและวิธีการที่จะใช้ ทั้งนี้ ให้ยื่นคําขอล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนที่จะมีการพิจารณาคดีเช่นว่านั้น เว้นแต่จะได้แสดงเหตุผลให้เป็นที่พอใจแก่ศาลว่ามีเหตุจําเป็นเร่งด่วนที่ไม่อาจยื่นคําขอล่วงหน้าตามกําหนดดังกล่าวได้ ในกรณีที่เป็นคู่กรณีซึ่งได้ลงทะเบียนในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์แล้ว การยื่นคําขอให้ยื่นในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ สถานที่ที่ใช้เชื่อมโยงสัญญาณกับศาลและวิธีการที่จะใช้ตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามประกาศของสํานักงานศาลปกครอง ในการพิจารณามีคําสั่งตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลคํานึงถึงมาตรฐานของวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพในการถ่ายทอดภาพและเสียงได้อย่างชัดเจนและต่อเนื่องประกอบด้วย บทเฉพาะกาล บทเฉพาะกาล ข้อ ๒๘ ในวาระเริ่มแรก ในกรณีที่คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดประสงค์ที่จะดําเนินกระบวนพิจารณาโดยระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ แต่คู่กรณีอื่นไม่ได้ใช้ระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์บรรดาสําเนาเอกสารหรือสําเนาพยานหลักฐานที่ต้องส่งให้แก่คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งในรูปกระดาษหรือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้สํานักงานศาลปกครองเป็นผู้จัดทําสิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นเอกสารในรูปกระดาษ หรือแปลงเอกสารในรูปกระดาษเป็นรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายในการจัดทําสิ่งพิมพ์ออกหรือแปลงเอกสารดังกล่าวให้เป็นไปตามประกาศของสํานักงานศาลปกครอง ข้อ ๒๙ ในวาระเริ่มแรก การลงลายมือชื่อของตุลาการศาลปกครองในคําพิพากษา คําสั่งศาล หมายเรียก หรือเอกสารอื่นใดที่กระทําเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้ใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือลงลายมือชื่อในเอกสารรูปกระดาษแล้วนําเข้าในระบบงานคดีปกครองอิเล็กทรอนิกส์ และให้ถือว่า เป็นต้นฉบับเอกสาร ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ปิยะ ปะตังทา ประธานศาลปกครองสูงสุด
11,181
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 679) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 679) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (942) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(942) มูลนิธิแม่บ้านทหารอากาศ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,182
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 678) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 678) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (941) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(941) มูลนิธินักเรียนเก่าเตรียมอุดมศึกษา” ข้อ ๒ ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,183
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 677) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 677) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (940) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(940) มูลนิธิกัลยาณมิตรเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,184
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 676) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 676) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 939 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑2 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕3๕ “( 939 )๐สมาคมนักเรียนเก่าราชินี ในพระบรมราชินูปถัมภ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕60 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕61 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,185
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 675) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 675) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 938 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 938 ) มูลนิธิคณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,186
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการดำเนินกระบวนพิจารณา และพิพากษาคดีปกครองที่โอนมาจากเรื่องร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๔๔
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาและพิพากษาคดีปกครอง ที่โอนมาจากเรื่องร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๔๔ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๐๓ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาและพิพากษาคดีปกครองที่โอนมาจากเรื่องร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๔๔” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้สํานักงานศาลปกครองเสนอบัญชีเรื่องร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาที่โอนมาเป็นคดีของศาลปกครองตามมาตรา ๑๐๓ วรรคสาม พร้อมสํานวนเรื่องร้องทุกข์ดังกล่าวต่ออธิบดีศาลปกครองกลางภายในสามสิบวันนับแต่วันเปิดทําการศาลปกครองกลาง บัญชีตามวรรคหนึ่ง ให้แยกเป็นประเภท ลักษณะ และขั้นตอนที่ค้างอยู่ในเรื่องร้องทุกข์ที่โอนมาเป็นคดีของศาลปกครอง ข้อ ๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลลงทะเบียนคดีที่โอนมาตามข้อ ๓ ในสารบบความ คดีที่โอนมาตามข้อ ๓ ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลทุกชั้นศาล ข้อ ๕ ให้อธิบดีศาลปกครองกลางพิจารณาจ่ายสํานวนคดีที่โอนมาให้แก่องค์คณะเพื่อพิจารณาพิพากษาต่อไป ข้อ ๖ เมื่อองค์คณะได้รับคดีที่โอนมาแล้ว ให้พิจารณาว่าคดีนั้นอยู่ในอํานาจของศาลปกครองหรือไม่ ในกรณีที่องค์คณะเห็นว่าเป็นคดีที่ไม่อยู่ในอํานาจของศาลปกครอง ให้องค์คณะมีคําสั่งไม่รับคดีนั้นไว้พิจารณาและสั่งจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ และให้ศาลปกครองกลางแจ้งคําสั่งดังกล่าวทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปยังผู้ร้องทุกข์ ผู้ร้องทุกข์มีสิทธิยื่นคําร้องอุทธรณ์คําสั่งไม่รับคดีไว้พิจารณาตามวรรคสองต่อศาลปกครองสูงสุดภายในกําหนดระยะเวลาสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งของศาลปกครองกลาง คําร้องตามวรรคสามให้ยื่นต่อศาลปกครองกลาง และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลปกครองกลางรีบส่งคําร้องดังกล่าวพร้อมด้วยสํานวนคดีและคําสั่งไม่รับคดีไว้พิจารณาของศาลปกครองกลางไปยังศาลปกครองสูงสุดโดยพลัน ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดส่งคําร้องดังกล่าวให้องค์คณะในศาลปกครองสูงสุดเพื่อพิจารณาคําร้องและมีคําสั่งยืนตามคําสั่งไม่รับคดีไว้พิจารณาของศาลปกครองกลาง หรือมีคําสั่งให้รับคดีไว้พิจารณา แล้วส่งให้ศาลปกครองกลางอ่าน คําสั่งให้รับคดีไว้พิจารณาขององค์คณะในศาลปกครองสูงสุดตามวรรคห้า ให้กําหนดด้วยว่าเป็นคดีที่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๑๐ หรือศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๑ ในการอ่านคําสั่งของศาลปกครองสูงสุด ให้ศาลปกครองกลางแจ้งให้ผู้ร้องทุกข์และหน่วยงานที่รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องทราบกําหนดวันอ่านคําสั่งเป็นการล่วงหน้าตามสมควร ถ้าผู้ร้องทุกข์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ และเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือผู้แทนทั้งหมดไม่มาศาลในวันนัดอ่านคําสั่งศาล ให้ศาลงดการอ่านและบันทึกไว้ และให้ศาลปกครองกลางแจ้งคําสั่งดังกล่าวทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปยังผู้ร้องทุกข์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐทั้งหมดหรือบางส่วนที่มิได้มาศาล ในกรณีที่องค์คณะในศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งตามวรรคห้าและวรรคหกว่าเป็นคดีที่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองชั้นต้น ให้ศาลปกครองกลางดําเนินการต่อไปโดยให้นําความในข้อ ๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลม หากมีคําสั่งว่าเป็นคดีที่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองสูงสุด ให้ศาลปกครองสูงสุดดําเนินการต่อไปโดยให้นําความในข้อ ๘ วรรคสองและวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๗ ในกรณีที่องค์คณะซึ่งได้รับคดีที่โอนมาเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๑๐ ให้องค์คณะมีคําสั่งรับคดีไว้พิจารณา แล้วพิจารณาพิพากษาคดีต่อไป โดยให้ถือว่าผู้ร้องทุกข์เป็นผู้ฟ้องคดี และหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งองค์คณะกําหนดเป็นผู้ถูกฟ้องคดี ในการพิจารณาพิพากษาคดีตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นอํานาจขององค์คณะที่จะงดเว้นกระบวนพิจารณาใดเพราะเหตุที่ได้มีการดําเนินการมาแล้วโดยสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาหรือคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมาย ก่อนที่องค์คณะจะมีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดี ให้ตุลาการผู้แถลงคดีเสนอคําแถลงการณ์ด้วยวาจาต่อองค์คณะ เว้นแต่องค์คณะจะเห็นสมควรให้จัดทําคําแถลงการณ์เป็นหนังสือ ข้อ ๘ ในกรณีที่องค์คณะซึ่งได้รับคดีที่โอนมาเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๑ ให้องค์คณะเสนออธิบดีศาลปกครองกลาง เพื่อพิจารณาสั่งให้ส่งคดีไปยังศาลปกครองสูงสุดเพื่อพิจารณาดําเนินการต่อไป ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลปกครองสูงสุดลงทะเบียนคดีดังกล่าวในสารบบความ แล้วเสนอประธานศาลปกครองสูงสุดเพื่อจ่ายสํานวนให้แก่องค์คณะในศาลปกครองสูงสุด ถ้าองค์คณะในศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองสูงสุด ให้มีคําสั่งรับคดีไว้พิจารณา แล้วให้ดําเนินการต่อไป โดยให้นําความในข้อ ๗ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ถ้าองค์คณะในศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าเป็นคดีที่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองชั้นต้น ให้เสนอความเห็นต่อประธานศาลปกครองสูงสุดเพื่อสั่งให้ส่งคดีนั้นคืนศาลปกครองกลาง และให้ศาลปกครองกลางดําเนินการตามข้อ ๕ และข้อ ๗ ต่อไป ในกรณีที่องค์คณะในศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าคดีที่ส่งมาไม่อยู่ในอํานาจของศาลปกครอง ให้มีคําสั่งไม่รับคดีนั้นไว้พิจารณาและจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ ข้อ ๙ นอกจากวิธีพิจารณาคดีปกครองที่กําหนดไว้โดยเฉพาะในระเบียบนี้ ให้นําวิธีพิจารณาคดีปกครองที่กําหนดไว้ในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยองค์คณะการจ่ายสํานวนการโอนคดี การปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการในคดีปกครอง การคัดค้านตุลาการศาลปกครอง การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานคดีปกครอง และการมอบอํานาจให้ดําเนินคดีปกครองแทนและระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับกับการดําเนินกระบวนพิจารณาพิพากษาคดีปกครองที่โอนมาตามข้อ ๓ โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาอุทธรณ์ ให้ตุลาการผู้แถลงคดีเสนอคําแถลงการณ์ด้วยวาจา เว้นแต่องค์คณะในศาลปกครองสูงสุดจะเห็นสมควรให้จัดทําคําแถลงการณ์เป็นหนังสือ ข้อ ๑๐ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ กับให้มีอํานาจออกประกาศหรือคําสั่งเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๔ อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด
11,187
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 674 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 674 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 937 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 937 ) มูลนิธิอนุรักษ์พันธุกรรมพืชสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,188
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 673 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 673 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 936 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 936 ) มูลนิธิโรงเรียนวัฒนะโชติ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,189
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 672) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 672) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน ( 853 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “( 853 ) มูลนิธิวันชัย – อรชร คุณานันทกุล” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕59 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,190
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 671 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 671 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 935 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 935 ) มูลนิธิราชสกุลอาภากร ในพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,191
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 670 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 670 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 934 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 934 ) มูลนิธิมวลมหาประชาชนเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,192
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 669 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 669 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 933 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 933 ) มูลนิธิสว่างดาวดึงส์ธรรม” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,193
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 668 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 668 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 932 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 932 ) มูลนิธิเมืองไทยยิ้ม” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,194
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 667 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 667 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 931 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “ ( 931 ) ศรีวิชัย มูลนิธิ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,195
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. 2544
**Update ถึง ระเบียบฯ (ฉ.๒/๒๕๖๖)** ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ วินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๔ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๔” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๓ เมื่อมีกรณีต้องคัดเลือกบุคคลผู้มีความรู้และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครอง เพื่อเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลตามมาตรา ๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศให้ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเสนอชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับการคัดเลือกต่อเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองตามแบบท้ายระเบียบนี้ ภายในระยะเวลาที่ประธานศาลปกครองสูงสุดกําหนด การเสนอชื่อตามวรรคหนึ่ง ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดอาจเสนอชื่อบุคคลซึ่งรับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือบุคคลอื่นซึ่งมีความรู้และมีประสบการณ์เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง ทั้งนี้ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดแต่ละคนมีสิทธิเสนอชื่อได้เพียงหนึ่งชื่อ ข้อ ๔ ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ได้รับการเสนอชื่อให้แล้วเสร็จและจัดส่งรายชื่อบุคคลดังกล่าวพร้อมทั้งรายงานผลการตรวจสอบคุณสมบัติให้ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทราบก่อนวันประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามข้อ ๕ ไม่น้อยกว่าสามวันทําการ ข้อ ๕ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดเรียกประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเพื่อคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๓ การประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามวรรคหนึ่ง ต้องมีตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม ข้อ ๖ ในการประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดแต่งตั้งข้าราชการในสํานักงานศาลปกครองไม่น้อยกว่าสามคนเป็นคณะกรรมการนับคะแนน การลงมติในที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดให้กระทําโดยทําเครื่องหมายกากบาทอย่างชัดเจนลงหน้าชื่อผู้ซึ่งตนเลือกจํานวนหนึ่งคนในบัตรตามแบบท้ายระเบียบ และบัตรทุกบัตรต้องมีลายมือชื่อของเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองและรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมายกํากับไว้เป็นหลักฐาน แล้วนําบัตรไปใส่ลงในหีบบัตรลงคะแนน บัตรที่ไม่มีกากบาทหน้าชื่อหรือกากบาทหน้าชื่อเกินกว่าหนึ่งชื่อ หรือบัตรที่ไม่มีลายมือชื่อของเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองและรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมายกํากับไว้เป็นหลักฐาน ให้ถือเป็นบัตรเสีย เมื่อตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่เข้าประชุมลงคะแนนครบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ดําเนินการเปิดหีบบัตรเพื่อนับคะแนน โดยให้ผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุดและมีคะแนนเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่เข้าประชุมเป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในกรณีที่ไม่มีผู้ได้รับการคัดเลือกให้นํารายชื่อผู้ได้รับคะแนนสูงสุดเรียงลงไปตามลําดับจํานวนสองคนหรือเกินกว่าสองคนในกรณีที่มีผู้ได้รับคะแนนเท่ากัน มาให้ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดลงมติจนกว่าจะมีผู้ได้รับคะแนนสูงสุดและให้ผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุดนั้นเป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ข้อ ๗ ในกรณีที่มีผู้ได้รับการเสนอชื่อเพียงคนเดียว การลงมติของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดให้กระทําโดยวิธีการที่ที่ประชุมใหญ่กําหนด หากไม่มีผู้ไม่เห็นด้วยเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่เข้าประชุม ให้ผู้นั้นเป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ข้อ ๘ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ กับให้มีอํานาจออกประกาศหรือคําสั่งเพื่อปฏิบัติการตามระเบียบนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๔ อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด อื่นๆ **แบบแนบท้ายระเบียบนี้ ดูได้ที่เนื้อหากฎหมายไฟล์ PDF** ๑. แบบเสนอชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการผู็ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล ตามมาตรา ๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒. บัตรเลือกบุคคลเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลตามมาตรา ๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒
11,196
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2566
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ วินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๖๖ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๔ ให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาด อํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วย วิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๖” ข้อ ๒[[1]](#footnote-1) ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ ๖ แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด อํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การลงมติในที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดให้กระทําโดยทําเครื่องหมายกากบาท อย่างชัดเจนลงหน้าชื่อผู้ซึ่งตนเลือกจํานวนหนึ่งคนในบัตรตามแบบท้ายระเบียบ และบัตรทุกบัตรต้องมี ลายมือชื่อของเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองและรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมายกํากับไว้เป็นหลักฐาน แล้วนําบัตรไปใส่ลงในหีบบัตรลงคะแนน บัตรที่ไม่มีกากบาทหน้าชื่อหรือกากบาทหน้าชื่อเกินกว่าหนึ่งชื่อ หรือบัตรที่ไม่มีลายมือชื่อของเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองและรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง มอบหมายกํากับไว้เป็นหลักฐาน ให้ถือเป็นบัตรเสีย” ข้อ ๔ ให้ยกเลิกบัตรเลือกบุคคลเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด อํานาจหน้าที่ระหว่างศาล ตามมาตรา ๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ ตามแบบท้ายระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๔ และให้ใช้บัตรเลือกบุคคลตามแบบท้ายระเบียบนี้แทน ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ประธานศาลปกครองสูงสุด ![]() **บัตรเลือกบุคคล** **เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่** **ระหว่างศาล ตามมาตรา ๕ (๒) แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาด อํานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒** ข้าพเจ้าขอเลือกบุคคลต่อไปนี้ เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล (ชื่อและชื่อสกุลของผู้ได้รับการเสนอชื่อ)................................................ (ชื่อและชื่อสกุลของผู้ได้รับการเสนอชื่อ)................................................ ฯลฯ (ลงชื่อ) ...................................... (......................................) รองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ......../......../........ (ลงชื่อ) ...................................... (......................................) เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ......../......../........ หมายเหตุ ให้ทําเครื่องหมายกากบาทลงในช่อง หน้าชื่อบุคคลที่ต้องการเลือกได้จํานวนหนึ่งคน --------------------------------------------------- นางขนิษฐา ปายะฤทธิ์/จัดทํา นางสาวสุธารัตน์ ทองเต่าอินทร์/ตรวจ นางสาวพิมพนัส สายสุด รกน. ผอ.กลุ่ม ขก. วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๔๐/ตอนที่ ๖๒ ก/หน้า ๑/๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ [↑](#footnote-ref-1)
11,197
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 666 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 666 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 630 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 930 ) มูลนิธิพรรณนิภา “ ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,198
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 665 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 665 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 929 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 929 ) มูลนิธิคุณแม่น้อย จงสถิตย์วัฒนา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,199
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 664) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 664) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน ( 12 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “( 12 ) มูลนิธิ พล.ต.อ.เภา สารสิน” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕56 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,200
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 663) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 663) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 928 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(๗928) มูลนิธิคุณแม่จินตนา ธนาลงกรณ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ (นายวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,201
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 662) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 662) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 927 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 927 ) มูลนิธิเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,202
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 661) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 661) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 926 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 926 ) มูลนิธิธงชัย ใจดี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,203
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 660) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 660) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 925 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 925 ) สมาคมศิษย์วัดสันปูเลยสะหลีเวียงแก้ว จังหวัดเชียงใหม่” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,204
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการกำหนดคดี หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอบังคับคดีตามคำพิพากษาศาลปกครองชั้นต้น พ.ศ. 2560
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการกําหนดคดี หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอบังคับคดี ตามคําพิพากษาศาลปกครองชั้นต้น พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยที่มาตรา ๗๐ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ บัญญัติให้คู่กรณีฝ่ายชนะคดี ในคดีที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดอาจยื่นคําขอต่อศาลปกครองให้บังคับคดีตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นได้โดยไม่ต้องรอจนกว่าคดีจะถึงที่สุด โดยให้ชี้แจงเหตุผลอันสมควรที่ขอให้มีการปฏิบัติตามคําบังคับและให้ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาคําขอและมีคําสั่งตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗๐ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการกําหนดคดี หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอบังคับคดีตามคําพิพากษาศาลปกครองชั้นต้นพ.ศ. ๒๕๖๐” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ คดีดังต่อไปนี้ เมื่อมีการอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด คู่กรณีฝ่ายชนะคดีในศาลปกครองชั้นต้นอาจยื่นคําขอต่อศาลปกครองชั้นต้นหรือศาลปกครองสูงสุดให้มีการปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองชั้นต้นได้ โดยไม่ต้องรอจนกว่าคดีจะถึงที่สุด (๑) คดีที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคําบังคับห้ามการกระทําทั้งหมดหรือบางส่วนตามมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๑) (๒) คดีที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคําบังคับให้หัวหน้าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติหน้าที่ภายในเวลาที่ศาลปกครองชั้นต้นกําหนดตามมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๒) (๓) คดีที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคําบังคับตามมาตรา ๗๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) (๕) และคู่กรณีที่ต้องปฏิบัติตามคําบังคับ ดังกล่าวมิได้อุทธรณ์คําพิพากษา ข้อ ๔ การยื่นคําขอตามข้อ ๓ ให้ยื่นภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พ้นกําหนดระยะเวลา ยื่นอุทธรณ์ โดยทําเป็นคําขอยื่นต่อศาล พร้อมทั้งให้ชี้แจงเหตุผลอันสมควรที่ขอให้มีการปฏิบัติตามคําบังคับไว้ในคําขอนั้นด้วย คําขอตามวรรคหนึ่ง ให้ยื่นต่อศาลปกครองชั้นต้นที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้น ถ้าเป็นกรณีที่ศาลปกครองชั้นต้นนั้นได้มีคําสั่งรับอุทธรณ์แล้ว ให้ยื่นต่อศาลปกครองสูงสุด แต่ถ้าผู้ยื่นคําขอได้ยื่นต่อศาลปกครองชั้นต้นก็ให้ศาลปกครองชั้นต้นรีบส่งคําขอนั้นไปยังศาลปกครองสูงสุดโดยพลัน ข้อ ๕ การมีคําสั่งไม่รับคําขอ ยกคําขอ หรือสั่งให้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองชั้นต้นให้กระทําโดยองค์คณะ ในกรณีที่ศาลเห็นสมควร ศาลจะไต่สวนหรือแสวงหาข้อเท็จจริงด้วยวิธีอื่นใดก่อนมีคําสั่งเกี่ยวกับคําขอดังกล่าวด้วยก็ได้ ในกรณีที่ศาลเห็นว่าคดีที่ยื่นคําขอเป็นคดีที่ไม่มีการอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดหรือมิใช่คดีที่กําหนดในข้อ ๓ ให้ศาลสั่งไม่รับคําขอ ในกรณีที่ศาลเห็นว่าคําขอนั้นไม่มีเหตุผลอันสมควรแก่การขอ ให้ศาลสั่งยกคําขอนั้น ให้แจ้งคําสั่งศาลตามวรรคหนึ่งให้ผู้ยื่นคําขอทราบ เว้นแต่คําสั่งให้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองชั้นต้น ให้แจ้งคู่กรณีทราบด้วย เมื่อศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งให้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองชั้นต้นแล้ว ให้ศาลปกครองสูงสุดส่งสําเนาคําสั่งดังกล่าว สําเนาคําพิพากษาศาลปกครองชั้นต้น และสําเนาคําขอให้มีการปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองชั้นต้นได้โดยไม่ต้องรอจนกว่าคดีจะถึงที่สุด ไปยังศาลปกครองชั้นต้นที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีนั้น เพื่อดําเนินการบังคับคดีต่อไป ข้อ ๖ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ กับให้มีอํานาจออกประกาศหรือคําสั่งเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะ ปะตังทา ประธานศาลปกครองสูงสุด
11,205
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการปรับหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มิได้ปฏิบัติตามคำบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนหรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร พ.ศ. ๒๕๖๐
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการปรับหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วน หรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยที่มาตรา ๗๕/๔ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ บัญญัติให้ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจออกระเบียบกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการปรับหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนหรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗๕/๔ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการปรับหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนหรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร พ.ศ. ๒๕๖๐” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ ถ้าข้อความมิได้แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น “ศาล” หมายความว่า ศาลปกครอง หรือตุลาการศาลปกครอง “ศาลปกครอง” หมายความว่า ศาลปกครองชั้นต้น หรือศาลปกครองสูงสุด ข้อ ๔ เมื่อความปรากฏแก่ศาลหรือคู่กรณียื่นคําขอต่อศาลหรือเจ้าพนักงานบังคับคดีรายงานต่อศาลว่า หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วน หรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร ให้ศาลไต่สวนหรือแสวงหาข้อเท็จจริง ถ้าศาลได้ไต่สวนแล้วเห็นว่า การที่มิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนหรือปฏิบัติล่าช้าเป็นไปโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ศาลมีคําสั่งให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐดังกล่าวชําระค่าปรับต่อศาลตามจํานวนที่เห็นสมควร ครั้งละไม่เกินห้าหมื่นบาท ทั้งนี้ ศาลอาจแจ้งผู้บังคับบัญชา ผู้กํากับดูแลผู้ควบคุม หรือนายกรัฐมนตรี เพื่อดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ หรือสั่งการ หรือลงโทษทางวินัยต่อไปก็ได้และแจ้งผลให้ศาลทราบ ในกรณีที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคําสั่งให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐดังกล่าวชําระค่าปรับ ให้ผู้ได้รับคําสั่งมีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่งศาล โดยให้ยื่นต่อศาลปกครองชั้นต้นที่มีคําสั่งนั้น และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลรีบส่งคําร้องพร้อมด้วยคําสั่งนั้นและสําเนาเอกสารที่เกี่ยวข้องไปยังศาลปกครองสูงสุดโดยพลัน และให้ศาลมีคําสั่งเกี่ยวกับคําร้องดังกล่าวโดยเร็ว ในกรณีที่ศาลได้ไต่สวนหรือแสวงหาข้อเท็จจริงแล้วปรากฏว่า ไม่มีข้อเท็จจริงที่จะรับฟังได้ว่าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนหรือปฏิบัติล่าช้าโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ศาลมีคําสั่งยกคําขอหรือมีคําสั่งตามที่เห็นสมควร คําสั่งดังกล่าวให้เป็นที่สุด คําสั่งศาลตามข้อนี้ให้กระทําโดยองค์คณะ ข้อ ๕ เมื่อความปรากฏแก่ศาลว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นไม่ชําระค่าปรับภายในเวลาที่ศาลกําหนดให้ศาลออกหมายบังคับคดีแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อทําการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นและขายทอดตลาดเสมือนหนึ่งเป็นลูกหนี้ตามคําพิพากษา โดยให้ถือว่าสํานักงานศาลปกครองเป็นเจ้าหนี้ตามคําพิพากษาและเป็นผู้มีอํานาจหน้าที่ในการดําเนินการบังคับคดีจนแล้วเสร็จ การบังคับคดีตามวรรคหนึ่ง ให้นําบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม และให้ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดีทั้งปวง ข้อ ๖ เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีแล้ว ให้แจ้งไปยังสํานักงานศาลปกครองในฐานะเจ้าหนี้ตามคําพิพากษาเพื่อทราบ ให้สํานักงานศาลปกครองตรวจสอบหาทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ชําระค่าปรับดังกล่าวจากที่อยู่ตามทะเบียนบ้านและตามหลักฐานทางทะเบียน หากพบว่ามีทรัพย์สินที่สามารถยึดหรืออายัดมาชําระค่าปรับได้ ให้สํานักงานศาลปกครองยื่นคําแถลงพร้อมรายละเอียดของทรัพย์สินดังกล่าวต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อดําเนินการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินนั้น หากไม่สามารถตรวจพบทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้น ให้สํานักงานศาลปกครองรายงานต่อศาลที่ออกหมายบังคับคดีเพื่อพิจารณาสั่งการตามที่เห็นสมควรต่อไป ข้อ ๗ เมื่อเจ้าพนักงานบังคับคดีดําเนินการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ชําระค่าปรับแล้ว ไม่พอชําระค่าปรับและไม่มีทรัพย์สินอื่นที่จะยึดหรืออายัดได้ หรือมีเหตุอื่นที่ไม่สามารถบังคับคดีได้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีรายงานศาลเพื่อขอให้ศาลมีคําสั่งงดการบังคับคดีไว้ภายในระยะเวลาหรือเงื่อนไขตามที่ศาลกําหนด ข้อ ๘ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ กับให้มีอํานาจออกประกาศหรือคําสั่งเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะ ปะตังทา ประธานศาลปกครองสูงสุด
11,206
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๒
ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยที่เป็นการสมควรกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองเพื่อให้ข้อพิพาททางปกครองยุติลงได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นด้วยความสมัครใจของคู่กรณีและรักษาไว้ซึ่งสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ตลอดจนส่งเสริมให้การบริหารจัดการคดีของศาลปกครองมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น ภายใต้หลักความชอบด้วยกฎหมาย อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖๖/๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๖๒” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองนอกจากที่บัญญัติไว้ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครองแล้ว ให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ ถ้าข้อความมิได้แสดงให้เห็นเป็นอย่างอื่น “ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท” หมายความว่า ตุลาการศาลปกครองที่ผู้รับผิดชอบราชการศาลแต่งตั้งให้เป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท “ผู้รับผิดชอบราชการศาล” หมายความว่า ประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลปกครองสูงสุดหรือประธานแผนกในศาลปกครองสูงสุดซึ่งประธานศาลปกครองสูงสุดมอบหมายอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น หรือรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นซึ่งอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นมอบหมาย “ศาล” หมายความว่า ศาลปกครองหรือตุลาการศาลปกครอง “องค์คณะ” หมายความว่า องค์คณะพิจารณาพิพากษา ข้อ ๕ การดําเนินการตามระเบียบนี้ที่กระทําโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพ ให้นําระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครองทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2562 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๖ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ กับให้มีอํานาจออกข้อกําหนด ประกาศ หรือคําสั่ง เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ หมวด หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ ๗ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้ดําเนินการโดยยึดถือความสมัครใจและความไว้วางใจของคู่กรณีที่มีต่อกัน ข้อ ๘ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องไม่เป็นการสร้างหรือเพิ่มความขัดแย้งหรือความเป็นปฏิปักษ์ระหว่างคู่กรณี ข้อ ๙ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องดําเนินการอย่างต่อเนื่องและให้เสร็จโดยเร็ว และต้องไม่ให้มีผลเสียหายต่อการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลปกครอง หรือมีผลเป็นการประวิงหรือเป็นอุปสรรคให้การพิจารณาพิพากษาคดีต้องล่าช้าออกไปโดยไม่สมควร ข้อ ๑๐ ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ศาลดําเนินการด้วยความเป็นกลาง และปราศจากอคติในการปฏิบัติหน้าที่ ข้อ ๑๑ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้ดําเนินการแยกต่างหากจากการพิจารณาพิพากษาคดีโดยจัดให้มีสํานวนและสารบบสํานวนไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแยกต่างหากจากสํานวนคดีและสารบบคดีของศาล หมวด หมวด ๒ กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ส่วนที่ ๑ การริเริ่มให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อ ๑๒ ในเวลาใด ๆ นับแต่มีการฟ้องคดีต่อศาลจนถึงวันสิ้นสุดการแสวงหาข้อเท็จจริงคู่กรณีที่ประสงค์จะให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจริเริ่มให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยยื่นคําขอต่อศาลนั้นเพื่อให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ ในการนี้ คู่กรณีอาจยื่นคําขอร่วมกันกับคู่กรณีอื่นที่ประสงค์จะให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทหรือยื่นหลักฐานเป็นหนังสือที่แสดงความตกลงหรือยินยอมของคู่กรณีอื่นที่จะให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่อศาลด้วยก็ได้ ข้อ ๑๓ เมื่อได้รับคําขอตามข้อ ๑๒ แล้ว ให้ตุลาการเจ้าของสํานวนตรวจสํานวนและคําขอให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ถ้าเห็นว่าเป็นคดีที่อาจจัดให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ เป็นกรณีที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามมิให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท และเป็นกรณีที่ศาลรับไว้พิจารณาแล้ว ให้ตุลาการเจ้าของสํานวนแจ้งคู่กรณีอื่นที่ไม่ได้ร่วมกันยื่นคําขอตามข้อ ๑๒ ทราบ และให้แจ้งความประสงค์หรือยืนยันความประสงค์แล้วแต่กรณี เป็นหนังสือที่แสดงความตกลงหรือยินยอมให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทหรือไม่ ภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนด เมื่อตุลาการเจ้าของสํานวนได้รับหนังสือแจ้งความประสงค์ตามวรรคหนึ่ง หรือเมื่อล่วงพ้นระยะเวลาตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ตุลาการเจ้าของสํานวนเสนอองค์คณะเพื่อพิจารณาต่อไปโดยเร็ว ข้อ ๑๔ ให้องค์คณะตรวจสํานวนและคําขอให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ถ้าเห็นว่าเป็นคดีที่อาจจัดให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ เป็นกรณีที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามมิให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทรวมทั้งมีคู่กรณีที่พิพาทกันมากกว่าหนึ่งฝ่ายได้แสดงความตกลงหรือยินยอมให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและองค์คณะเห็นสมควรให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้องค์คณะเสนอผู้รับผิดชอบราชการศาลเพื่อพิจารณาต่อไปโดยเร็ว ในกรณีที่องค์คณะเห็นว่าคดีที่ขอให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นไม่เป็นคดีที่ศาลมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ หรือเป็นคดีที่มีลักษณะต้องห้ามมิให้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หรือไม่มีคู่กรณีฝ่ายอื่นแสดงความตกลงหรือยินยอมให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หรือองค์คณะไม่เห็นสมควรให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้องค์คณะมีคําสั่งไม่รับคําขอให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อ ๑๕ เมื่อผู้รับผิดชอบราชการศาลได้ตรวจสํานวนและคําขอให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแล้วว่าเป็นคดีที่อาจจัดให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ และไม่มีลักษณะต้องห้ามมิให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและผู้รับผิดชอบราชการศาลเห็นว่าเป็นกรณีที่สมควรให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ ให้ผู้รับผิดชอบราชการศาลเห็นชอบให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท แล้วแต่งตั้งผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในสํานวนคดีนั้นในการนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลตั้งสํานวนไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแยกต่างหากจากสํานวนคดีนั้น ข้อ ๑๖ ในกรณีที่องค์คณะเห็นสมควรให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท องค์คณะอาจริเริ่มให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีนั้นได้ ในการนี้ ให้นําความในข้อ ๑๓ ข้อ ๑๔ และข้อ ๑๕ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๑๗ ในกรณีที่องค์คณะเห็นสมควร หรือในกรณีที่คู่กรณีที่ยังไม่ได้เข้าร่วมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทมีความประสงค์จะเข้าร่วมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่ดําเนินการอยู่นั้น ให้คู่กรณีดังกล่าวเข้าร่วมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ เมื่อได้มีหนังสือแสดงความประสงค์ต่อศาล ส่วน ส่วนที่ ๒ ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อ ๑๘ ผู้รับผิดชอบราชการศาลอาจแต่งตั้งผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคนหนึ่งหรือหลายคนให้ปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันเป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีนั้นได้ ในการแต่งตั้งผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ผู้รับผิดชอบราชการศาลคํานึงถึงความรู้ความเชี่ยวชาญและความเหมาะสมของผู้นั้น ข้อ ๑๙ ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องวางตนเป็นกลางและปราศจากอคติในการปฏิบัติหน้าที่การคัดค้านและการถอนตัวของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามมาตรา ๖๖/๖ วรรคสอง ให้นําความในมาตรา ๖๓ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๒๐ เมื่อมีเหตุที่ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจถูกคัดค้านได้ คู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจยกข้อคัดค้านขึ้นอ้างโดยทําเป็นหนังสือยื่นต่อผู้รับผิดชอบราชการศาลได้ ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสิ้นสุดลง แต่ต้องไม่ช้ากว่าเจ็ดวันนับแต่วันที่คู่กรณีนั้นทราบถึงเหตุที่จะคัดค้าน ให้ผู้รับผิดชอบราชการศาลแจ้งการคัดค้านต่อผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาททราบ และให้ผู้รับผิดชอบราชการศาลชี้ขาดเกี่ยวกับคําคัดค้านนั้นโดยเร็ว คําชี้ขาดของผู้รับผิดชอบราชการศาลให้เป็นที่สุด ข้อ ๒๑ เมื่อมีเหตุที่จะคัดค้านเกิดขึ้นแก่ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคนใด ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นเองจะยื่นคําบอกกล่าวต่อผู้รับผิดชอบราชการศาลแสดงเหตุที่ตนอาจถูกคัดค้าน แล้วขอถอนตัวออกจากการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคดีนั้นก็ได้ การที่ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทถอนตัวไม่ถือว่าเป็นการยอมรับข้อเท็จจริงตามเหตุแห่งการคัดค้านนั้น ข้อ ๒๒ เมื่อความปรากฏแก่ผู้รับผิดชอบราชการศาลว่าผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทคนใดมีเหตุที่อาจถูกคัดค้านได้ ไม่ว่าจะโดยคู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทยกเหตุขึ้นคัดค้าน หรือโดยการบอกกล่าวของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ผู้รับผิดชอบราชการศาลสั่งให้การปฏิบัติหน้าที่ของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นสิ้นสุดลง และแต่งตั้งผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอื่นปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในสํานวนนั้นแทน ส่วน ส่วนที่ ๓ การดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อ ๒๓ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ดําเนินการในศาลนั้น เว้นแต่กรณีมีเหตุสมควรผู้รับผิดชอบราชการศาลอาจเห็นชอบให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครั้งใดดําเนินการในสถานที่อื่นก็ได้ ข้อ ๒๔ ให้ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นผู้กําหนดแนวทาง ขั้นตอน และระยะเวลาการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามที่เห็นสมควรซึ่งต้องไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันนัดไกล่เกลี่ยข้อ พิพาทครั้งแรกโดยคํานึงถึงพฤติการณ์แห่งคดี ความประสงค์ของคู่กรณี การปฏิบัติต่อคู่กรณีอย่างเป็นธรรม และการระงับข้อพิพาทได้ด้วยความรวดเร็ว ในกรณีที่มีเหตุจําเป็น ผู้รับผิดชอบราชการศาลอาจให้ขยายระยะเวลาดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามวรรคหนึ่งออกไปได้ตามที่เห็นสมควร ข้อ ๒๕ เพื่อประโยชน์ในการเตรียมแนวทางและขั้นตอนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่จะทําให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทดําเนินไปโดยเรียบร้อย ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจร้องขอต่อตุลาการเจ้าของสํานวนเพื่ออนุญาตให้ตรวจดูสํานวนคดีนั้นได้เท่าที่จําเป็นต่อการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้น ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจกําหนดให้คู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเสนอข้อเท็จจริงหรือข้อมูลเบื้องต้นแห่งข้อพิพาท ตลอดจนข้อเสนอของตนในการระงับข้อพิพาทต่อผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ในการนี้ ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลดังกล่าวระหว่างคู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก็ได้ ข้อ ๒๖ ก่อนเริ่มทําการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแจ้งคู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททราบถึงแนวทาง ขั้นตอน และระยะเวลาการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสิทธิและหน้าที่ของคู่กรณี ตลอดจนบทบาทหน้าที่ของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อ ๒๗ ในการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท คู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องร่วมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้วยตนเอง เว้นแต่มีเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุจําเป็นอื่น คู่กรณีนั้นอาจให้ตัวแทนหรือผู้แทนที่มีอํานาจตัดสินใจและมีอํานาจทําความตกลงร่วมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแทนได้ เพื่อประโยชน์ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจอนุญาตให้ตัวแทน ทนายความที่ปรึกษาของคู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งร่วมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทด้วยก็ได้ ข้อ ๒๘ ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่อหน้าคู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททุกฝ่าย เว้นแต่เพื่อประโยชน์ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจกําหนดให้เฉพาะคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือคนใดคนหนึ่งอยู่ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในช่วงเวลาหนึ่งเป็นการชั่วคราวก็ได้ แต่ต้องแจ้งถึงการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเช่นว่านั้นให้คู่กรณีอื่นที่มิได้ร่วมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครั้งนั้นทราบด้วย ข้อ ๒๙ เพื่อประโยชน์ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอาจขอให้ผู้เชี่ยวชาญดําเนินการทําความเห็น รายงานข้อมูล ตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือการวิเคราะห์ประเมินผลเพื่อประกอบการพิจารณาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ ทั้งนี้ โดยความตกลงยินยอมของคู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ในกรณีที่การดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามวรรคหนึ่งเป็นกรณีที่มีค่าใช้จ่าย ให้ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทจัดให้มีการดําเนินการเช่นว่านั้นได้ต่อเมื่อคู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตกลงที่จะรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายดังกล่าวแล้ว ข้อ ๓๐ เพื่อให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทดําเนินไปโดยเรียบร้อย ผู้รับผิดชอบราชการศาลอาจออกข้อกําหนดทั่วไปเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติในการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในศาลนั้น ส่วน ส่วนที่ ๔ ผลการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อ ๓๑ ในกรณีที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสําเร็จและทําให้ประเด็นแห่งคดีเสร็จสิ้นไปทั้งหมดหรือบางส่วน ให้คู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทร่วมกันทําบันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความเป็นหนังสือโดยลงลายมือชื่อต่อหน้าผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท บันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความตามวรรคหนึ่ง คู่กรณีอาจตกลงกันให้ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นผู้ช่วยเหลือในการจัดทําก็ได้ เมื่อคู่กรณีได้ทําบันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความตามวรรคหนึ่งแล้วให้ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทรายงานผลการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พร้อมเสนอบันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวต่อองค์คณะเพื่อพิจารณาต่อไปโดยเร็ว ข้อ ๓๒ ให้องค์คณะพิจารณาผลการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามบันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความของคู่กรณี หากองค์คณะเห็นว่าไม่มีลักษณะต้องห้ามมิให้ทําการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หรือมีคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฉ้อฉล หรือผลการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นการละเมิดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และเป็นกรณีที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสําเร็จ และทําให้ประเด็นแห่งคดีเสร็จสิ้นไปทั้งหมด ให้องค์คณะมีคําพิพากษาไปตามนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่องค์คณะเห็นว่าผลการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามบันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความของคู่กรณีถูกต้องตามวรรคหนึ่ง และเป็นกรณีที่ทําให้คดีเสร็จสิ้นไปบางส่วน ให้องค์คณะจดรายงานแสดงข้อความแห่งข้อตกลงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทไว้ แล้วให้พิจารณาประเด็นข้อพิพาทที่ตกลงกันไม่ได้ต่อไป และนํามารวมพิพากษากับข้อพิพาทที่ตกลงกันได้ไปในคราวเดียวกัน ข้อ ๓๓ ในกรณีที่องค์คณะเห็นว่าผลการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามบันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความของคู่กรณีไม่ถูกต้องตามข้อ ๓๒ วรรคหนึ่ง ให้องค์คณะส่งบันทึกข้อตกลงหรือสัญญาประนีประนอมยอมความนั้นให้ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเพื่อดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในส่วนที่มีเหตุไม่ถูกต้องนั้นเสียใหม่ เมื่อผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทได้ดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามวรรคหนึ่งแล้ว ความยังคงปรากฏแก่องค์คณะว่าผลการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทดังกล่าวไม่ถูกต้องตามข้อ ๓๒ วรรคหนึ่ง ให้องค์คณะดําเนินการตามข้อ ๓๒ วรรคสอง หรือข้อ ๓๔ แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม ข้อ ๓๔ ในกรณีที่ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเห็นว่าการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่อไปนั้นไม่เป็นประโยชน์แก่คดี ไม่อาจสําเร็จได้ เป็นการประวิงคดี เป็นการฝ่าฝืน หรือเป็นการขัดหรือแย้งต่อหลักการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทรายงานองค์คณะโดยเร็ว เมื่อองค์คณะได้รับรายงานของผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามวรรคหนึ่งแล้วเห็นว่ามีกรณีตามที่รายงานให้องค์คณะพิจารณามีคําสั่งให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นสิ้นสุดลง ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ปิยะ ปะตังทา ประธานศาลปกครองสูงสุด
11,207
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 659) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 659) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 924 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 924 ) มูลนิธิหวาน – จุ้ย สุขแก้ว” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,208
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 658) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 658) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 923 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 923 ) มูลนิธิคุณพ่อดํารง – คุณแม่ทองทรัพย์ เภตรา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,209
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 657) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 657) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 922 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 922 ) มูลนิธิ ดร.พิชนี โพธารามิก เพื่อเด็กและคนชรา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,210
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 656) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 656) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 921 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 921 ) มูลนิธิโลจายะ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,211
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 655) เรื่อง เพิกถอนการประกาศกำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 655) เรื่อง เพิกถอนการประกาศกําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ตามที่กระทรวงการคลังได้ประกาศกําหนดให้มูลนิธิป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดพิษณุโลก เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ลําดับที่ (424) ตามประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 163) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 119 ตอนที่ 3 ง วันที่ 8 มกราคม 2545 นั้น อื่นๆ บัดนี้ มูลนิธิป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดพิษณุโลกไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ข้อ 11 (2) ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 531) เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2534 ลงวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555 โดยไม่มีเหตุอันสมควร อื่นๆ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ และข้อ 12 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 531) เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2534 ลงวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงให้เพิกถอนมูลนิธิป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดพิษณุโลก จากการเป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ลําดับที่ ( 424 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 163) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 อื่นๆ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีถัดจากรอบระยะเวลาบัญชีที่ประกาศเพิกถอนในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,212
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 2/2547 เรื่อง การจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ======================================================== ที่ อข. 2/2547 เรื่อง การจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการรับจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ในราชกิจจานุเบกษา นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศรายชื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ที่ได้รับจดทะเบียนไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อยุธยาเจเอฟ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 2/2546 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2546 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ธนชาติทวีค่า ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 3/2546 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2546 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ธนทรัพย์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2546ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. (2) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ### #### ทะเบียนเลขที่ 5/2546 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 ประกาศ ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,213
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 3/2547 เรื่อง การเลิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ======================================================== ที่ อข. 3/2547 ============== เรื่อง การเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ================================== โดยที่มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้ นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษา เมื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเลิกตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว นายทะเบียนกองทุน สํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เอส จี ร่วมใจ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 110/2541ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2546 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เอ็นอีซี (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 210/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2546 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เกษียณสําราญ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2545 ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2546 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ธนาคารธนชาต ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2535 ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2546 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ซันโย เซมิคอนดักเตอร์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 60/2541 ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2546 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัทคูเวตปิโตรเลี่ยม (ประเทศไทย) จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 8/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2546 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เพื่อพนักงานหลักทรัพย์ไทยพาณิชย์ ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 63/2537 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2546 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ไออีดี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 51/2534ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2546 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานเครือ เอสจีวี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 318/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2546 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ นพรัตน์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 106/2540 ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2546 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เอ็นอีพี อสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 22/2533 ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2546 12. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เอซีเอสจี (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 11/2544 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 13. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เดต้าเมชั่น จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 59/2537 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซันเท็กซ์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 34/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2546 15. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สํานักงานซีต้าเทเลคอม ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 100/2541 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ประกาศ ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ### #### ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,214
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 654) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 654) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 920 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 920 ) มูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวัน ในประเทศไทย” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,215
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 653) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 653) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 919 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 919 ) มูลนิธิแสงจันทร์แสงธรรม” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,216
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 652) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 652) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔(ข)แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 918 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศลสถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(918) มูลนิธิชินเศรษฐวงศ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕9 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕60เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,217
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 651) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 651) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (70) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(70) มูลนิธิสงเคราะห์คนพิการเชียงใหม่ ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป อื่นๆ ประกาศ ณ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,218
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 650 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 650 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (668) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(668) กองทุนทีปังกรนภัทรบุตร ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕48 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,219
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 649) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 649) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 917 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศลสถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 917 ) โรงพยาบาลจุฬาภรณ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕59เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 7 มกราคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,220
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 648) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 648) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 916 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศลสถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 916 ) มูลนิธิคนไทยเก่งขึ้น” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕59 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 5 มกราคม พ.ศ.2559 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,221
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 647) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 647) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 915 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศลสถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 915 ) มูลนิธิหนึ่งคนให้ หลายคนรับ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕59 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,222
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 646) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ.๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 646) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ.๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 914 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศลสถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(914) สมาคมศิษย์เก่าพยาบาลสภากาชาดไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕59เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,223
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 645) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 645) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข)แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙)พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วย การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 913 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศลสถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 913 ) มูลนิธิน่านฟ้าไทย” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕59เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕8 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,224
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 644) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 644) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 912 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(912) มูลนิธิพ่อขุนบางกลางท่าว อําเภอนครไชย จังหวัดพิษณุโลก” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕8 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2พฤศจิกายน พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,225
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 2/2548 เรื่อง การจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 2/2548เรื่อง การจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการรับจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษา นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศรายชื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่ได้รับจดทะเบียนไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซีเอ็ดเกษียณรวย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 1/2547 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จํากัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 2/2547 ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2547 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ธนชาติสินไพบูลย์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 3/2547 ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2547 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เอ็กโคแล็บ จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2547 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2547 5. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทวีทรัพย์พนักงาน บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 5/2547 ตั้งแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2547 6. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ วรรณเอเอ็มบาลานซ์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 6/2547 ตั้งแต่วันที่ 3 สิงหาคม 2547 ประกาศ ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,226
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 643) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 643) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 911 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕" (๗911๐) มูลนิธิยุวทูตความดี ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕8 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,227
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 3/2548 เรื่อง การเลิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 3/2548เรื่อง การเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษาเมื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเลิกตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัท ที บี เอส จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 270/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ที ไอ เทรดดิ้ง จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 5/2536 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ดูปองท์ เพอร์ฟอร์แมนซ์ โคทติ้งส์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 57/2534 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มพนักงานบริษัท ไดสตาร์ไทย จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 66/2538 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 5. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มบริษัทกรุงเทพผลิตเหล็ก ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 117/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 6. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานเยเนอรัล ฮอสปิตัล โปรดัคส์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 32/2538 ตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2547 7. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มเยื่อกระดาษสยาม ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 65/2538 ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 8. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานปฏิบัติการ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน)ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 43/2538 ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 9. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบังคับบัญชาและพนักงานวิชาชีพบริษัทในเครือซิเมนต์ไทย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 59/2538 ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 10. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบังคับบัญชาและพนักงานวิชาชีพ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 42/2538 ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 11. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ไทยพลาสติคและเคมีภัณฑ์ จํากัด (มหาชน)ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 137/2540 ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2547 12. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท โพรเทคเตอร์ นิวทริชั่น (ประเทศไทย) จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 25/2538 ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2547 13. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท สื่อสากล จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 23/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2547 14. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ไทยพาณิชย์ทรัพย์มั่นคง 2 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 281/2533 ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2547 15. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานไทยสตาร์กรุ๊ป ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 113/2540 ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 2547 16. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ฟอสเตอร์ วีลเลอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 388/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2547 17. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 44/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2547 18. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท อเวนตีส ฟาร์มา จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 21/2542 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2547 19. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานในกลุ่มบริษัท สวีเดนมอเตอร์ส จํากัด (มหาชน)ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 177/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2547 20. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัท สุพรีมโพรดักส์ จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 586/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2547 21. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท วี เอส แอล (ไทยแลนด์) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 8/2534 ตั้งแต่วันที่ 17 มิถุนายน 2547 22. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัท อุตสาหกรรมทาคาเน กรุงเทพ จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 81/2540 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 23. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทรัพย์เรืองรอง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 3/2534ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2547 24. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ศุภสิน ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 28/2540ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2547 ประกาศ ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,228
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 642) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 642) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 910 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ "(910) มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดําริสมเด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕8 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,229
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 641 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 641 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 909 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ "( 909 ) สมาคมคนพิการกรุงเทพมหานคร” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,230
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 20/2566 เรื่อง การออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราว ของสำนักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 20/2566 เรื่อง การออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราว ของสํานักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 89 วรรคหนึ่ง ประกอบกับมาตรา 66 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ในประกาศนี้ “สํานักหักบัญชีสัญญา” หมายความว่า สํานักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ข้อ 2 สํานักหักบัญชีสัญญาอาจออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราวได้ โดยไม่ต้องดําเนินการตามมาตรา 63 แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 เมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เป็นกรณีที่มีความจําเป็นเร่งด่วนซึ่งไม่อาจดําเนินการตามมาตรา 63 ได้ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ไม่ปกติ ซึ่งอาจกระทบต่อความสามารถหรือความเสี่ยงในการส่งมอบหรือ การชําระหนี้ (2) การออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราวต้องดําเนินการเท่าที่จําเป็น โดยคํานึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องและการรักษามาตรฐานเกี่ยวกับความมั่นคง ความน่าเชื่อถือ ตลอดจน ความเป็นธรรมในการส่งมอบหรือการชําระหนี้ตามสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (3) กฎเกณฑ์ที่จะใช้บังคับเป็นการชั่วคราวต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสํานักหักบัญชีสัญญา หรือกระทําโดยผู้มีอํานาจของสํานักหักบัญชีสัญญาภายใต้ข้อกําหนดและเงื่อนไขของการออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราวที่คณะกรรมการ สํานักหักบัญชีสัญญากําหนด (4) กฎเกณฑ์ที่จะใช้บังคับเป็นการชั่วคราวต้องไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ตลอดจนหลักเกณฑ์ที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว และกฎหมายอื่น ข้อ 3 กฎเกณฑ์ตามข้อ 2 ให้มีผลใช้บังคับเป็นการชั่วคราวจนกว่าเหตุการณ์ตาม ข้อ 2(1) สิ้นสุดลง แต่ต้องไม่เกิน 6 เดือนนับแต่วันที่กฎเกณฑ์ดังกล่าวมีผลใช้บังคับ ในกรณีที่สํานักหักบัญชีสัญญาประสงค์ให้กฎเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับต่อไป ให้สํานักหักบัญชีสัญญาดําเนินการตามมาตรา 63 ข้อ 4 ให้สํานักหักบัญชีสัญญารายงานการออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับ เป็นการชั่วคราวตามข้อ 2 ต่อคณะกรรมการกํากับตลาดทุน โดยยื่นผ่านสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เมื่อมีการออกกฎเกณฑ์ ให้รายงานการออกกฎเกณฑ์เป็นลายลักษณ์อักษรโดยไม่ชักช้า ซึ่งอย่างน้อยต้องระบุเหตุผลและความจําเป็นของการออกกฎเกณฑ์ ผลกระทบต่อ ผู้ที่เกี่ยวข้องตลอดจนแนวทางการบังคับใช้กฎเกณฑ์ พร้อมทั้งรายงานการประชุมของคณะกรรมการสํานักหักบัญชีสัญญาที่ให้ความเห็นชอบกฎเกณฑ์ หรือที่มอบหมายให้ผู้มีอํานาจ ออกกฎเกณฑ์ดังกล่าว แล้วแต่กรณี (2) เมื่อกฎเกณฑ์สิ้นผลใช้บังคับตามที่กําหนดไว้ในข้อ 3 วรรคหนึ่ง ให้รายงาน การสิ้นผลใช้บังคับเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน 45 วันนับแต่วันที่กฎเกณฑ์สิ้นผลใช้บังคับ ซึ่งอย่างน้อยต้องระบุ เหตุผลและความจําเป็นของการออกกฎเกณฑ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการบังคับใช้กฎเกณฑ์ ผลการดําเนินการ และแนวทางการป้องกันในอนาคต พร้อมทั้งรายงานการประชุมของคณะกรรมการสํานักหักบัญชีสัญญาที่รับทราบการสิ้นผลใช้บังคับของกฎเกณฑ์ดังกล่าว สํานักงาน ก.ล.ต. อาจเรียกให้สํานักหักบัญชีสัญญาส่งข้อมูลหรือเอกสารเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ระบุไว้ตามวรรคหนึ่งก็ได้ ข้อ 5 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2566 (นายธวัชชัย พิทยโสภณ) รองเลขาธิการ รักษาการแทนเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
11,231
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 640) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 640) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 908 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “(๗908๐) มูลนิธิสงเคราะห์เด็กและเยาวชนของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดปทุมธานี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕8 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕9 เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕8 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,232
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 2/2549 การจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 2 /2549เรื่อง การจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการรับจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษา นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศรายชื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่ได้รับจดทะเบียนไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ หุ้นมั่งคั่ง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 1/2548ตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2548 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงาน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และบริษัทร่วมทุน (PTT GROUP) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 2/2548 ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน 2548 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ประกันภัยไทยวิวัฒน์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 3/2548 ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2548 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2548 ตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2548 5. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานธนาคารออมสิน ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 5/2548 ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2548 6. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มบริษัทโตโยต้า ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 6/2548 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548 7. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ยูโอบี ทรัพย์มั่นคง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 7/2548 ตั้งแต่วันที่ 28 พฤศจิกายน 2548 ประกาศ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,233
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 3/2549 การเลิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 3 /2549เรื่อง การเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษาเมื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเลิกตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อีซูมิ ปิสตันแมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย)ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 399/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซิกฟิล ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 90/2537ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2548 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บุญผ่อง กรุ๊ป ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 1/2537ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2548 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัทไทยแลนด์สเมลติ้งแอนด์รีไฟนิ่ง จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 84/2540 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2548 5. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัท ปตท.สผ.สยาม จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2542 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2548 6. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เท็กซ์พลา จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 195/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2548 7. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทคอนแนลล์ บราเดอร์ส (ประเทศไทย) จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 235/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2548 8. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัท พรอคเตอร์ แอนด์ แกมเบิล แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 448/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2548 9. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัท คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค ประเทศไทย จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 53/2539 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548 10. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ธนาคารยูโอบี รัตนสิน ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 117/2540 ตั้งแต่วันที่ 28 พฤศจิกายน 2548 11. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ นวลิสซิ่ง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 61/2538ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 12. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทศูนย์ประมวลผล จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 18/2534 ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 13. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท มัลคา-อามิท (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 44/2537 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2548 14. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ไทย รีฟริเจอเรชั่น คอมโพเน้นท์ ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 36/2534 ตั้งแต่วันที่ 23 ธันวาคม 2548 15. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เพื่อพนักงานยอร์ค ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่29/2536 ตั้งแต่วันที่ 29 ธันวาคม 2548 16. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เฟดเดอรัล เอ็กซ์เพรส คอร์ปอเรชั่น ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 50/2541 ตั้งแต่วันที่ 29 ธันวาคม 2548 17. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เพื่อพนักงานคอมพิวเทค ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 17/2538 ตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2548 18. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานคุ้มเกล้าประกันภัย ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 86/2541 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2548 19. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ วอลโว่ ทรัค แอนด์ บัส (ประเทศไทย) จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 111/2541 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2548 20. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เยาวราช จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 11/2542 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2548 21. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โยโกกาวา (ประเทศไทย) ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 558/2533 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ประกาศ ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,234
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข./น. 5/2549 เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับระบบงานการประกอบธุรกิจการจัดการกองทุน
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อข./น. 5 /2549 เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับระบบงานการประกอบธุรกิจการจัดการกองทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ เพื่อให้บริษัทจัดการสามารถปฏิบัติตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สข. /น. 4 /2549 เรื่อง ระบบงานเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ จัดการกองทุน ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2549 ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐานในระดับ เดียวกัน สํานักงานจึงได้วางแนวทางให้บริษัทจัดการต้องจัดให้มีระบบงานเพื่อรับรองการจัดการ กองทุนอย่างเหมาะสม โดยหากบริษัทจัดการจัดให้มีระบบงานตามแนวทางปฏิบัตินี้ สํานักงานจะ ถือว่าบริษัทจัดการได้จัดให้มีระบบงานที่เป็นไปตามประกาศข้างต้นแล้ว ทั้งนี้ บริษัทจัดการอาจ ดําเนินการในทางปฏิบัติอื่นที่แตกต่างจากแนวทางปฏิบัติฉบับนี้ได้ หากแสดงต่อสํานักงานได้ว่า แนวทางอื่นนั้นมีการจัดให้มีระบบงานที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพียงพอ ตลอดจนอยู่ใน มาตรฐานที่ยอมรับได้ แนวทางปฏิบัติระบบงานการประกอบธุรกิจจัดการลงทุนประกอบด้วยระบบงาน 4 หมวด ดังต่อไปนี้ หมวดที่ 1 โครงสร้างองค์กร ประกอบด้วย 1.1 การแบ่งแยกหน่วยงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ 1.2 บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูง หมวดที่ 2 ความพร้อมด้านบุคลากร หมวดที่ 3 ระบบงานด้านการปฏิบัติการจัดการกองทุน ประกอบด้วย 3.1 การรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุน 3.2 ระบบการจัดการลงทุน 3.3 ระบบปฏิบัติการด้านงานสนับสนุน 3.4 ระบบการกํากับดูแลการปฏิบัติงาน 3.5 ระบบการจัดทําและจัดเก็บเอกสารหลักฐาน หมวดที่ 4 ระบบการควบคุมภายใน **หมวดที่ 1** ============= **โครงสร้างองค์กร (Organization Structure)** ============================================ **\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_** **1.1 การแบ่งแยกหน่วยงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ** **วัตถุประสงค์** ================ บริษัทจัดการต้องมีการจัดโครงสร้างองค์กรที่สะท้อนให้เห็นถึงการแบ่งหน้าที่อย่างเป็นระบบระเบียบ โดยกําหนดภารกิจ กลยุทธ์ นโยบายและแผนการดําเนินงานในระดับบริษัทและหน่วยงานย่อยของบริษัทอย่างชัดเจนและสอดคล้องต่อหลักความไว้วางใจและหลักการกํากับดูแลกิจการจัดการที่ดี เพื่อมุ่งเน้นให้บริษัทจัดการสามารถจัดการลงทุนให้ผู้ลงทุนด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวัง และคํานึงถึงประโยชน์ของลูกค้าก่อนประโยชน์ของบริษัทจัดการเอง ทั้งนี้ โครงสร้างองค์กรต้องมีความสอดคล้องกับสภาพ ขนาด และความซับซ้อนของการทําธุรกิจของบริษัท **แนวทางปฏิบัติ** 1. จัดให้มีแผนผังองค์กรเพื่อแสดงส่วนงานต่าง ๆ และสายการบังคับบัญชา เพื่อให้บุคลากร ในองค์กรได้รับทราบและเข้าใจถึงโครงสร้าง บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานภายในองค์กรและได้มีการจัดแบ่งหน่วยงานตามแผนผังองค์กรนั้นด้วย 1. จัดให้มีคําอธิบายลักษณะงานและหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานและตําแหน่งงาน ต่าง ๆ 1. จัดให้มีการแบ่งแยกหน่วยงานที่ทําหน้าที่จัดการลงทุนกับหน่วยงานที่ทําหน้าที่การปฏิบัติการด้านงานสนับสนุนอย่างชัดเจน เช่น หน่วยงานที่ทําหน้าที่ในด้านการติดต่อกับลูกค้าหรือด้านการส่งคําสั่งซื้อขายให้ broker (Front-office function) ควรจัดโครงสร้างโดยแบ่งแยกหน้าที่การปฏิบัติงานอย่างชัดเจนจากหน่วยงานที่ทําหน้าที่ในด้านการคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน หรือ การชําระราคาหลักทรัพย์ (Back-Office function) โดยรวมถึงการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงานที่แบ่งแยกดังกล่าวให้มีสายการรายงานต่อผู้รับผิดชอบที่ต่างกัน (Separate reporting line) รวมทั้งจัดให้มีผู้ที่รับผิดชอบด้านการบริหารความเสี่ยง 2. มีหน่วยงานที่กํากับดูแลและติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงาน ที่เป็นอิสระจากฝ่ายจัดการและหน่วยงานอื่น 3. ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานที่คํานึง และรักษาผลประโยชน์ที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้า โดยมี หลักการดังต่อไปนี้ 1. หลักความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) 2. บริษัทจัดการควรจัดการลงทุนเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของลูกค้า และให้ความสําคัญแก่ประโยชน์ของลูกค้าเหนือผลประโยชน์ของตน เช่น การจัดการลงทุนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กรอบนโยบายการลงทุน และความคาดหวังของลูกค้า โดยใช้ความรู้ความสามารถเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ภายใต้สภาวการณ์แต่ละขณะ มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจลงทุน และมีการกระจายการลงทุนเพื่อ ลดความเสี่ยงในการลงทุน เป็นต้น 1. บริษัทจัดการควรมีการปฏิบัติต่อลูกค้าทุกรายอย่างเป็นธรรม ไม่กระทําการใดๆ ที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เว้นแต่การทําธุรกรรมนั้นได้รับความยินยอมจากลูกค้า หรือตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกําหนด โดยบริษัทจัดการควรเปิดเผยข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องให้ลูกค้าทราบ อย่างเพียงพอในการขอความยินยอมจากลูกค้า และเป็นธุรกรรมที่เป็นธรรมแก่ลูกค้าภายใต้สภาวการณ์นั้นๆ 1. การใช้สิทธิออกเสียงแทนกองทุน 2. การคํานวณมูลค่าทรัพย์สินของกองทุน ให้เป็นไปตามหลักวิชาการอันเป็นที่ยอมรับ หรือเป็นมาตรฐานสากล ทั้งนี้ เป็นไปตามที่สมาคมกําหนด 3. หลักความระมัดระวัง (Duty of Care) บริษัทจัดการควรมีการใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าที่จัดการลงทุน กล่าวคือ การที่บริษัทจัดการได้ใช้ความรู้ความสามารถ และความชํานาญเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพในการจัดการ ลงทุนจะพึงกระทําในสถานการณ์เช่นนั้น เช่น 1. การใช้บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับหน้าที่ 2. มีการเปิดเผยข้อมูลที่จําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุนแก่ลูกค้าอย่างครบถ้วน ซึ่งครอบคลุมถึง ความเสี่ยงในการลงทุน ค่าบริการหรือค่าใช้จ่าย ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และ ภาระผูกพันต่างๆ และในกรณีที่เป็นการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดการลงทุนควรเปิดเผยให้แก่ ผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 1. การใช้ข้อมูล เอกสาร หรือหลักฐานอ้างอิงที่เพียงพอ และเชื่อถือได้ในการตัดสินใจลงทุน 2. การตัดสินใจลงทุน มีการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และกระทําอย่าง สมเหตุสมผล เหมาะสมกับกองทุนในสถานการณ์นั้น 1. ลงทุนในตราสารทางการเงิน/สัญญาที่ชอบด้วยกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. การคิดค่าใช้จ่ายทุกประเภทควรมีวัตถุประสงค์เพื่อการดําเนินการของกองทุน 3. มีการควบคุมดูแลตัวแทนทั้งหมด ทั้งนี้ ไม่รวมถึงผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภท LBDU ที่บริษัทจัดการได้มอบหมายให้ปฏิบัติงานแทน 4. การจัดทําทะเบียนสมาชิก/ผู้ถือหน่วยลงทุน มีการจัดทําอย่างถูกต้องและครบถ้วน 5. มีการสอบทานการดําเนินงาน **1.2 บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูง** **วัตถุประสงค์** ---------------- โดยที่บริษัทจัดการเป็นตัวกลางที่ระดมเงินจากผู้ลงทุนรายย่อยเพื่อไปลงทุนในตลาดทุน จึงเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการได้รับความไว้วางใจ (Trust) และความรับผิดชอบ (Accountability) ต่อลูกค้า ซึ่งเป็นเจ้าของเงิน ผู้บริหารระดับสูงจึงต้องมีบทบาทที่สําคัญในการกําหนดแนวนโยบายในการบริหาร จัดการลงทุนโดยได้รับการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท และจัดทําเอกสาร แนวนโยบายดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย รวมทั้งมาตรฐานและจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ โดยให้ความสําคัญในการเสริมสร้าง ให้เกิด Compliance Culture เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ลูกค้าและอุตสาหกรรมโดยรวม ### #### **แนวทางปฏิบัติ** 1. ผู้บริหารระดับสูงควรจัดให้มีแผนกลยุทธ์ นโยบาย และเป้าหมายในการดําเนินธุรกิจจัดการกองทุน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยแผนระยะสั้นควรกําหนดเป็นเป้าหมายและหลักเกณฑ์/ปัจจัย ในการประเมินผลที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมเพื่อวัดผลสําเร็จของแผนงาน เช่น ผลประกอบการของกองทุน ผลประกอบการของบริษัทจัดการ ส่วนแบ่งการตลาด เป็นต้น ส่วนแผนระยะยาวควรแสดงให้เห็นถึง แนวทาง/ทิศทางในการดําเนินธุรกิจและแผนงานในอนาคต เช่น อัตราการเติบโตของธุรกิจในอีก 3-5 ปีข้างหน้า เป็นต้น 2. ผู้บริหารระดับสูงควรกําหนดนโยบายสําคัญ ๆ ในการกํากับดูแลการประกอบธุรกิจจัดการกองทุนที่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท อย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) ระบบการกํากับดูแลการบริหารและจัดการความเสี่ยง (Risk Management Oversight) โดยกําหนดนโยบายและหลักปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจการ จัดการกองทุนเป็นลายลักษณ์อักษร และกําหนดผู้รับผิดชอบด้านการบริหารความเสี่ยงที่เป็นอิสระ จากผู้ปฏิบัติงาน (2) การคํานวณมูลค่ายุติธรรมของตราสาร และการตรวจสอบฝ่ายจัดการว่าได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด (3) การใช้สิทธิออกเสียง (Proxy Voting) ในฐานะผู้ถือหุ้น เพื่อรักษาประโยชน์ของกองทุน และเพื่อเป็นการแสดงเจตนารมณ์เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการผลักดันให้บริษัทจดทะเบียนมี Corporate Governance ที่ดี (4) การรับลูกค้าและการทําธุรกรรมเพื่อลูกค้า เพื่อเป็นการป้องกันมิให้มีการใช้ธุรกิจกองทุน เป็นเครื่องมือในการฟอกเงิน ทั้งนี้ นโยบายในเรื่องดังกล่าวให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติของสํานักงาน เกี่ยวกับการจัดระบบงานบริหารความเสี่ยงในการใช้บริการธุรกิจหลักทรัพย์เป็นช่องทางในการฟอกเงิน (5) การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในเรื่อง การลงทุนเพื่อเป็นทรัพย์สินของบริษัทจัดการ การทําธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง การซื้อขายหลักทรัพย์ของพนักงาน และการรับผลประโยชน์ตอบแทนจากบริษัทนายหน้า (6) การลงทุนในตราสารอนุพันธ์ และตราสารที่เป็นนวัตกรรมทางการเงิน (7) การกําหนดแนวทางการรับและดําเนินการกับเรื่องร้องเรียน ทั้งนี้ ผู้บริหารระดับสูงควรจัดให้มีกระบวนการในการแจ้งให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบถึงนโยบายและหลักปฏิบัติดังกล่าว รวมทั้งมีการติดตามผลและปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายดังกล่าวอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ 3. กําหนดแนวทางในการกํากับดูแลการตรวจสอบให้เป็นไปตามนโยบายที่กําหนด ดังนี้ (1) สื่อสารให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความจําเป็นและความสําคัญในการกํากับดูแลและตรวจสอบการประกอบธุรกิจ รวมทั้งมีการทําความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแนวทางการปฏิบัติ ดังกล่าว (2) มอบหมายให้หัวหน้าส่วนงาน (Operational and business unit) ทําหน้าที่ติดตาม ควบคุมให้พนักงานในสังกัดของตนปฏิบัติตามนโยบายและแนวทางปฏิบัติดังกล่าว (3) กําหนดแนวทางพิจารณาดําเนินการหรือลงโทษเมื่อมีการฝ่าฝืนนโยบายแนวทางการปฏิบัติ โดยการพิจารณาดําเนินการหรือลงโทษควรให้มีเหมาะสมกับระดับความรุนแรงของการฝ่าฝืนด้วย **หมวดที่ 2** ============= **ความพร้อมด้านบุคลากร** ======================== *\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_* ### **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องแสดงให้เห็นได้ว่ามีบุคลากรในจํานวนที่เพียงพอกับปริมาณธุรกิจ และมีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับหน้าที่ ### **แนวทางปฏิบัติ** 1. การวางแผนกําลังคนของแต่ละหน่วยงานที่แสดงให้เห็นได้ว่ามีความเพียงพอของจํานวนบุคลากรซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งฝ่ายจัดการลงทุนควรมีจํานวนผู้จัดการ กองทุนไม่น้อยกว่า 2 คน 1. การกําหนดรายละเอียดของงาน (Job description) โดยแสดงความชัดเจนว่าหน้าที่ในตําแหน่งต่างๆ มีอะไรบ้าง และจัดทําคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานที่เป็นปัจจุบัน 2. บุคลากรต้องปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง จรรยาบรรณและมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ ในกรณีที่เป็นการปฏิบัติหน้าที่ในส่วนงานที่เกี่ยวกับ Non-public information ควรกําหนดหลักปฏิบัติในการป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลด้วย 1. เกณฑ์ในการคัดเลือกบุคลากรของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งครอบคลุมถึงประวัติการศึกษาและประสบการณ์ทํางานที่เกี่ยวข้อง โดยบุคลากรต้องไม่มีประวัติการกระทําที่ขัดต่อจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง 2. มีระบบในการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละหน่วยงาน 3. บุคลากรควรมีความรู้ ความเข้าใจในงานที่รับผิดชอบ เช่น พนักงานที่ทําหน้าที่ในการกํากับ ดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance officer) ควรมีความรู้ความเข้าใจลักษณะตราสารทางการเงินทุกประเภทที่กองทุนจะลงทุน การคํานวณมูลค่ายุติธรรม การบันทึกบัญชี และการเปิดเผยข้อมูล เป็นต้น รวมทั้งมีระบบพัฒนาบุคลากรของแต่ละหน่วยงาน 1. การให้ความสําคัญต่อความซื่อสัตย์ของพนักงาน 2. มีการกําหนดนโยบายและวิธีบริหารงานด้านทรัพยากรบุคคล เช่น การว่าจ้าง การคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ 9. การส่งเสริมให้พนักงานมีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย รวมถึงการประเมินความรู้ ความชํานาญในการปฏิบัติงาน และการพัฒนาความรู้ให้แก่บุคลากรเพื่อทันกับเทคโนโลยี วิทยาการที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง 10. มีการจัดสรรทรัพยากร เช่น อุปกรณ์สํานักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ Software เป็นต้น อย่างเพียงพอต่อบุคลากรและการประกอบธุรกิจ **หมวดที่ 3** **ระบบงานด้านการปฏิบัติการจัดการกองทุน** **\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_** 1. **การรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุน** **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องมีหลักปฏิบัติในการรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุนที่มีความชัดเจน และมีการตรวจสอบความถูกต้องของการรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุนว่าเป็นไปตามที่กําหนดในหนังสือชี้ชวน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือแก่ผู้ลงทุน **แนวทางปฏิบัติ** ----------------- 1. การรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุนของบริษัทจัดการ 2. การกําหนดวิธีการในการพิจารณาคําขอเปิดบัญชีและการทําสัญญากับลูกค้า โดยมีกระบวนการที่เพียงพอเพื่อตรวจสอบความมีตัวตนของลูกค้าและทําให้มั่นใจได้ว่าลูกค้าเป็นบุคคล เดียวกับที่ปรากฏตามเอกสารหลักฐานที่ใช้ประกอบการขอเปิดบัญชี ทั้งนี้ วิธีการดังกล่าวควรสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสํานักงานเกี่ยวกับการจัดระบบงานบริหารความเสี่ยงในการใช้บริการธุรกิจหลักทรัพย์เป็นช่องทางในการฟอกเงิน 1. ขั้นตอนการรวบรวมคําสั่งซื้อขาย 2. วิธีการแก้ไขและบันทึกรายการที่ผิดพลาด เช่น ระยะเวลา หลักปฏิบัติ และผู้ปฏิบัติ 3. การสอบทานความถูกต้องครบถ้วนของการทําตามคําสั่งของลูกค้า 4. การควบคุมการรับและจ่ายเงิน รวมทั้งเอกสารหลักฐาน 5. การรวบรวมการจัดส่งเอกสารหรือหลักฐานทางการเงินให้บริษัทจัดการ 6. ตรวจสอบการปฏิบัติงานของส่วนงานที่ทําหน้าที่สนุบสนุนงานด้านผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน 7. ตรวจสอบเรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เช่น ตรวจสอบความถี่ในการซื้อขาย หน่วยลงทุนเกินความเหมาะสม เป็นต้น 1. มีระบบควบคุมเวลาในการรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุนให้เป็นไปตามที่กําหนดใน หนังสือชี้ชวน เพื่อป้องกันปัญหาในการรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุนที่เป็นการเอาเปรียบผู้ถือหน่วย รายอื่น (Late trading) 1. **ระบบการจัดการลงทุน** ### #### **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องมีระบบการจัดการลงทุน ที่มีขั้นตอนและวิธีการดําเนินการก่อนการลงทุนและภายหลังการลงทุนอย่างชัดเจน โดยมีการวิเคราะห์การลงทุนที่เหมาะสม ทั้งวิเคราะห์ในเชิงปริมาณ (Quantitative) เช่น การวิเคราะห์งบการเงิน เป็นต้น และวิเคราะห์ในเชิงคุณภาพ (Qualitative) เช่น การวิเคราะห์นโยบายของบริษัทของผู้ออกตราสารที่กองทุนจะไปลงทุน เป็นต้น เพื่อกําหนดระดับความเสี่ยงของตราสาร การวิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ การสร้างกลุ่มสินทรัพย์ลงทุน (Portfolio constructive) และการกําหนดระดับความปลอดภัยของเงินลงทุน รวมทั้งต้องจัดการลงทุนให้เป็นไปตามนโยบาย วัตถุประสงค์การลงทุน และอัตราส่วนการลงทุนของแต่ละกองทุน ##### **แนวทางปฏิบัติ** **3.2.1 การพิจารณาการลงทุน** 1. กําหนดโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการลงทุน 2. กําหนดปัจจัยในการตัดสินใจลงทุน อย่างน้อยในเรื่องต่อไปนี้ 3. การวิเคราะห์ภาพรวมเศรษฐกิจทั้งภายในประเทศและต่างประเทศรวมถึง ภาวะตลาดเงินและตลาดทุน ภาวะการเมืองและสังคม * การวิเคราะห์ภาวะอุตสาหกรรม * การศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานของธุรกิจที่จะทําการลงทุน * กําหนดเกณฑ์ในการเลือกบทวิเคราะห์/วิจัยที่ใช้สนับสนุนการตัดสินใจลงทุน * กําหนดหลักเกณฑ์ในการเลือกสินทรัพย์แต่ละตัว/กลุ่มสินทรัพย์ที่ลงทุนในลักษณะ Active หรือ Passive\* ที่ลดความเสี่ยงโดยการกระจายการลงทุน โดยมีความเข้าใจในผลตอบแทนจาก สินทรัพย์แต่ละตัว/กลุ่มสินทรัพย์ที่ลงทุน รวมทั้งความเสี่ยงของสินทรัพย์แต่ละตัว/ความเสี่ยงของ กลุ่มสินทรัพย์ ทั้งนี้ ควรมีการควบคุมดูแลให้เป็นไปตามอัตราส่วนการลงทุนที่ลูกค้า/กองทุนกําหนด และข้อกําหนดตามกฎหมาย 1. กําหนดหลักปฏิบัติในการดํารงสภาพคล่องของกองทุน อย่างน้อยเป็นไปตาม แนวปฏิบัติการบริหารสภาพคล่องของสํานักงาน 1. กําหนดหลักปฏิบัติในการบันทึกเหตุผลที่จะแสดงให้เห็นได้ว่าผู้จัดการกองทุน มีการตัดสินใจลงทุนอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น ระบุได้ว่าจะใช้ข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง พิจารณาบทวิเคราะห์/วิจัย Model ใด มีการศึกษาข้อมูลอย่างไร ใช้ประเด็นใดในการพิจารณาเลือก ลงทุน เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการลงทุนของผู้จัดการกองทุนที่แตกต่างไปจากผลสรุป ของคณะกรรมการการลงทุน เป็นต้น **3.2.2 หลักปฏิบัติในการส่งคําสั่งซื้อขาย** 1. กําหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกบริษัทนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ เช่น research, market information, best dealing and execution หรือ preservation of confidentiality 1. บริษัทจัดการควรทําธุรกรรมในฐานะที่เป็นตัวแทนของลูกค้า โดยตัดสินใจลงทุน หรือส่งคําสั่งซื้อขายเพื่อให้ได้ผลประโยชน์หรือเงื่อนไขที่ดีที่สุด ภายใต้สภาวการณ์ในขณะนั้น ๆ (Best execution) 1. มีวิธีปฏิบัติในการจัดสรรการลงทุนให้มีความเสมอภาคและยุติธรรมสําหรับลูกค้า /กองทุน (Fair allocation) เช่น มีการบันทึกการจัดสรรการลงทุนก่อนที่จะทําการซื้อขายหลักทรัพย์ การจัดสรรหลักทรัพย์ภายหลังจากการซื้อขายเพื่อให้เป็นไปตามบันทึกการจัดสรรก่อนหน้านี้ และ เหตุผลในการเปลี่ยนแปลงการจัดสรรการลงทุนใหม่ หรือการจัดสรรการลงทุนในกรณีที่ไม่เป็นไปตามบันทึกการจัดสรรก่อนการลงทุน **3.2.3 การดูแลและควบคุมการลงทุน** 1. มีระบบในการเตือน (Early Warning) เพื่อให้การลงทุนเป็นไปตามอัตราส่วนการลงทุน ของแต่ละโครงการ 1. ตรวจสอบการลงทุนเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการลงทุน ประเภทหลักทรัพย์หรือ ทรัพย์สินที่ลูกค้า/กองทุนอนุญาตให้ลงทุนได้ สัดส่วนการลงทุนที่ลูกค้า/กองทุนกําหนด รวมทั้งข้อกําหนด ตามกฎหมาย 1. มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น 2. การกําหนดให้มีการประชุมคณะกรรมการการลงทุนอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง เพื่อให้มีการทบทวนและติดตามผลการดําเนินงาน รวมทั้งมีเครื่องมือในการวัด ติดตาม และควบคุมความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นจากการลงทุนอย่างสม่ําเสมอ โดยมีการจัดทําและจัดเก็บรายงานการประชุมของคณะกรรมการ การลงทุนเป็นลายลักษณ์อักษร 1. มีหลักปฏิบัติในการจัดการลงทุนกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดและอาจก่อให้เกิด ผลลบต่อสถานะการลงทุนของลูกค้า/กองทุน เช่น ผู้ลงทุนมีการไถ่ถอนหน่วยลงทุนเป็นจํานวนมาก เนื่องจากมีความตื่นตระหนก หรือผู้ออกตราสารไม่สามารถชําระเงินต้นและดอกเบี้ยภายในระยะเวลา ที่กําหนด รวมทั้งมีการทบทวนหรือทดสอบมาตรการที่จัดไว้ 1. มีวิธีการจัดการและแก้ไขโดยพลันเมื่อพบข้อผิดพลาด และมีระบบป้องกันความ ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นอีก **3.3** **ระบบการปฏิบัติงานด้านงานสนับสนุน (Back Office)** 1. **การจัดตั้งกองทุน และการจัดทําหนังสือชี้ชวน** **วัตถุประสงค์** ================ บริษัทจัดการต้องประเมินความพร้อมและมีความรอบคอบในการจัดตั้งกองทุน เพื่อดูว่าการ จัดตั้งกองทุนเป็นไปตามกฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้อง และมีการจัดทํารายละเอียดโครงการ จัดการกองทุนรวม/เอกสารประกอบการชักชวนลูกค้าที่มีความชัดเจนเพียงพอและสามารถเข้าใจได้ง่าย เพื่อจัดตั้งกองทุนให้ผู้ลงทุนสามารถตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนที่เหมาะสมกับความต้องการได้ **แนวทางปฏิบัติ** ----------------- 1. มีการประเมินความพร้อมในการจัดตั้งกองทุนให้เป็นไปตามกฎหมายและประกาศที่ เกี่ยวข้อง โดยดูจากแผนงานในการจัดตั้งกองทุน คู่มือ หรือ Check list ในการปฏิบัติงาน และการ รายงานผลการปฏิบัติงาน 1. วิธีการจัดตั้งกองทุนรวมมีความสอดคล้องกับลักษณะของกองทุนรวม ดังนี้ 2. กรณีที่เป็นกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป (Retail fund) มีแผนงานที่จะเสนอขายให้แก่ประชาชนทั่วไปในวงกว้าง เช่น การจําหน่าย การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และการประมาณการค่าใช้จ่าย เป็นต้น 2.2 กรณีเป็นกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน (Non-retail fund) มีแผนงานที่จะเสนอขายให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันตามที่สํานักงานประกาศกําหนด 1. การจัดตั้ง/จัดการกองทุน *กองทุนรวม* * รายละเอียดโครงการจัดการกองทุนรวมที่มีความชัดเจนเพียงพอที่จะทําให้ผู้ลงทุน สามารถเข้าใจถึงนโยบายการลงทุน หลักทรัพย์หรือทรัพย์สิน หรือสัญญาที่กองทุนจะลงทุน ความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนชนิดของหน่วยลงทุน วิธีการซื้อขายหน่วยลงทุน ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนรวมที่เหมาะสมกับความต้องการได้ * มีระบบในการเข้าถึงระบบในการยื่นรายละเอียดโครงการเพื่อขอจัดตั้งกองทุนรวม ของสํานักงาน *กองทุนส่วนบุคคล* * จัดทําสัญญาการจัดการกองทุนส่วนบุคคล ซึ่งประกอบด้วยสาระสําคัญอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ * สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของบริษัทจัดการ * ประเภท อัตรา และวิธีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทนอื่นใด หรือ ค่าใช้จ่ายในการจัดการกองทุนส่วนบุคคล ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการคิดค่าธรรมเนียมการจัดการแบบ performance fee ให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดวิธีการคิดและการตัดจ่ายค่าธรรมเนียม พร้อมแสดงตัวอย่างการคํานวณ 1. นโยบายการลงทุนและข้อจํากัดในการลงทุน 2. วันเริ่มต้น และวันสิ้นสุดของสัญญา 3. วิธีการแต่งตั้งผู้รับฝากทรัพย์สิน 4. ข้อมูลที่ควรเปิดเผยให้ลูกค้าทราบ และการกําหนดระยะเวลาที่เปิดเผยข้อมูล ดังกล่าว 6.1 ข้อมูลที่เกี่ยวกับสิทธิของลูกค้า 6.2 ข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนส่วนบุคคล 6.3 รายงานเกี่ยวกับการลงทุน หรือการก่อภาระผูกพันตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานกําหนด 6.4 การทําธุรกรรมที่ควรได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากลูกค้าตามที่สํานักงานกําหนด 6.5 ข้อมูลอื่นใดที่บริษัทจัดการและลูกค้าตกลงกันให้เปิดเผยเพิ่มเติม 1. เงื่อนไขในการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญา การต่ออายุสัญญา และการยกเลิกสัญญา 2. กําหนดเวลาและวิธีการจ่ายผลประโยชน์ให้แก่ลูกค้าในระหว่างที่สัญญายังมี ผลใช้บังคับ 3. หลักปฏิบัติในการลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินที่อาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ 4. คําเตือนเกี่ยวกับความเสี่ยงของลูกค้าว่าอาจไม่ได้รับเงินทุนและผลประโยชน์ คืนเท่ากับจํานวนเงินทุนที่ได้มอบหมายให้บริษัทจัดการจัดการลงทุน 5. หนังสือชี้ชวน มีหลักปฏิบัติในการสอบทานความถูกต้องครบถ้วนในหนังสือชี้ชวน 1. การเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงการจัดการกองทุนรวม การเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงการจัดการกองทุนรวมโดยมติของผู้ถือหน่วยลงทุน จะต้องไม่ ขัดต่อกฎหมาย และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งบริษัทจัดการควรมีความระมัดระวัง และตรวจสอบความ ถูกต้องในขั้นตอนขอมติ การตรวจนับมติ การรายงานสรุปมติเพื่อการยื่นขอเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงการโดยควรมีแนวปฏิบัติอย่างน้อย ดังนี้ 1. มีคู่มือ หรือ Check list เพื่อใช้ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงการจัดการ กองทุนรวมว่ากรณีใดควรขอ หรือไม่ขอมติผู้ถือหน่วยลงทุน 1. มีวิธีการตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อผู้ถือหน่วยที่มีสิทธิแสดงมติและ จํานวนหน่วยกับจดหมายที่ส่งถึงผู้ถือหน่วยลงทุน 5.3 มีวิธีการตรวจสอบความถูกต้องของลายเซ็นและอํานาจของผู้ลงนาม 5.4 มีการรายงานสรุปมติผู้ถือหน่วยลงทุน **3.3.2 การกําหนดค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวกับกองทุน** **วัตถุประสงค์** ================ บริษัทจัดการต้องมีการกําหนดอัตราค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวกับกองทุน ที่สมเหตุสมผลรวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่ชัดเจนด้วย เพื่อให้ลูกค้าและผู้ถือหน่วยใช้ประกอบการ ตัดสินใจลงทุน **แนวทางปฏิบัติ** ================= 1. มีการกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมการจัดการ และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวกับกองทุนที่ชัดเจน เช่น เป็นจํานวนคงที่ หรือเป็นอัตราร้อยละของมูลค่าทรัพย์สินของกองทุน เป็นต้น 1. มีหลักปฏิบัติในการกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมการจัดการที่อิงกับผลการดําเนินงาน (Performance fee) โดยบริษัทจัดการควรดําเนินการ ดังนี้ 2. กําหนด Benchmark ที่เหมาะสมกับนโยบายการลงทุนเพื่อใช้เปรียบเทียบผลการดําเนินงานของกองทุน 3. มีการกําหนดรอบระยะเวลาที่เหมาะสมที่จะใช้วัดผลการดําเนินงานเพื่อคิด Performance fee โดยไม่ควรให้ผู้ถือหน่วยลงทุน/สมาชิกกองทุนไถ่ถอนระหว่างรอบระยะเวลาการคิด ค่าธรรมเนียม เว้นแต่มีเหตุจําเป็นและสมควร ซึ่งควรเป็นธรรมต่อผู้ถือหน่วยลงทุน/สมาชิกกองทุน 1. มีการกําหนดรูปแบบในการคิดค่าธรรมเนียมที่ชัดเจน เช่น Fulcrum Fee หรือ Escalating Fee (รายละเอียดตามภาคผนวก ก.) เป็นต้น 2. มีการกําหนดแนวทางในการเปิดเผยข้อมูลในโครงการเพื่อให้ลูกค้า หรือผู้ลงทุนสามารถ เข้าใจวิธีการคิดค่าธรรมเนียมของกองทุนได้ถูกต้อง และใช้ประกอบในการตัดสินใจลงทุนได้อย่าง เหมาะสม ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการคิดค่าธรรมเนียมแบบ Performance fee ควรมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ รายละเอียดวิธีการคิดและการตัดจ่ายค่าธรรมเนียม พร้อมแสดงตัวอย่างการคํานวณ ทั้งนี้ ในกรณีกองทุน ส่วนบุคคลให้มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในสัญญาการจัดการกองทุนส่วนบุคคลด้วย **3.3.3 การรับและส่งมอบทรัพย์สินของกองทุน** ------------------------------------------- **วัตถุประสงค์** ================ บริษัทจัดการมีหลักปฏิบัติเกี่ยวกับการรับและส่งมอบทรัพย์สินของกองทุนที่ชัดเจน เพื่อให้ ลูกค้า ผู้รับฝากทรัพย์สิน บริษัทจัดการ หรือผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมได้รับทรัพย์สินโดยพลัน เพื่อให้การบริหารจัดการมีความต่อเนื่อง **แนวทางปฏิบัติ** ================= 1. *กรณีกองทุนรวม*ที่มีการเปลี่ยนแปลงบริษัทจัดการ/ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการมีการประสานงาน และเตรียมการให้มีการจัดส่งข้อมูลให้บริษัทจัดการ/ผู้ดูแล ผลประโยชน์รายใหม่ล่วงหน้าอย่างน้อย 15 วันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงบริษัทจัดการ/ผู้ดูแล ผลประโยชน์ 2. *กรณีกองทุนส่วนบุคคล*ให้บริษัทจัดการมีการส่งมอบหลักทรัพย์และทรัพย์สินของกองทุนส่วนบุคคลให้แก่ลูกค้า หรือผู้รับฝากทรัพย์สินดังต่อไปนี้ 1. กรณีที่สัญญาสิ้นสุดลงเพราะเหตุครบกําหนดอายุสัญญา ให้บริษัทจัดการส่งมอบ ภายใน 5 วันทําการถัดจากวันครบกําหนดอายุสัญญา 1. กรณีที่สัญญาสิ้นสุดลงเพราะเหตุการใช้สิทธิเลิกสัญญาของลูกค้า ให้บริษัทจัดการ ส่งมอบโดยพลัน 1. กรณีที่สัญญาสิ้นสุดลงเพราะเหตุการใช้สิทธิเลิกสัญญาของบริษัทจัดการให้ บริษัทจัดการส่งมอบภายในวันทําการถัดจากวันที่สัญญาสิ้นสุดลง 1. การส่งมอบหลักทรัพย์และทรัพย์สินของกองทุนส่วนบุคคลที่เป็นกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ ให้บริษัทจัดการดําเนินการส่งมอบแก่ผู้รับฝากทรัพย์สินรายใหม่แทน **3.3.4 การจ่ายเงินปันผล** ### #### ##### **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องมีระบบในการจ่ายเงินปันผลที่ชัดเจนและเป็นไปตามที่กําหนดใน หนังสือชี้ชวน รวมถึงมีการกระทบยอดคงเหลือ เพื่อเป็นการรักษาผลประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน **แนวทางปฏิบัติ** 1. มีการระบุขั้นตอนการจ่ายเงินปันผล รวมถึงวิธีการสอบทานจํานวนผู้ได้รับเงินปันผลที่บริษัทได้รับจากนายทะเบียน และเปรียบเทียบมติการจ่ายเงินปันผลกับคําสั่งโอนเงินที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ 2. กําหนดบุคคล หรือคณะทํางานในการพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลของกองทุน 3. มีระบบการรับจ่ายเงินในบัญชีเพื่อจ่ายเงินปันผล เช่น การติดตามความถูกต้องของการรับเงินเข้าบัญชีเพื่อจ่ายเงินปันผล มีขั้นตอนควบคุมการเก็บรักษา และการเบิกจ่ายเช็คเพื่อจ่ายเงินปันผล มีการตรวจสอบเอกสารอนุมัติรายการจัดทําเช็คโดยผู้มีอํานาจ และมีการสอบทานความถูกต้องของการ จัดทําเช็คจ่ายเงินปันผล เป็นต้น 1. มีระบบการจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหน่วยลงทุน เช่น การจัดสรรกําไรสะสมและรายชื่อ ผู้ถือหน่วยลงทุน ณ วันที่ประกาศจ่ายเงินปันผล การตรวจสอบความถูกต้องของการประกาศและจ่าย เงินปันผลให้ผู้ถือหน่วยลงทุนว่าเป็นไปตามหนังสือชี้ชวน การควบคุมและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของการจัดทําและจัดส่งเช็คเงินปันผลให้ผู้ถือหน่วยลงทุน เป็นต้น 1. มีระบบในการกระทบยอดการเบิกจ่ายเงินปันผลของผู้ถือหน่วยลงทุน 2. มีระบบการควบคุมวิธีการจ่ายเงินปันผลที่น่าเชื่อถือได้ในกรณีที่หนังสือชี้ชวนมีการ ระบุให้สามารถจ่ายเงินโดยวิธีการอื่นได้ **3.3.5 การคํานวณและประกาศ NAV** ------------------------------- **วัตถุประสงค์** ================ บริษัทจัดการต้องมีการคํานวณมูลค่าทรัพย์สินโดยใช้ราคายุติธรรม และมีการกําหนด ระยะเวลาในการประกาศมูลค่าทรัพย์สิน เพื่อให้ลูกค้าได้ทราบถึงการเคลื่อนไหวของมูลค่าทรัพย์สิน ที่เป็นปัจจุบัน **แนวทางปฏิบัติ** ================= 1. มีระบบในการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์และทรัพย์สินอื่นของกองทุนให้เป็นไปตามหลักวิชาการอันเป็นที่ยอมรับหรือมาตรฐานตามที่สมาคมกําหนด 2. มีระบบในการคํานวณและการประกาศมูลค่าทรัพย์สินของกองทุน 3. กําหนดบุคคลที่ทําหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของการคํานวณมูลค่าทรัพย์สินของ กองทุนดังกล่าว 1. *กรณีกองทุนรวม* มีระบบในการสอบทาน และรับรองมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนที่ บริษัทจัดการคํานวณกับผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม **3.3.6 การมอบหมายงานที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจจัดการลงทุน** ### #### ##### **วัตถุประสงค์** ในการมอบหมายงานที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจจัดการลงทุนให้ผู้อื่น บริษัทจัดการต้อง รับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมาย โดยขอบเขตงานต้องอยู่ในสถานะที่บริษัทจัดการควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติที่เป็นไปตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง **แนวทางปฏิบัติ** 1. มีขั้นตอนในการคัดเลือกผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ทํา due diligence) ว่าผู้รับมอบหมาย มีความพร้อมด้านระบบงานและบุคลากรเช่นเดียวกับบริษัทจัดการ 1. มีการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับมอบหมาย เช่น การประเมินผลการปฏิบัติงาน การรายงานต่อผู้มอบหมาย การตรวจสอบการปฏิบัติให้เป็นไปตามสัญญา และความสามารถในการ รองรับปริมาณธุรกิจของผู้รับมอบอํานาจ (Concentration risk) เป็นต้น 1. มีแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินที่ผู้รับมอบหมายไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ 2. จัดให้มีสัญญาการจ้างเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีข้อกําหนดในเรื่องต่างๆ อย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1. ข้อจํากัดหรือเงื่อนไขในการมอบหมายช่วง 2. หน้าที่ความรับผิดชอบของคู่สัญญา 3. การรักษาความลับของลูกค้า 4. การประกันความเสียหาย 5. การจัดส่งข้อมูลตามที่บริษัทจัดการ ผู้สอบบัญชี ผู้ดูแลผลประโยชน์ หรือสํานักงานตามที่ร้องขอ 6. การให้สํานักงานสามารถเข้าตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้รับมอบหมายภายในกําหนดระยะเวลาที่ได้รับแจ้งจากสํานักงาน 7. การแก้ไขกรณีมีข้อพิพาทกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง 8. เงื่อนไขการยกเลิกสัญญา เช่น ผู้รับมอบหมายปฏิบัติไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์ ผลการดําเนินงานไม่เป็นที่น่าพอใจ มีปัญหาเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน เป็นต้น 9. สิทธิของบริษัทจัดการในการเข้าถึงข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล 5. มีมาตรการป้องกันการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทั้งในส่วนของผู้มอบหมาย และในส่วนที่เพิ่มขึ้นของผู้รับมอบหมาย 6. มีการเปิดเผยข้อมูลการมอบหมายงานที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจจัดการลงทุนใน รายละเอียดโครงการ/สัญญาการจัดการกองทุนส่วนบุคคล **3.3.7 การกําหนดแผนรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน (Contingency Plan)** **วัตถุประสงค์** ================ บริษัทจัดการต้องมีการกําหนดแผนป้องกันและรองรับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด หรือ เหตุฉุกเฉินที่อาจส่งผลกระทบต่อองค์กร กองทุน และลูกค้า หรือผู้ลงทุน เพื่อลดระดับความเสี่ยง และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น และให้องค์กรสามารถดําเนินธุรกิจที่สําคัญ และจําเป็นในเบื้องต้นได้ **แนวทางปฏิบัติ** ================= 1. จัดทําแผนเพื่อรองรับกรณีฉุกเฉินในด้านต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น โดยมีรายละเอียดอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1. ประเมินสถานการณ์ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกที่อาจเกิดขึ้น และส่งผลกระทบต่อองค์กร กองทุน และลูกค้าหรือผู้ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ และมีการจัดลําดับสถานการณ์ตามระดับความ รุนแรงของปัญหา 1. กําหนดขั้นตอนการแก้ไขในแต่ละสถานการณ์ 2. กําหนดเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ และผู้มีอํานาจในการตัดสินใจ รวมทั้ง มีรายชื่อและเบอร์โทรศัพท์ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง และแจ้งให้ผู้ที่รับผิดชอบทราบ (ตัวอย่าง Call out tree ตามภาคผนวก ข.) 3. มีช่องทางการติดต่อสื่อสารภายในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ สามารถแจ้งข่าวให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องรับทราบข่าวสารได้โดยเร็ว 4. จัดเตรียมความพร้อมของข้อมูลที่จัดเก็บในระบบคอมพิวเตอร์ รายชื่อและเบอร์โทรศัพท์ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ที่จําเป็นต้องใช้งานเพื่อเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติ 4. มีการทบทวน และปรับปรุงแผนฉุกเฉินให้เป็นปัจจุบัน และสอดคล้องกับสถานการณ์ 5. มีการทดสอบการปฏิบัติการตามแผนฉุกเฉิน 6. ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ควรมีการดําเนินการ ดังนี้ 6.1 มีการสื่อสารแผนการดําเนินงานให้บุคคลภายนอกได้รับทราบ 6.2 มีการบันทึกรายละเอียดของเหตุการณ์ สาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ไขปัญหา **3.3.8** **การไปใช้สิทธิออกเสียง (Proxy Voting)** **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องจัดให้มีระบบในการไปใช้สิทธิออกเสียง (Proxy Voting) แทนกองทุน เพื่อเป็นการรักษาประโยชน์ของกองทุน และส่งเสริมให้บริษัทที่กองทุนได้ลงทุนหรือมีหุ้นมีการ กํากับดูแลกิจการที่ดี **แนวทางปฏิบัติ** ----------------- 1. กําหนดแนวทางในการใช้สิทธิออกเสียงที่ถือว่ามีความชัดเจนและรักษาผลประโยชน์ -------------------------------------------------------------------------- ที่ดีที่สุดให้แก่กองทุน โดยมีการจัดทําเป็นลายลักษณ์อักษรและได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ---------------------------------------------------------------------------------------- ของบริษัทในเรื่องอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ------------------------------------- (ก) บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากบริษัทจัดการในการดําเนินการใช้สิทธิออกเสียงเป็นผู้ที่มีความรู้และเข้าใจในประเด็นที่จะใช้สิทธิออกเสียง (ข) ประเด็นที่ควรคํานึงถึงในการตัดสินใจใช้สิทธิออกเสียง เช่น ผลดีและผลเสียที่จะ เกิดขึ้นกับกองทุน ผลประโยชน์ต่อกองทุนซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทที่ออกหุ้นนั้นเป็นสําคัญ ประโยชน์ ที่ดีที่สุดที่กองทุนจะได้รับในกรณีมีการออกเสียงลงมติในประเด็นที่กองทุนซึ่งอยู่ภายใต้การจัดการมี ผลประโยชน์ขัดแย้งกันเนื่องจากมีการลงทุนทั้งในหุ้นและตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทที่ออกหุ้นนั้น การดําเนินการเพิ่มเติมในกรณีที่จะใช้สิทธิออกเสียงแตกต่างจากข้อเสนอของฝ่ายบริหารของบริษัทที่ ออกหุ้น เป็นต้น (ค) หลักปฏิบัติเพื่อให้บุคคลตาม (ก) สามารถใช้สิทธิออกเสียงตามหลักเกณฑ์ใน (ข) ได้อย่างอิสระในกรณีที่มีประเด็นที่จะใช้สิทธิออกเสียงเพื่อกองทุนนั้นมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กับบริษัทจัดการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บุคคลที่เกี่ยวข้องได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ (ค.1) บุคคลใด ๆ ที่มิใช่ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน และสํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งถือหุ้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังต่อไปนี้ 1. บุคคลดังกล่าวที่ถือหุ้นของบริษัทจัดการเกินร้อยละห้าของจํานวนหุ้นที่ จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทจัดการ 1. บุคคลดังกล่าวที่ถือหุ้นของบุคคลตาม (1) เกินร้อยละสามสิบของจํานวนหุ้น ที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบุคคลตาม (1) 1. บุคคลดังกล่าวที่บุคคลตาม (1) ถือหุ้นเกินร้อยละสามสิบของจํานวนหุ้นที่ จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบุคคลดังกล่าว (ค.2) บุคคลที่บริษัทจัดการถือหุ้นของบุคคลนั้นอยู่ (ค.3) บุคคลที่กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลที่มีอํานาจในการจัดการของบริษัทจัดการ ถือหุ้นเกินร้อยละสามสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบุคคลนั้น ทั้งนี้ บุคคลที่มีอํานาจใน การจัดการ ได้แก่ กรรมการบริหาร รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อํานวยการฝ่าย และรวมถึงผู้ดํารง ตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่นโดยบุคคลดังกล่าวเป็นผู้รับผิดชอบในสายงานเกี่ยวกับการให้บริการ ด้านหลักทรัพย์ การปฏิบัติการด้านหลักทรัพย์ การวิจัยด้านหลักทรัพย์หรือตลาดทุน หรือสายงานอื่นใน ทํานองเดียวกัน ทั้งนี้ ไม่ว่าสายงานนั้นจะปฏิบัติงานเพื่อให้บริการแก่บุคคลอื่นหรือเพื่อประโยชน์ของ บริษัทจัดการเอง (ค.4) บุคคลที่ผู้จัดการกองทุนถือหุ้นเกินร้อยละสามสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่าย ได้แล้วทั้งหมดของบุคคลนั้น (ค.5) บุคคลที่เป็นที่ปรึกษาการลงทุนของบริษัทจัดการหรือกองทุน (ค.6) ผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเกินร้อยละสิบของจํานวน หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมนั้น 2. กําหนดเรื่องที่ถือได้ว่าอาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อผลประโยชน์ของกองทุนซึ่ง บริษัทจัดการควรดําเนินการใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ดังต่อไปนี้ 1. ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน การจ่ายเงินปันผล ที่อาจส่งผลกระทบต่อผลประโยชน์ ที่ผู้ถือหุ้นจะได้รับหรือต่อมูลค่าหุ้น (Shareholder’s value) 1. การได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินสําคัญ การซื้อขายหรือให้เช่ากิจการ การควบ หรือรวมกิจการ การจ้างบริหาร และการครอบงํากิจการ ทั้งนี้ ทรัพย์สินสําคัญตาม (ข) ได้แก่ ทรัพย์สินที่บริษัทได้มาหรือจําหน่ายไปจาก การตกลงเข้าทํารายการตามที่กําหนดในประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิดเผยเกี่ยวกับการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียน โดยอนุโลม (ค) การแต่งตั้งและถอดถอนกรรมการของบริษัท (ง) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเงินทุนของบริษัท เช่น การเพิ่มทุน การลดทุน การไม่เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม การปรับโครงสร้างหนี้ และการออกหุ้นกู้ เป็นต้น (จ) การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษให้แก่กรรมการของบริษัท การเสนอขายหลักทรัพย์ แก่กรรมการและพนักงานของบริษัท (ฉ) การทําธุรกรรมที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทกับผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้น หรือการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ทั้งนี้ ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นตาม (ฉ) ได้แก่ บุคคลหรือห้างหุ้นส่วนตามมาตรา 258 (1) ถึง (7) ของผู้ถือหุ้น (ช) การเปลี่ยนประเภทธุรกิจของบริษัท หรือวัตถุประสงค์ของบริษัท (ซ) การแก้ไขข้อบังคับของบริษัท (ฌ) การแต่งตั้งและถอดถอนผู้สอบบัญชีของบริษัท 3. จัดให้มีการตรวจสอบการดําเนินการในการใช้สิทธิออกเสียงที่ถือได้ว่ามีประสิทธิภาพ โดยบริษัทจัดการควรจัดให้มีการจัดทําเอกสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรในกําหนดขั้นตอนวิธีการ และ ระยะเวลาในการตรวจสอบการดําเนินการการใช้สิทธิออกเสียงให้เป็นไปตามแนวทางในการใช้สิทธิ ออกเสียงที่บริษัทจัดการกําหนด โดยบริษัทจัดการควรกําหนดบุคคลที่มีหน้าที่ตรวจสอบที่เป็นอิสระ จากหน่วยงานเดียวกับบุคคลที่ดําเนินการใช้สิทธิออกเสียง โดยจัดทํารายงานผลการตรวจสอบเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัทจัดการ 4. กําหนดวิธีการที่ถือได้ว่ามีความเหมาะสมและมีสาระอย่างเพียงพอในการเปิดเผยแนวปฏิบัติในการใช้สิทธิออกเสียง และการดําเนินการใช้สิทธิออกเสียงต่อผู้ลงทุน เพื่อให้ผู้ลงทุนเข้าถึงและรับทราบ ข้อมูลดังกล่าวได้โดยสะดวก เช่น การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์ (Web site) เป็นต้น โดยข้อมูลที่เปิดเผย ควรมีสาระอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (รายละเอียดตามภาคผนวก ค.) (ก) แนวทางในการใช้สิทธิออกเสียง (ข) รายงานสรุปเกี่ยวกับการใช้สิทธิออกเสียงในรอบปีปฏิทิน ซึ่งมีสาระสําคัญเกี่ยวกับ รายชื่อบริษัทที่มีการใช้สิทธิออกเสียง จํานวนครั้งที่ได้ใช้สิทธิออกเสียง และลักษณะการใช้สิทธิออกเสียง สนับสนุนหรือคัดค้าน (ค) รายละเอียดของการใช้สิทธิออกเสียงที่สําคัญ เช่น กรณีที่บริษัทจัดการมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กับบริษัทที่ออกหุ้น หรือกรณีที่บริษัทจัดการมีความเห็นแตกต่างจากฝ่ายบริหารของบริษัท ที่ออกหุ้น เป็นต้น ทั้งนี้ ควรมีสาระสําคัญเกี่ยวกับรายชื่อบริษัทที่ออกหุ้นที่จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้น และลักษณะการใช้สิทธิออกเสียงสนับสนุนหรือคัดค้านพร้อมทั้งเหตุผล 1. **การปฏิบัติการของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ** **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องจัดให้มีระบบงานเกี่ยวกับการปฏิบัติการกองทุนส่วนบุคคลที่เป็นกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งสามารถตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบันของข้อมูลสมาชิกของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ การนําส่งเงินเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพและการจ่ายเงินให้แก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพได้อย่างถูกต้องและตรงตามกําหนดเวลา รวมทั้งมีระบบงานการเงินและระบบบัญชีกองทุนที่มีประสิทธิภาพสามารถตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบัติงานได้ **แนวทางปฏิบัติ** 1. จัดให้มีระบบการปฏิบัติงานทะเบียนสมาชิกกองทุน อันได้แก่ 1.1 ระบบการควบคุมภายในของงานด้านทะเบียนสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (Fund administrator) ที่มีความเพียงพอที่จะให้มั่นใจได้ว่าการปฏิบัติงานจะเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และ รัดกุม โดยควรคํานึงถึงเรื่องดังต่อไปนี้ 1.1.1 *การจัดเก็บเอกสารและข้อมูล* (1) มีระบบการจัดเก็บเอกสารเกี่ยวกับการนําส่งเงินเข้ากองทุน วันคํานวณ จํานวนหน่วย (Trade date) และการจ่ายเงินให้แก่สมาชิกที่ง่ายต่อการค้นหา มีความปลอดภัยจากผู้ที่ไม่ เกี่ยวข้อง มีการควบคุมการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเอกสาร และอยู่ในสภาพที่ผู้ใช้งาน และบุคคลที่ เกี่ยวข้องสามารถเรียกใช้งานได้ ภายใน 10 วันทําการ (2) จัดเก็บเอกสาร/ข้อมูลในรูปแบบอื่นเกี่ยวกับการนําส่งเงินเข้ากองทุน วันคํานวณจํานวนหน่วย (Trade date) และการจ่ายเงินให้แก่สมาชิกไว้ทุกครั้ง เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี ทั้งนี้ ในกรณีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบอื่นควรสามารถเรียกดูข้อมูลในการจัดเก็บนั้นได้ด้วย (3) มีระบบสํารองข้อมูล (Backup) และมีมาตรการรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เพื่อให้สามารถให้บริการได้โดยไม่หยุดชะงักนานเกินสมควร 1.1.2 *การรักษาความปลอดภัยของเอกสารและข้อมูล* มีระบบในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและเอกสารที่เพียงพอ เช่น กําหนด ให้การเข้าออกพื้นที่เฉพาะบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น 1.1.3 *การดูแลสายการปฏิบัติงาน* (1) จัดให้มีระบบการสอบยันการปฏิบัติงานระหว่างบุคลากรภายในฝ่ายงานที่ เกี่ยวข้อง (Maker & checker) (2) มีการกําหนดหน้าที่ที่ชัดเจนของบุคคลในการปฏิบัติงาน (3) มีการทําคู่มือการปฏิบัติงาน (Work procedure) ให้พนักงานใช้อ้างอิง และมี การฝึกอบรมพนักงานใหม่ให้สามารถปฏิบัติงานได้ ในกรณีมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคู่มือ ควรมีการสื่อสาร การเปลี่ยนแปลงให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งควบคุมให้มีการปฏิบัติตาม (4) มีการปรับปรุงขั้นตอนการทํางาน เมื่อเกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงานขึ้น และบันทึกถึงความผิดพลาดนั้น พร้อมทั้งแนวทางป้องกัน 1.2 ระบบการปฏิบัติงานทะเบียนสมาชิกกองทุน ประกอบด้วยงานใน 3 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1.2.1 *การนําส่งเงินเข้ากองทุน* (1) มีการควบคุมการนําส่งเงินเข้ากองทุน (ก) โดยที่กฎหมายกําหนดให้นายจ้างนําส่งเงินเข้ากองทุนภายใน 3 วัน ทําการถัดจากวันที่จ่ายค่าจ้าง ดังนั้นภายในวันทําการถัดจากวันที่กฎหมายกําหนดให้นายจ้างต้องนําส่งเงินเข้ากองทุน บริษัทจัดการควรทราบทุกครั้งว่านายจ้างมีการนําเงินเข้ากองทุนหรือไม่ หากนายจ้างไม่ได้ส่งเงินเข้ากองทุนภายในระยะเวลาดังกล่าว บริษัทจัดการควรติดตามให้นายจ้างนําส่งเงินเข้ากองทุนไม่ช้ากว่าวันทําการถัดไป รวมทั้งติดตามให้นายจ้างนําเงินเข้ากองทุนตามสมควร พร้อมทั้งบันทึกการติดตามที่สามารถอ้างอิงตัวบุคคลที่ติดต่อไว้เป็นหลักฐานด้วย สําหรับเงินที่นายจ้างจะต้องนําส่งเข้ากองทุนประกอบด้วย (ก.1) เงินสะสมและสมทบเข้ากองทุน (ก.2) เงินเพิ่มของนายจ้างกรณีที่นายจ้างส่งเงินเข้ากองทุนล่าช้า (ข) มีระบบและมาตรการควบคุมความถูกต้องของวันคํานวณจํานวนหน่วย (Trade date) ของสมาชิกแต่ละรายอย่างเพียงพอ เช่น มีการสอบทานความถูกต้องของ trade date ของ แต่ละกองทุนภายในวัน trade date นั้น ๆ และมีการระบุวันที่รับเอกสารประกอบการนําส่งเงินเข้ากองทุนของนายจ้าง เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการใช้ trade date เป็นต้น (2) การตรวจสอบความถูกต้องของจํานวนเงินนําส่ง 1. ภายในวันทําการถัดจาก Trade date บริษัทจัดการควรทราบและสามารถตรวจสอบความไม่ถูกต้องของการบวกจํานวนเงินที่นําส่งรายสมาชิกเพื่อให้ได้ยอดรวมของจํานวนเงินนําส่งเข้ากองทุน รวมทั้งแยกแยะได้ว่าเงินนําส่งเป็นของสมาชิกรายใด : รายปัจจุบัน รายใหม่ รวมทั้งสมาชิกที่ไม่ได้นําส่งเงินเข้ากองทุน 2. กรณีที่มีการตรวจพบความผิดปกติของเงินนําส่ง บริษัทจัดการควรสอบถามนายจ้างทันทีเพื่อให้ได้คําตอบที่ชัดเจน และติดตามจนกว่านายจ้างจะดําเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง หากเป็นกรณีที่นายจ้างไม่นําส่งเงินของสมาชิกรายใดเนื่องจากสมาชิกสิ้นสมาชิกภาพ บริษัทจัดการควรแจ้งและติดตามนายจ้างจนกว่านายจ้างจะได้แจ้งรายละเอียดการสิ้นสมาชิกภาพของสมาชิกดังกล่าว เพื่อให้บริษัทจัดการสามารถจ่ายเงินให้สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพได้ตามระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดต่อไป และบันทึกการดําเนินการไว้เป็นหลักฐานด้วย 1. ทะเบียนสมาชิกกองทุนและการจัดสรรเงินนําส่งและผลประโยชน์ของสมาชิก รายตัว (1) ฐานข้อมูลสมาชิกรายตัวและการคํานวณเงินในกองทุน (ก) มีการจัดทําฐานข้อมูลสมาชิกรายตัวที่ครบถ้วนถูกต้อง และเป็น ปัจจุบัน ซึ่งสามารถแยกได้ถึงจํานวนเงินนําส่งของสมาชิกแต่ละรายอย่างชัดเจน โดยอย่างน้อยควรมี ข้อมูลดังต่อไปนี้ (ก.1) ชื่อกองทุน (ก.2) ชื่อนายจ้าง (ก.3) ชื่อหรือรหัสสมาชิก (ก.4) วันคํานวณจํานวนหน่วย (Trade date) (ก.5) จํานวนเงินนําเข้ากองทุน (ข) สามารถคํานวณแยกเป็นยอดเงินสะสม เงินสมทบ ผลประโยชน์ของ เงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสมทบดังกล่าวรายสมาชิก ณ วันที่ตกลงกันได้อย่างถูกต้องครบถ้วนภายในวันทําการถัดไปนับจากวันที่ตกลงกัน โดยอาจมีค่าใช้จ่ายตามสมควร (ค) สามารถจัดทํารายงานรายตัวสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพได้ทุก Transaction พร้อมทั้งรายละเอียดการคํานวณจํานวนเงินนําส่ง และการจัดสรรจํานวนหน่วย มูลค่า ต่อหน่วยตามที่สมาชิกร้องขอเป็นรายกรณี โดยอาจมีค่าใช้จ่ายตามสมควรได้ภายในวันที่มีการตกลงไว้ กับสมาชิก เพื่อให้สมาชิกสามารถตรวจสอบความถูกต้องของเงินนําส่งเข้ากองทุนได้ (2) การเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยให้แก่สมาชิก (ก) มีข้อตกลงที่ชัดเจนระหว่างบริษัทจัดการกับคณะกรรมการกองทุน เกี่ยวกับกําหนดวันคํานวณจํานวนหน่วย (Trade date) ของแต่ละกองทุน ซึ่งการกําหนดวัน trade date ควรคํานึงถึงการจัดสรรหน่วยสําหรับรายการเงินเข้าหรือออกจากกองทุนอย่างถูกต้อง และสะท้อนถึงราคาตลาดของทรัพย์สินที่เป็นปัจจุบันมากที่สุด แต่ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง (ข) มีการกําหนดเวลาในการปิดรับเอกสารและแจ้งให้คณะกรรมการ กองทุนทราบ เพื่อให้สามารถตรวจสอบเอกสารที่ส่งมาครบถ้วนได้ทันใช้ในการคํานวณ ใน trade date ที่จะถึงเร็วที่สุด 1. มีเอกสาร/ข้อมูลที่แสดงได้ว่า การเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยให้แก่ สมาชิกมีความถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานประกาศกําหนด หรือข้อตกลงใด ๆ ระหว่าง บริษัทจัดการกับคณะกรรมการกองทุน 1. มีการสอบทานความถูกต้องของการเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วย และ กรณีพบความผิดพลาดในการเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วย ให้ดําเนินการแก้ไขในทันทีที่พบความผิดพลาดดังกล่าว และบันทึกสาเหตุความผิดพลาดและการดําเนินการแก้ไขนั้นไว้ด้วย เพื่อให้เงินในกองทุนของสมาชิกมีความถูกต้องครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานประกาศกําหนดหรือข้อตกลงใด ๆ ระหว่างคณะกรรมการกองทุนกับบริษัทจัดการ 1.2.3 *การจ่ายเงินให้กับสมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ* (1) การตรวจสอบข้อมูลเพื่อการจ่ายเงิน (ก) มีข้อมูลประกอบการจ่ายเงินตามที่ข้อบังคับกองทุนกําหนดอย่างถูกต้อง และเพียงพอ โดยในรายการที่กําหนดให้คณะกรรมการกองทุนแจ้งการสิ้นสมาชิกภาพ ควรมีรายการ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก.1) ชื่อและรหัสสมาชิก (ก.2) วันที่เข้าทํางานกับนายจ้างปัจจุบัน/วันที่เป็นสมาชิกกองทุน (ก.3) วันที่ออกจากงานกับนายจ้างปัจจุบัน/วันที่สิ้นสมาชิกภาพ (ก.4) เหตุที่สิ้นสมาชิกภาพ (ก.5) ที่อยู่และหมายเลขโทรศัพท์ของสมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพหรือ ผู้รับประโยชน์ ที่สามารถติดต่อได้โดยสะดวก (เฉพาะกรณีสมาชิกขอคงเงินไว้ในกองทุน) (ก.6) อัตราจ่ายเงินสมทบและผลประโยชน์ (ก.7) เหตุผลกรณีไม่จ่ายเงินสมทบและผลประโยชน์ของเงินสมทบ (ก.8) งวดสุดท้ายที่นําส่งเงิน (ก.9) วิธีการจ่ายเงิน ซึ่งควรเป็นไปตามข้อบังคับกองทุน (ข) มีการตรวจสอบลายมือชื่อกรรมการกองทุนในหนังสือแจ้งการสิ้น สมาชิกภาพจากคณะกรรมการกองทุนเทียบกับแบบลายมือชื่อที่คณะกรรมการกองทุนได้ให้ไว้กับ บริษัทจัดการว่ามีอํานาจลงนามหรือไม่ทุกครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นกรรมการที่แจ้งสิ้นสมาชิกภาพเป็นกรรมการผู้มีอํานาจลงนาม 1. ปรับปรุงข้อบังคับให้เป็นปัจจุบัน และควรจัดเก็บข้อบังคับ และเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายเงินให้แก่สมาชิก (2) การคํานวณจํานวนเงินที่จะจ่ายให้สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ (ก) ตรวจสอบข้อมูลประกอบการคํานวณจ่ายเงินให้ถูกต้องครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ที่ข้อบังคับกองทุนกําหนด หากมีข้อสงสัยในข้อมูลหรือหลักเกณฑ์ที่ข้อบังคับกองทุนกําหนดแม้เพียงประเด็นเล็กน้อย บริษัทจัดการควรสอบถามคณะกรรมการกองทุนทันทีเพื่อให้ได้ ความชัดเจน (ข) กรณีมีการตรวจพบว่าการจ่ายเงินไม่ถูกต้อง ให้เร่งดําเนินการแก้ไข ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานประกาศกําหนดหรือข้อตกลงใด ๆ ระหว่างคณะกรรมการกองทุนกับ บริษัทจัดการ และบันทึกไว้เป็นหลักฐาน (3) การควบคุมให้มีการจ่ายเงินภายใน 30 วันนับแต่วันที่สมาชิกสิ้น สมาชิกภาพ โดยบริษัทจัดการบันทึกรายละเอียดการนําส่งเอกสารการจ่ายเงินให้คณะกรรมการกองทุนภายในวันที่มีการนําส่งเอกสารดังกล่าว ซึ่งอย่างน้อยประกอบด้วย ชื่อและรหัสสมาชิก เลขที่เอกสารการจ่ายเงิน จํานวนเงิน วันที่ในเอกสารการจ่ายเงิน เพื่อสามารถตรวจสอบว่าได้จ่ายเงินอย่างถูกต้องให้กับสมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ รวมทั้งมีหลักฐานที่สามารถยืนยันว่าบริษัทจัดการนําส่งเอกสารการจ่ายเงินให้ คณะกรรมการกองทุนแล้ว (4) การควบคุมการรับเงินของสมาชิกหรือผู้รับประโยชน์ (ก) มีการตรวจสอบการรับเงินของสมาชิก/ผู้รับประโยชน์ เพื่อให้แน่ใจ ว่าสมาชิกได้รับเงินเรียบร้อยแล้ว กรณีบริษัทจัดการมีการจ่ายเป็นเช็คควรมีการ Reconcile บัญชีเช็ค อย่างน้อยเดือนละครั้ง และให้เสร็จสิ้นภายในเดือนถัดไป (ข) มีทะเบียนคุมเช็คคงค้าง เพื่อสามารถตรวจสอบความถูกต้องของเช็ค ที่ยังไม่ได้ขึ้นเงิน 2. จัดให้มีระบบบัญชีกองทุน อันได้แก่ 1.1 ระบบการคํานวณมูลค่าต่อหน่วยและมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน และ 1.2 ระบบการจัดทําบัญชีทรัพย์สินเพื่อแสดงรายการและจํานวนทรัพย์สินของกองทุน ตลอดจนการบันทึกรายการรับหรือจ่ายทรัพย์สินของกองทุน และการจัดทํางบการเงิน **3.4 ระบบการกํากับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance function)** **วัตถุประสงค์** ================ บริษัทจัดการต้องมีระบบในการควบคุมดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านการจัดการ ลงทุน และงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ประกาศ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และมีการ กําหนดแผนการตรวจสอบประจําปี วิธีการในการควบคุมดูแลและตรวจสอบอย่างชัดเจน ซึ่งผู้ปฏิบัติงานในหน้าที่ดังกล่าวจะต้องมีความเป็นอิสระ มีการกําหนดขั้นตอน วิธีการและระยะเวลาอย่างชัดเจนในการรายงานผลการตรวจสอบไปยังคณะกรรมการบริษัท หรือคณะกรรมการอื่นที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท เช่น Audit Committee โดยตรง เพื่อให้เป็นไปตามหลักการ check and balance ที่ดี รวมทั้งมีหลักเกณฑ์และวิธีการในการป้องกันข้อผิดพลาดจากการดําเนินงานที่ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ ประกาศ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องด้วย **แนวทางปฏิบัติ** ================= 1. จัดให้มีคู่มือการปฏิบัติงาน โดยมีการจัดทําให้เป็นปัจจุบัน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง ผู้ปฏิบัติงานในหน้าที่ดังกล่าวควรมีการสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ และถือปฏิบัติโดยไม่ชักช้า 1. จัดให้มีแผนการตรวจสอบ (Audit plan) ประจําปี โดยควรจะระบุผู้รับผิดชอบ และ ระยะเวลาในการตรวจสอบอย่างชัดเจนว่าเมื่อไร และอย่างไร เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกไตรมาส เป็นต้น 1. มีการกํากับดูแลและการตรวจสอบที่ครอบคลุมในเรื่องต่างๆ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ 2. การปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนงานของบริษัท 3. การเสนอนโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับความต้องการ / ความคาดหวัง ข้อจํากัด และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของลูกค้า 4. การเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป (Retail fund) 5. การรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุนให้อยู่ภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือชี้ชวน 6. การระบุและตรวจสอบตัวตนที่แท้จริงของลูกค้า และการรายงานธุรกรรมที่ต้องสงสัย ตามแนวปฏิบัติของสํานักงานเกี่ยวกับการจัดระบบงานบริหารความเสี่ยงในการใช้บริการธุรกิจหลักทรัพย์ เป็นช่องทางในการฟอกเงิน 3.6 การลงทุนให้เป็นไปตามนโยบายการลงทุน อัตราส่วนการลงทุน ตามที่กําหนดในโครงการ สัญญาการจัดการกองทุนส่วนบุคคล รวมทั้งตามที่กฎหมายกําหนด 1. การบริหารความเสี่ยงในการตัดสินใจลงทุน (Portfolio Management Risk) 2. การดํารงสภาพคล่องของกองทุนให้สอดคล้องกับนโยบายการรับซื้อคืนของกองทุน/การสิ้นสมาชิกภาพของสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ 3. การลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ได้แก่ (1) การลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่น หรือการหาดอกผลโดย วิธีอื่นเพื่อเป็นทรัพย์สินของบริษัทจัดการ (Proprietary trading) 1. การทําธุรกรรมเพื่อกองทุนกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง (Affiliated transactions) 2. การซื้อขายหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นของพนักงานของบริษัทจัดการ (Staff dealing) 3. การรับผลประโยชน์ตอบแทนจากบริษัทนายหน้า (Soft commissions) 4. การวิเคราะห์หลักทรัพย์ และการตัดสินใจเลือกหลักทรัพย์ 5. การส่งคําสั่งซื้อขาย และการจัดสรรหลักทรัพย์ระหว่างกองทุน 6. การจัดทําโฆษณา ประชาสัมพันธ์ 7. การคํานวณมูลค่ายุติธรรมของตราสาร และการประกาศ NAV 8. การบันทึกบัญชีการทํารายการธุรกรรมต่างๆ ของกองทุน และการ คิดค่าใช้จ่ายต่างๆ ของกองทุนให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี 9. การแก้ไขโครงการ และตรวจสอบความถูกต้องในกรณีที่ต้องขอมติจาก ผู้ถือหน่วย 10. การใช้สิทธิออกเสียงเพื่อกองทุน (Proxy voting) 11. การมอบหมายงานที่เกี่ยวกับธุรกิจการจัดการลงทุนให้ผู้อื่น 12. การควบคุมดูแลให้ผู้จัดการกองทุนปฏิบัติตามจรรยาบรรณและมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ 13. การจัดทําและจัดส่งรายงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง 14. มีหลักเกณฑ์ และวิธีการในการป้องกันและแก้ไขข้อผิดพลาด การทุจริต ฉ้อฉล หลอกลวงผู้ลงทุน รวมถึงการปกป้องสิทธิประโยชน์ของลูกค้า 15. จัดทํารายงานการดูแลการปฏิบัติงานประจําปี (Annual compliance report) และ ข้อเสนอแนะต่อฝ่ายบริหารและคณะกรรมการบริษัท โดยรายงานดังกล่าวควรครอบคลุมอย่างน้อย ในเรื่องดังต่อไปนี้ 5.1 เรื่องที่ตรวจสอบ 5.2 วิธีการในการตรวจสอบ 5.3 ระยะเวลาที่ตรวจสอบ 5.4 ผลการตรวจสอบ 5.5 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 5.6 การป้องกันปัญหาการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายและประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนจรรยาบรรณและมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ 1. รายงานการปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ และหลักเกณฑ์ต่างๆ ตลอดจน จรรยาบรรณในการจัดการลงทุน ซึ่งมีความร้ายแรงและมีผลกระทบต่อชื่อเสียง และการดําเนินงานของบริษัทจัดการให้สํานักงานโดยเร็ว 1. ผู้ทําหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงานดังกล่าวมีส่วนร่วมในการพิจารณากําหนดโทษผู้ที่กระทําผิด 2. มีศูนย์กลางในการศึกษา รวบรวมระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง และเป็นที่ปรึกษาด้านกฎระเบียบต่างๆ 1. จัดให้มีการอบรมพนักงานให้รับทราบ และเข้าใจถึงจรรยาบรรณและมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. มีศูนย์กลางในการรับเรื่องร้องเรียน การติดตามแก้ไขเรื่องร้องเรียน และการระงับ ข้อพิพาทโดยวิธีการอนุญาโตตุลาการ **3.5 ระบบการจัดทําและจัดเก็บเอกสารหลักฐาน** ### #### ##### ##### **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องมีระบบในการจัดทําหรือบันทึกข้อมูลและเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน เพื่อสามารถนําไปใช้ในการตรวจสอบว่าการประกอบธุรกิจจัดการลงทุนมีการปฏิบัติที่ เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องและข้อผูกพันตามรายละเอียดของโครงการหรือสัญญามอบหมายการ จัดการกองทุนส่วนบุคคล รวมทั้งมีหลักปฏิบัติที่แสดงให้เห็นว่ามีการจัดเก็บรักษาข้อมูลหรือเอกสาร หลักฐานอย่างปลอดภัย โดยสามารถเรียกใช้ได้โดยสะดวก **แนวทางปฏิบัติ** 1.มีการจัดทําหรือบันทึกข้อมูลและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องในการดําเนินงานของ กองทุน/ลูกค้าอย่างถูกต้องและครบถ้วน โดยควรจัดทําเอกสารอย่างน้อยครอบคลุมในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การเปิดบัญชีลูกค้า/การทําสัญญาการจัดการกองทุนส่วนบุคคล โดยเป็นการจัดทํา ข้อมูลเพื่อทําความรู้จักลูกค้า(Know Your Customer) และการตรวจสอบตัวตนที่แท้จริงของลูกค้า ซึ่ง รวมทั้งการแก้ไข/ปรับปรุงข้อมูลลูกค้าให้เป็นปัจจุบันด้วย โดยการจัดทําและเก็บเอกสารหลักฐานกรณี ดังกล่าวควรให้มีความสอดคล้องกับแนวปฏิบัติของสํานักงานเกี่ยวกับการจัดระบบงานบริหารความเสี่ยง ในการใช้บริการธุรกิจหลักทรัพย์เป็นช่องทางในการฟอกเงิน (2) การให้คําแนะนํา/การเสนอนโยบายการลงทุนที่สอดคล้องกับวัตุประสงค์การลงทุนและความเสี่ยงที่ลูกค้ายอมรับได้ (Suitability) (3) การรับคําสั่งซื้อขายหน่วยลงทุน/การเพิ่มลดเงินทุนของกองทุนส่วนบุคคล (4) การดูแลรักษาทรัพย์สินของกองทุน 1. การวิเคราะห์หลักทรัพย์สําหรับใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน รวมทั้งเหตุผลการ ลงทุน (6) การส่งคําสั่งซื้อขายและใบยืนยันการซื้อขายหลักทรัพย์ ทรัพย์สิน และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมทั้งการแก้ไขหรือปรับปรุงข้อมูลการซื้อขายที่มีลายเซ็นผู้มีอํานาจในการแก้ไขหรือปรับปรุง ตรวจสอบความถูกต้องก่อนและหลังการแก้ไข (7) การจัดสรรหลักทรัพย์ ทรัพย์สิน สัญญาซื้อขายล่วงหน้าให้กองทุนทั้งก่อนและ หลังการส่งคําสั่ง (8) การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับทรัพย์สิน หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่ายของแต่ละกองทุน รวมทั้งการกระทบยอดกับผู้ดูแลผลประโยชน์/ผู้รับฝากทรัพย์สิน (9) การคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน/ลูกค้า (NAV) มูลค่าทรัพย์สินต่อหน่วย ราคาขายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุน รวมทั้งการจัดทําบันทึกในกรณีเกิด incorrect pricing (10) การขอมติผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อแก้ไขโครงการเพิ่มเติม และการขอความเห็นชอบจากลูกค้ากรณีที่เป็นการจัดการที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกองทุนส่วนบุคคล (11) การจ่ายเงินปันผล (12) การคํานวณผลการดําเนินงานของกองทุน (13) การไปใช้สิทธิออกเสียงแทนกองทุนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกองทุน (Proxy voting) (14) ข้อผูกพันหรือข้อสัญญาระหว่างกองทุนและบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น การมอบหมายการจัดการ (15) การกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ การจัดทําข้อมูลที่กล่าวข้างต้นควรจัดทําเป็นลายลักษณ์อักษรโดยหมายรวมถึง ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งผ่านการสอบทานและรับรองความถูกต้องโดยผู้ควบคุมที่รับผิดชอบด้วย 2. มีการจัดเก็บเอกสารของลูกค้าที่ง่ายต่อการค้นหาเมื่อต้องการใช้ มีความปลอดภัยจาก ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง มีการควบคุมการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงเอกสาร และอยู่ในสถานที่ที่ผู้ใช้งาน และบุคคลที่เกี่ยวข้องสามารถเรียกใช้งานได้โดยเร็ว ในกรณีที่มีการจัดเก็บในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้มีระบบสํารองข้อมูล (Back up) รวมทั้งมีมาตรการรองรับกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เพื่อไม่ให้การดําเนินงานหยุดชะงักเกิน สมควร 3. การจัดเก็บข้อมูลและเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องในรูปเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้เก็บรักษาให้ครบถ้วนอย่างน้อยเป็นระยะเวลา 5 ปี นับตั้งแต่วันที่มีการทํารายการหรือธุรกรรมตาม ข้อ 1 โดยข้อมูลและเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการรับลูกค้า ให้ยังคงจัดเก็บไว้อีกไม่น้อยกว่า 5 ปี หลังจากวันที่กองทุน/ลูกค้าปิดบัญชี **หมวดที่ 4** **ระบบการควบคุมภายใน** ---------------------- **\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_** บริษัทจัดการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เน้นให้เกิดการกํากับดูแลกิจการที่ดี การบริหารความเสี่ยง การกําหนดเป้าหมายและภารกิจในการตรวจสอบภายในรวมทั้งการสอบทาน อย่างเป็นระบบ ทั้งนี้ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทจัดการต้องมีอํานาจที่จะดําเนินการในการปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องของบริษัท เพื่อทําให้บรรลุตามภารกิจและวัตถุประสงค์ที่กําหนด โดยพิจารณาถึง องค์ประกอบอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. **สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment)** **วัตถุประสงค์** ================ ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรมีการจัดกระบวนการบริหารให้เกิดบรรยากาศของการควบคุม และสร้างจิตสํานึกที่ดีในการควบคุม และการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่พนักงานทุกคน รวมทั้งการสร้างระบบข่าวสารเกี่ยวกับนโยบายขององค์กรอย่างเพียงพอและชัดเจนซึ่งรวมถึงการจัดให้มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน **แนวทางปฏิบัติ** ================= 1. มีการจัดโครงสร้างองค์กร (Organization Structure) ที่เหมาะสมกับลักษณะของ บริษัทจัดการ ที่ทําให้ผู้บริหารสามารถวางแผนงาน สั่งการ และควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 2. มีการระบุอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างชัดเจน รวมถึงการให้พนักงานแต่ละคนทราบถึงบทบาทอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ และตระหนักถึงหน้าที่รับผิดชอบของตนต่อการ ควบคุมภายใน 1. มีการกําหนดวิธีการมอบอํานาจในการปฏิบัติงาน (Assignment of Authority and Responsibility) การกําหนดวิธีการรายงาน และอํานาจในการอนุมัติ ซึ่งควรมอบในระดับที่ส่งเสริมให้ ผู้ปฏิบัติงานเกิดความคิดริเริ่ม หรือสามารถแก้ไขปัญหาให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบของ แต่ละคน 4. มีการส่งเสริมให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานอย่างเป็นอิสระ และเป็นไปตามมาตรฐานของการปฏิบัติงาน 1. **การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)** **วัตถุประสงค์** ---------------- บริษัทจัดการต้องให้ความสําคัญในการบริหารและจัดการเกี่ยวกับความเสี่ยง (Risk management) ที่เกิดจากการประกอบธุรกิจของบริษัทเพื่อระบุประเด็น และกําหนดแนวทางการ ควบคุมเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงให้มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในระดับที่ยอมรับได้ โดย จัดให้มีผู้รับผิดชอบที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ที่สามารถทําหน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ จากผู้ปฏิบัติงาน (Risk taker) และไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ### **แนวทางปฏิบัติ** 1. การกําหนดนโยบายในการบริหารและจัดการความเสี่ยงที่ได้รับความเห็นชอบจาก ผู้บริหารระดับสูง ควรมีลักษณะดังนี้ (1) มีความชัดเจน เหมาะสม และสอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ ขนาด และความซับซ้อนทางการประกอบธุรกิจ (2) การทบทวนและปรับปรุงให้เห็นเป็นปัจจุบัน และสอดคล้องกับภาวะตลาดและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาคธุรกิจเป็นระยะ (3) นโยบายดังกล่าวอย่างน้อยควรครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การระบุความเสี่ยง (Risk identification) (ข) การประเมินความเสี่ยง (Risk evaluation) ซึ่งครอบคลุมถึงเรื่อง ดังต่อไปนี้ - โอกาสหรือความถี่ที่จะเกิดความเสี่ยง - ความมีนัยสําคัญหรือผลกระทบ (ค) การกําหนดเครื่องมือและมาตรการในการบริหารและจัดการกับความเสี่ยง (ง) ประเมินประสิทธิภาพในการบริหารและควบคุมความเสี่ยง 2. ในการบริหารและควบคุมความเสี่ยงเกี่ยวกับการจัดการลงทุนให้เป็นไปตามนโยบาย ดังกล่าวควรจัดให้มี 2.1 การป้องกันความเสี่ยงด้านราคา (Market risk) ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่เกิดจากการ เคลื่อนไหวของราคาที่อาจทําให้เกิดผลกําไรหรือขาดทุนจากการลงทุนได้ โดย (1) การระบุความเสี่ยง มีการกําหนดประเด็นปัญหาและสาเหตุที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงจากการซื้อขายหลักทรัพย์ ทรัพย์สิน หรือ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ที่ผิดไปจากสภาพปกติ (2) การประเมินความเสี่ยง มีการกําหนดรูปแบบและวิธีการที่ใช้วัดค่าความเสี่ยงที่เหมาะสม เช่น Value at Risk (VaR) ซึ่งควรมีการทดสอบ model validity อย่างสม่ําเสมอ และการทํา back testing รวมทั้งมีการกําหนด market risk limit ที่ยอมรับได้ตามประเภทของตราสารที่ลงทุน เช่น ตราสารทุน : beta limit, loss control limit, VaR limit ตราสารหนี้ : duration limit (3) การติดตาม (ก) มีระบบการติดตามการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ผิดไปจากสภาพปกติ (ข) มีการทดสอบความถูกต้องของ Model ที่ใช้อย่างสม่ําเสมอ (ค) มีการทํา scenario/sensitivity analysis และ stress test ในระยะเวลาที่เหมาะสม โดยการวิเคราะห์ดังกล่าวควรจะพิจารณาถึงภาวะตลาดและความผันผวนของตัวแปรที่เกี่ยวข้องด้วย 2.2 การป้องกันความเสี่ยงของผู้ออกตราสาร/คู่สัญญา (Credit risk) ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่เกิดจากผู้ออกตราสาร/คู่สัญญา ไม่ปฏิบัติตามภาระผูกพัน โดย (1) การระบุความเสี่ยง มีการกําหนดประเด็นปัญหาและสาเหตุที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน และความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร/คู่สัญญา (2) การประเมินความเสี่ยง (ก) มีการกําหนดรูปแบบและวิธีการที่ใช้วัดค่าความเสี่ยงที่เหมาะสม ซึ่งควรมีการทดสอบ Model validity อย่างสม่ําเสมอ รวมทั้งการกําหนดค่าความเสี่ยงที่กองทุนจะสามารถรับได้ และการกําหนดการกระจุกตัวของผู้ออกตราสาร/คู่สัญญารายใดรายหนึ่ง (ข) มีการพิจารณากําหนด Credit rating ขั้นต่ําในการลงทุน (3) การติดตาม (ก) มีระบบการทบทวนเครดิตของผู้ออกตราสาร/คู่สัญญา โดยการตรวจสอบฐานะทางการเงินและความน่าเชื่อถือ (ข) มีแนวทางการดําเนินการเพื่อลดความเสี่ยงในกรณีผู้ออกตราสาร/คู่สัญญา ไม่สามารถปฏิบัติตามภาระผูกพันได้ 2.3 การป้องกันความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity risk) ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่เกิดจาก กองทุนไม่สามารถดํารงสภาพคล่องให้เพียงพอต่อการไถ่ถอนหน่วยลงทุน รวมทั้งความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการที่กองทุนไม่สามารถขายหลักทรัพย์ หรือเลิกสัญญาซื้อขายล่วงหน้าได้ในราคาตลาด เนื่องจากการ ขาดสภาพคล่อง หรือการเกิดวิกฤตการณ์ใด ๆ โดย (1) การระบุความเสี่ยง มีการกําหนดประเด็นที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยง (2) การประเมินความเสี่ยง มีการศึกษาพฤติกรรมในการไถ่ถอนหน่วยลงทุนของ กองทุน เพื่อนําไปประมาณการกระแสเงินสดเข้าออกจากกองทุน เพื่อกําหนดตัวเลข X% ที่กองทุนควรสํารองเงินสดเผื่อการไถ่ถอนหน่วยลงทุน (3) การติดตามความเสี่ยง มีระบบการกํากับควบคุมสําหรับติดตามการดํารง สภาพคล่อง 2.4 การป้องกันความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational risk) ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่ เกิดจากความผิดพลาดของบุคลากร (Human error) หรือระบบงานและการควบคุมการปฏิบัติงานไม่รัดกุมเพียงพอ ตลอดจนความเสี่ยงที่ทําให้เกิดความเสียหายจนทําให้บริษัทจัดการไม่สามารถดําเนินธุรกิจได้ โดย (1) การระบุความเสี่ยง มีการกําหนดประเด็นปัญหา และสาเหตุที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของบุคลากร และความเพียงพอของระบบงาน ระบบฐานข้อมูล และระบบการควบคุมภายใน (2) การประเมินความเสี่ยง มีการกําหนดรูปแบบและวิธีการในการประเมินอย่าง ต่อเนื่องด้วยการพิจารณาจุดควบคุมภายในต่าง ๆ ในขั้นตอนการปฏิบัติงาน (3) การติดตาม (ก) มีการกําหนดแผนการสุ่มตรวจสอบการปฏิบัติงาน ระบบงาน และการควบคุมภายในที่ชัดเจนและครอบคลุมทุกเรื่อง (ข) มีการกําหนดแนวทางการดําเนินการเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น การแยกส่วนงานระหว่างสายงานการปฏิบัติการและสายงานจัดการลงทุน การสอบทานและสอบยัน ข้อมูล เป็นต้น (ค) มีการจัดทําแผนฉุกเฉินรองรับในแต่ละด้านตามความจําเป็นและสมควร 2.5 การป้องกันความเสี่ยงด้านกฎหมาย (Legal risk) ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่เกิดจากการลงทุนในตราสารหรือสัญญาที่ไม่สามารถบังคับได้ตามกฎหมาย ตลอดจนความเสี่ยงที่เกิดจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่อาจส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของบริษัทจัดการ (Reputation risk) **4.3 กิจกรรมควบคุม (Control Activities)** **วัตถุประสงค์** ---------------- บริษัทจัดการต้องกําหนดกิจกรรมสนับสนุนการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมให้เป็นไปตามนโยบาย วิธีปฏิบัติงาน และนโยบายต่างๆ ขององค์กร เช่น การฝึกอบรม การจัดทําคู่มือปฏิบัติงาน การสอบทานการปฏิบัติหน้าที่ เป็นต้น เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นตามความเสี่ยงที่ได้ประเมินไว้ ### #### **แนวทางปฏิบัติ** 1. มีการกําหนดกิจกรรมการควบคุมความเสี่ยง หรือข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น และหา วิธีการแก้ไข หรือป้องกันข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น เช่น การให้ความเห็นชอบ การสอบทานการปฏิบัติหน้าที่ การรักษาความปลอดภัย และการควบคุมระบบสารสนเทศ เป็นต้น ซึ่งอาจกําหนดลักษณะของการ ควบคุมใน 4 ลักษณะอย่างน้อย ดังนี้ 1) การควบคุมแบบป้องกัน (Preventive Control) เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยงและ ข้อผิดพลาดตั้งแต่แรก เช่น การมีระบบในการเตือน (Early warning) เพื่อให้การลงทุนเป็นไปตาม อัตราส่วนการลงทุนของแต่ละโครงการ 2) การควบคุมแบบค้นพบ (Detective Control) เพื่อสืบหาข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้ว เช่น การมีระบบการตรวจสอบการปฏิบัติงานอย่างสม่ําเสมอ 3) การควบคุมแบบแก้ไข (Corrective Control) เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้ว หรือหาวิธีการแก้ไขข้อผิดพลาดเพื่อไม่ให้เกิดขึ้นอีก เช่น มีการตรวจสอบหาสาเหตุของระบบงานที่มี ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นบ่อยครั้ง และในกรณีที่พบว่าเกิดจากผู้ปฏิบัติงานเข้าใจผิด ควรจะมีการอบรมให้มีความเข้าใจที่ถูกต้อง 4) การควบคุมแบบส่งเสริม โดยการให้คําแนะนําล่วงหน้า (Directive Control) เพื่อ ส่งเสริม หรือกระตุ้นให้เกิดความสําเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กําหนด เช่น การจัดทํา Fund mandate ของ กองทุนที่มีการจัดตั้งใหม่ เพื่อสื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจลักษณะของแต่ละกองทุน เช่น นโยบาย วัตถุประสงค์ อัตราส่วนการลงทุน เป็นต้น 1. มีการกําหนดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ในการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมเพื่อให้เกิดการ สอบยันความถูกต้องระหว่างกัน (Checks and Balances) เช่น กําหนดบุคลากรตั้งแต่ 2 คน หรือมากกว่าปฏิบัติงานหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งโดยวิธีการต่าง ๆ โดยให้แต่ละคนแบ่งแยกหน้าที่กันอย่างเหมาะสมที่สุด 1. **สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication)** ### **วัตถุประสงค์** บริษัทจัดการต้องมีระบบการรับข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานทั้งที่เป็น สารสนเทศจากแหล่งภายในและแหล่งภายนอก และมีระบบการสื่อสารขององค์กรที่จะสร้างความ เข้าใจที่ตรงกันของบุคลากรที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบในงานที่สัมพันธ์กัน **แนวทางปฏิบัติ** 1. มีระบบสารสนเทศที่มีลักษณะ ดังนี้ 1. มีความเหมาะสมกับการใช้งาน มีเนื้อหาสาระที่จําเป็นสําหรับการตัดสินใจ 2. มีความถูกต้องสมบูรณ์ โดยมีความถูกต้องของข้อเท็จจริง และมีรายละเอียดที่จําเป็นครบถ้วน 3. มีความเป็นปัจจุบัน ที่ให้ข้อเท็จจริงที่มีความทันต่อเหตุการณ์ 4. มีความรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ 5. มีความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล และมีระบบการรักษาความปลอดภัยจากบุคคลที่ ไม่เกี่ยวข้อง 2. มีช่องทางการสื่อสารที่เพียงพอ และสามารถเข้าถึงผู้ปฏิบัติงานได้อย่างทั่วถึงเพื่อให้ เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างพนักงานภายในองค์กร และบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมีระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล **4.5 การติดตามผล (Monitoring)** **วัตถุประสงค์** ---------------- บริษัทจัดการต้องมีระบบในการติดตามผลการปฏิบัติงานในทุกกิจกรรมว่าได้มีการปฏิบัติให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กร และวัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรม ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นเรื่องที่มี นัยสําคัญที่กระทบต่อกองทุน หรือผู้ถือหน่วยลงทุน ต้องมีระบบในการรายงานผลอย่างรวดเร็ว เพื่อประเมินได้ว่ามาตรการ และระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิผล และเพื่อการปรับปรุงให้ ทันต่อเหตุการณ์ **แนวทางปฏิบัติ** 1. มีการติดตามผลระหว่างการดําเนินงาน (On Going Monitoring) รวมทั้งจัดให้มีการรายงานความคืบหน้าของงาน การสอบทานหรือการยืนยันยอดระหว่างการปฏิบัติงานไปยังคณะกรรมการบริษัทกรณีกองทุนรวมหรือ คณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทกรณีกองทุนส่วนบุคคลให้รับทราบผลการดําเนินงานดังกล่าว 2. มีการประเมินผลตามช่วงเวลาที่กําหนดขึ้น โดยบุคคลที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ 3. มีการประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment : CSA) 4. มีการรายงานข้อบกพร่องไปยังคณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งสามารถดําเนินการในการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าวของบริษัท ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2549 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขานุการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ **ภาคผนวก** **ภาคผนวก ก.** -------------- **ตัวอย่างการคิดค่าธรรมเนียม** ------------------------------ ### #### **1. ตัวอย่างวิธีการคิดแบบ***Fulcrum Fee* เงื่อนไขการจ่าย Performance based management Fee * ถ้า Annualized Return ของกองทุน = อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index หรือ Annualized Return ของกองทุน > หรือ < อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index ไม่เกิน 5% อัตราค่าธรรมเนียมการจัดการ คือ ร้อยละ 1 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของ กองทุน * ถ้า Annualized return ของกองทุน > อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index อย่างน้อย 5% **อัตราค่าธรรมเนียมการจัดการส่วนเพิ่มคือ ร้อยละ 30 ของมูลค่า** ##### ###### **ทรัพย์สินส่วนที่เพิ่มขึ้น** * ถ้า Annualized return ของกองทุน < อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index เกินกว่า 5% อัตราค่าธรรมเนียมการจัดการจะลดลงเป็น **ร้อยละ 0.7 ของมูลค่าทรัพย์สิน** **สุทธิของกองทุน** | | 31/12/2003 | 31/12/2004 | 31/12/2005 | 31/12/2006 | 31/12/2007 | | Net asset value (Million baht) | 100 | 118 | 145 | 130 | 150 | | SET Index | 772.15 | 815.65 | 1,050.87 | 930.83 | 1,116.89 | * Annualized return for 2004 = [(118/100) -1] = 18% * SET Index เปลี่ยนแปลง = [(815.65/772.15) – 1] = 5.6% * Overperform และ > 5% ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2004 = [(100\*1%) + (18\*30%)] = 6.4 ล้านบาท * Annualized return for 2005 = [(145/118) -1] = 22.9% * SET Index เปลี่ยนแปลง = [(1,050.87/815.65) – 1] = 28.8% * Underperform และ > 5% ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2005 = 145\***0.7**% = 1.015 ล้านบาท * Annualized return for 2006 = [(130/145) -1] = **-**10.3% * SET Index เปลี่ยนแปลง = [(930.83/1,050.87) – 1] = **-**11.4% * Overperform แต่ไม่ถึง 5% ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2006 = 130\*1% = 1.3 ล้านบาท * Annualized return for 2007 = [(150/130) -1] = 15.4% * SET Index เปลี่ยนแปลง = [(1,116.89/930.83) – 1] = 20% * Underperform แต่ไม่ถึง 5% ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2007 = 150\*1% = 1.5 ล้านบาท *2. ตัวอย่างวิธีการคิดแบบ***Escalating Fee** เงื่อนไขการจ่าย Performance based management Fee * ถ้า Annualized Return ของกองทุน = อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index หรือ Annualized Return ของกองทุน > หรือ < อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index ไม่เกิน 5% อัตราค่าธรรมเนียมการจัดการ คือ **ร้อยละ 1.5 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ** **ของกองทุน** * ถ้า Annualized return ของกองทุน > อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index อย่างน้อย 5% อัตราค่าธรรมเนียมการจัดการ คือ **ร้อยละ 3 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน** * ถ้า Annualized return ของกองทุน < อัตราการเปลี่ยนแปลงของ SET Index เกินกว่า 5% อัตราค่าธรรมเนียมการจัดการ คือ **ร้อยละ 1.25 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน** จากตัวอย่างเดิม อัตราค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2004 2005 2006 และ 2007 จะเป็นดังนี้ * ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2004 = 118\*3% = 3.54 ล้านบาท * ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2005 = 145\*1.25% = 1.8125 ล้านบาท * ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2006 = 130\*1.5% = 1.95 ล้านบาท * ค่าธรรมเนียมการจัดการในปี 2007 = 150\*1.5% = 2.25 ล้านบาท **ภาคผนวก ค.** **การเปิดเผยข้อมูลการใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น** 1. นโยบายการใช้สิทธิออกเสียง 1. นโยบายการใช้สิทธิออกเสียง (ก)............................... (ข)................................ 1. หลักเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอของฝ่ายจัดการในการใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุม ผู้ถือหุ้น 1.2.1 บริษัทจัดการจะใช้สิทธิออกเสียงสนับสนุนในที่ประชุมในกรณีดังต่อไปนี้ (ก)............................. (ข)............................. 1.2.2 บริษัทจัดการจะใช้สิทธิออกเสียงคัดค้านในที่ประชุมในกรณีดังต่อไปนี้ (ก).............................. (ข).............................. 1.2.3 บริษัทจัดการจะใช้สิทธิ์งดออกเสียงในที่ประชุมในกรณีดังต่อไปนี้ (ก)................................ (ข).............................. 2. รายงานสรุปเกี่ยวกับการใช้สิทธิออกเสียง | ลําดับ | ชื่อบริษัท | จํานวนครั้งที่เชิญประชุม\* (ครั้ง) | จํานวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม\*\* (ครั้ง) | จํานวนครั้งที่ลงมติตามวาระการประชุม\*\*\* | *หมายเหตุ* \* หมายถึง จํานวนครั้งที่บริษัทที่จัดประชุมเชิญบริษัทจัดการเข้าร่วมประชุมในฐานะผู้ถือหุ้น \*\* หมายถึง จํานวนครั้งที่บริษัทจัดการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น \*\*\* หมายถึง จํานวนครั้งที่ลงมติออกเสียงในฐานะผู้ถือหุ้น การนับจํานวนครั้งนับรวมการลงคะแนนเสียงในวาระเดียวกันรวมทุกธุรกิจจัดการลงทุนเป็น 1 ครั้ง 3. รายละเอียดการใช้สิทธิออกเสียงคัดค้านหรืองดออกเสียง | ลําดับ | ชื่อบริษัทและวาระ | คัดค้าน | งดออกเสียง | เหตุผล | | 1 | บริษัท XYZ จํากัด (มหาชน) - ขอมติเพิ่มค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ - ขอมติเพิ่มทุนบริษัท | ( | ( | ควรปรับปรุงลดค่าตอบแทนลง บริษัทได้ข้อมูลไม่ชัดเจนเพียงพอ | 4. รายละเอียดการใช้สิทธิออกเสียงที่บริษัทจัดการมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ | ลําดับ | ชื่อบริษัทและความเกี่ยวข้อง/วาระ | สนับสนุน | คัดค้าน | งดออกเสียง | เหตุผล | | 1 | ธนาคาร ABC จํากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น X% ในบริษัทจัดการ - ขอมติเพิ่มค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ | | ( | | ไม่สามารถอธิบายความ สมเหตุสมผลของค่าตอบแทนที่ปรับเพิ่มได้ | -----------------------
11,235
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 1/2550 การจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 1 /2550เรื่อง การจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการรับจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษา นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศรายชื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่ได้รับจดทะเบียนไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เอไอเอตราสารทุน ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 1/2549 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ฟินันซ่า ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 2/2549ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท แหลมฉบัง อินเตอร์เนชั่นแนล เทอร์มินอล จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 3/2549 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สภากาชาดไทย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2549ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 5. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานเนชั่น กรุ๊ป ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 5/2549 ตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม 2549 6. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เอไอเอเสถียรทรัพย์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 6/2549 ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม 2549 7. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทหารไทยธนรัฐ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 7/2549ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2549 8. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทหารไทย SET50 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 8/2549 ตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน 2549 9. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซีลวาเนีย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 9/2549ตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม 2549 10. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่ม เอ็น เอส ไอ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 10/2549 ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2549 11. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซิตี้คอร์ปมั่นคง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 12/2549 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2549 12. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซิตี้คอร์ปมั่งคั่ง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 13/2549 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2549 13. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท แวนด้าแพค จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 14/2549 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล)เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,236
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 2/2550 การเลิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 2/2550เรื่อง การเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษาเมื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเลิกตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เอสเคเค แมนูแฟคเจอริ่ง จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 193/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท อุตสาหกรรมไหมและพิมพ์ผ้า จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 38/2538 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงาน เอคเซนเชอร์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 126/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พีแอนโอ เน็ดลอยด์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 28/2539 ตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2549 5. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ธนาเทพการพิมพ์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 58/2535 ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2549 6. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พี บี ทรานสปอร์เทชั่น กรุ๊ป ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 78/2533 ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม 2549 7. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เครือไทยสงวนวานิช ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 76/2537 ตั้งแต่วันที่ 8 เมษายน 2549 8. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ร่วมมิตร 2 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 6/2544ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2549 9. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท วันไฮไลนส์ จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 12/2536 ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2549 10. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ร่วมมิตร 3 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 9/2544ตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2549 11. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) (2)ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 51/2539 ตั้งแต่วันที่ 20 พฤษภาคม 2549 12. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ทาเคดา (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 539/2533 ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน 2549 13. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทบางกอก ยูเอฟเจ จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 45/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 14. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ชูมิตร จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 225/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 15. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เอสบีอาร์ไอ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 2/2537ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 16. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 42/2539 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 17. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท หลุยส์ ตี.เลียวโนเวนส์ (ประเทศไทย) จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 162/2540 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 18. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัทที่ปรึกษากฎหมายสากล จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 57/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 19. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัท เดนท์สุ (ประเทศไทย) จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 119/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 20. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มบริษัท ปทุมธานีคอนกรีต จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 575/2533 ตั้งแต่วันที่ 12 กรกฎาคม 2549 21. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท แอคคิวทูล กรุ๊ป จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 50/2539 ตั้งแต่วันที่ 12 กรกฎาคม 2549 22. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท อุโตกุ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 26/2534 ตั้งแต่วันที่ 14 กรกฎาคม 2549 23. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ยิลเลตต์ ประเทศไทย จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 511/2533 ตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2549 24. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ปุ๋ยแห่งชาติ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 44/2535ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2549 25. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท จอห์นสัน แอนด์ ฮิกกินส์ พีบี จํากัดซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 394/2533 ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2549 26. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ล้วน - เพิ่มพูล ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 543/2533 ตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน 2549 27. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท อั๊คโซ่ โค้ทติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 514/2533 ตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม 2549 28. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บจ.ทิมส์/ไอ.เอ็ม.เอส. ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 121/2541 ตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม 2549 29. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เอส ที พี แอนด์ ไอ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 600/2533 ตั้งแต่วันที่ 20 ตุลาคม 2549 30. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อินเตอร์ฟาร์ม ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 290/2533 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2549 ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,237
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 19/2566 เรื่อง การออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราว ของศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 19/2566 เรื่อง การออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราว ของศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 66 วรรคหนึ่งแห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ในประกาศนี้ “ศูนย์ซื้อขายสัญญา” หมายความว่า ศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ข้อ 2 ศูนย์ซื้อขายสัญญาอาจออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราวได้ โดยไม่ต้องดําเนินการตามมาตรา 63 แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 เมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เป็นกรณีที่มีความจําเป็นเร่งด่วนซึ่งไม่อาจดําเนินการตามมาตรา 63 ได้ อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ไม่ปกติ และอาจก่อให้เกิดผลอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ (ก) ความไม่เรียบร้อยในการซื้อขายในศูนย์ซื้อขายสัญญาซึ่งทําให้ศูนย์ซื้อขายสัญญาไม่สามารถดําเนินงานได้ตามปกติ (ข) ผลกระทบต่อประโยชน์ของผู้ลงทุนในศูนย์ซื้อขายสัญญา (ค) ความเสี่ยงต่อระบบการซื้อขายหรือการชําระหนี้ (2) การออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราวต้องดําเนินการเท่าที่จําเป็น โดยคํานึงถึงผู้ที่เกี่ยวข้องและการรักษามาตรฐานเกี่ยวกับความมั่นคง ความน่าเชื่อถือ ตลอดจนความเป็นธรรมในการซื้อขายและการชําระหนี้ตามสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (3) กฎเกณฑ์ที่จะใช้บังคับเป็นการชั่วคราวต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการศูนย์ซื้อขายสัญญา หรือกระทําโดยผู้มีอํานาจของศูนย์ซื้อขายสัญญาภายใต้ข้อกําหนดและเงื่อนไขของการออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับเป็นการชั่วคราวที่คณะกรรมการ ศูนย์ซื้อขายสัญญากําหนด (4) กฎเกณฑ์ที่จะใช้บังคับเป็นการชั่วคราวต้องไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ตลอดจนหลักเกณฑ์ที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว และกฎหมายอื่น ข้อ 3 กฎเกณฑ์ตามข้อ 2 ให้มีผลใช้บังคับเป็นการชั่วคราวจนกว่าเหตุการณ์ตาม ข้อ 2(1) สิ้นสุดลง แต่ต้องไม่เกิน 6 เดือนนับแต่วันที่กฎเกณฑ์ดังกล่าวมีผลใช้บังคับ ในกรณีที่ศูนย์ซื้อขายสัญญาประสงค์ให้กฎเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับต่อไปให้ศูนย์ซื้อขายสัญญาดําเนินการตามมาตรา 63 ข้อ 4 ให้ศูนย์ซื้อขายสัญญารายงานการออกกฎเกณฑ์เพื่อใช้บังคับ เป็นการชั่วคราวตามข้อ 2 ต่อคณะกรรมการกํากับตลาดทุน โดยยื่นผ่านสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เมื่อมีการออกกฎเกณฑ์ ให้รายงานการออกกฎเกณฑ์เป็นลายลักษณ์อักษรโดยไม่ชักช้า ซึ่งอย่างน้อยต้องระบุเหตุผลและความจําเป็นของการออกกฎเกณฑ์ ผลกระทบต่อ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนแนวทางการบังคับใช้กฎเกณฑ์ พร้อมทั้งรายงานการประชุมของคณะกรรมการศูนย์ซื้อขายสัญญาที่ให้ความเห็นชอบกฎเกณฑ์ หรือที่มอบหมายให้ผู้มีอํานาจ ออกกฎเกณฑ์ดังกล่าว แล้วแต่กรณี (2) เมื่อกฎเกณฑ์สิ้นผลใช้บังคับตามที่กําหนดไว้ในข้อ 3 วรรคหนึ่ง ให้รายงาน การสิ้นผลใช้บังคับเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน 45 วันนับแต่วันที่กฎเกณฑ์สิ้นผลใช้บังคับ ซึ่งอย่างน้อยต้องระบุเหตุผลและความจําเป็นของการออกกฎเกณฑ์ ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตลอดจนแนวทางการบังคับใช้กฎเกณฑ์ ผลการดําเนินการ และแนวทางการป้องกันในอนาคต พร้อมทั้งรายงานการประชุมของคณะกรรมการศูนย์ซื้อขายสัญญาที่รับทราบการสิ้นผลใช้บังคับของกฎเกณฑ์ดังกล่าว สํานักงาน ก.ล.ต. อาจเรียกให้ศูนย์ซื้อขายสัญญาส่งข้อมูลหรือเอกสารเพิ่มเติม นอกเหนือจากที่ระบุไว้ตามวรรคหนึ่งก็ได้ ข้อ 5 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2566 (นายธวัชชัย พิทยโสภณ) รองเลขาธิการ รักษาการแทนเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
11,238
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการ ฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒
**Update ถึง ระเบียบฯ (ฉ.๕/๒๕๕๙)** ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “การเลื่อน” หมายความว่า การแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองให้ดํารงตําแหน่งประเภทเดียวกันในระดับหรือตําแหน่งที่สูงขึ้น ทั้งนี้ อาจเป็นตําแหน่งในสายงานเดิม หรือต่างสายงานก็ได้ “ต่างสายงาน” หมายความว่า สายงานตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งที่มิใช่สายงานเดียวกัน “ฐานคํานวณเงินเดือนล่าง” หมายความว่า อัตราเงินเดือนที่ใช้ในการคํานวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน สําหรับผู้มีเงินเดือนต่ํากว่าค่ากึ่งกลางของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของระดับที่ดํารงตําแหน่ง ข้อ ๕ ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่จะได้รับการเลื่อนให้ดํารงตําแหน่งประเภทและระดับใดต้องเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่งของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทและระดับนั้น และต้องอยู่ในหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ข้าราชการที่โอนมารับราชการในสํานักงานศาลปกครอง จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตามระเบียบนี้ ต้องปฏิบัติราชการในสํานักงานศาลปกครองมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ เดือน ข้อ ๖ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไป เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงาน ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน บวกด้วยร้อยละ ๔ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับอาวุโส ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส บวกด้วยร้อยละ ๑๑ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด ข้อ ๗ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการ ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๓ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้ว ไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ บวกด้วยร้อยละ ๔ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๑.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษ ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ บวกด้วยร้อยละ ๔ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญ ผู้นั้นจะต้อง (๓.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี (๓.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ บวกด้วยร้อยละ ๗ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ (๓.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนดและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับทรงคุณวุฒิ ผู้นั้นจะต้อง (๔.๑) ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๔.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ (๔.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนดและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด ข้อ ๘ เพื่อประโยชน์ในการนับระยะเวลาการดํารงตําแหน่งของข้าราชการฝ่ายศาลปกครองในการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นตามข้อ ๖ และข้อ ๗ ให้นําระยะเวลาการดํารงตําแหน่งก่อนวันที่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับที่เทียบได้กับระดับที่ดํารงตําแหน่งดังกล่าวมานับรวมด้วย ข้อ ๙ เพื่อประโยชน์ในการนับระยะเวลาการดํารงตําแหน่งของข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่จะเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในตําแหน่งประเภทวิชาการ สําหรับผู้ย้ายจากตําแหน่งประเภททั่วไปให้นําระยะเวลาการดํารงตําแหน่งประเภททั่วไปมารวมเป็นระยะเวลาการดํารงตําแหน่งเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในตําแหน่งประเภทวิชาการได้ ภายใต้หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ให้นับตั้งแต่วันที่ผู้นั้นได้รับวุฒิปริญญาที่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง (๒) การนับตาม (๑) ให้นับตั้งแต่วันที่ผู้นั้นได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าอัตราเงินเดือนแรกบรรจุวุฒิปริญญาตรีของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ที่ใช้บังคับในวันที่ผู้นั้นได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการ (๓) ระยะเวลาดังกล่าวให้นับได้ไม่เกิน ๒ ปี ข้อ ๑๐ ในการคํานวณอัตราเงินเดือนสําหรับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น เมื่อนําร้อยละที่กําหนดของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งในแต่ละประเภทและระดับไปบวกรวมกับอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งในแต่ละประเภทและระดับแล้ว ทําให้อัตราเงินเดือนที่คํานวณได้มีเศษไม่ถึงสิบบาทให้ปัดเศษทิ้ง ข้อ ๑๑ เพื่อประโยชน์ในการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในครั้งแรกของแต่ละบุคคล ให้แต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่มีคุณสมบัติเรื่องระยะเวลา การดํารงตําแหน่งและอัตราเงินเดือนต่างไปจากที่กําหนดไว้ในข้อ ๖ และข้อ ๗ ได้เป็นการเฉพาะคราวในครั้งแรกของแต่ละบุคคล ดังต่อไปนี้ (๑) ให้แต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งระดับปฏิบัติงานและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๔ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งระดับปฏิบัติงานและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๓ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๙,๒๐๐ บาท ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ได้ (๒) ให้แต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ให้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการได้ (๒.๑) ผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๕ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๔ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๑,๓๐๐ บาท และต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชน ที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒.๒) ผู้ดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน นักวิชาการคอมพิวเตอร์และเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง ระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๕ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ และเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง ระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๔ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๑,๓๐๐ บาท (๓) ให้แต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ให้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ได้ (๓.๑) ผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๗ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๖ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๒ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๗,๐๙๐ บาท และต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชน ที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓.๒) ผู้ดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน และนักวิชาการคอมพิวเตอร์ระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๗ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน และนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๖ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๒ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ตํ่ากว่า ๑๗,๐๙๐ บาท (๓.๓) ผู้ดํารงตําแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครองระดับชํานาญการ ซึ่งเคยได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง ระดับ ๗ว/๘ว ที่มิใช่การดํารงตําแหน่งเป็นการเฉพาะคราวอยู่ก่อนวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒ และเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๗ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๗,๐๙๐ บาท ข้อ ๑๒ ภายใต้บังคับข้อ ๑๔ ให้แต่งตั้งผู้ผ่านการคัดเลือกซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการบรรจุ การเลื่อน การย้ายข้าราชการฝ่ายศาลปกครองให้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยสํานักงานศาลปกครองมีคําสั่งให้รักษาการในตําแหน่งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในแต่ละหน่วยงานอยู่ก่อนวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒ ให้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ระดับเชี่ยวชาญได้ ข้อ ๑๓ ให้แต่งตั้งผู้ผ่านการคัดเลือกซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคล และผ่านการประเมินผลงานทางวิชาการ โดยสํานักงานศาลปกครองมีคําสั่งให้รักษาการในตําแหน่งที่ปรึกษาสํานักงานศาลปกครองอยู่ก่อนวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒ ให้ดํารงตําแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครองระดับทรงคุณวุฒิได้ ทั้งนี้ ไม่ก่อนวันที่บุคคลดังกล่าวส่งผลงานโดยครบถ้วนสมบูรณ์ ข้อ ๑๔ ให้นําบรรดาประกาศ หลักเกณฑ์หรือวิธีการประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ที่ออกตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการบรรจุ การเลื่อน การย้ายข้าราชการฝ่ายศาลปกครองให้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ และระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่ใช้บังคับอยู่ก่อนหรือในวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ มาใช้บังคับกับการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ในระหว่างที่ยังไม่มีประกาศ หลักเกณฑ์หรือวิธีการประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นที่ออกตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ข้อ ๑๕ ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจออกประกาศ คําสั่ง หลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง
11,239
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔[[1]](#footnote-1) โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วย การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับข้อเท็จจริง อาศัยอํานาจ ตามความในมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง จึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ ของระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วย การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๖ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไป เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงาน ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่า ๑๐,๖๙๐ บาท (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับอาวุโส ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่า ๒๐,๙๔๐ บาท (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ ของระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๗ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการ ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่า ๑๕,๐๔๐ บาท (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๑.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษ ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่า ๒๓,๘๗๐ บาท (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญ ผู้นั้นจะต้อง (๓.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี (๓.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่า ๓๓,๖๗๐ บาท (๓.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับทรงคุณวุฒิ ผู้นั้นจะต้อง (๔.๑) ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๔.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่า ๔๓,๘๐๐ บาท (๔.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด” ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๑ ของระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๑๑ เพื่อประโยชน์ในการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง ในระดับที่สูงขึ้นในครั้งแรกของแต่ละบุคคล ให้แต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่มีคุณสมบัติเรื่องระยะเวลา การดํารงตําแหน่งและอัตราเงินเดือนต่างไปจากที่กําหนดไว้ในข้อ ๖ และข้อ ๗ ได้เป็นการเฉพาะคราว ในครั้งแรกของแต่ละบุคคล ดังต่อไปนี้ (๑) ให้แต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งระดับปฏิบัติงานและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๔ มาแล้วรวมกัน ไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งระดับปฏิบัติงานและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๓ มาแล้วรวมกัน ไม่น้อยกว่า ๓ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๙,๒๐๐ บาท ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ได้ (๒) ให้แต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ให้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการได้ (๒.๑) ผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๕ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๔ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณ ที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๑,๓๐๐ บาท และต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงาน คดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชน ที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒.๒) ผู้ดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ และเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง ระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๕ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ และเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง ระดับปฏิบัติการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๔ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๓ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๑,๓๐๐ บาท (๓) ให้แต่งตั้งผู้ดํารงตําแหน่งดังต่อไปนี้ให้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ได้ (๓.๑) ผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๗ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๖ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๒ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณ ที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๗,๐๙๐ บาท และต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงาน คดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชน ที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓.๒) ผู้ดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน และนักวิชาการคอมพิวเตอร์ระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๗ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี หรือดํารงตําแหน่งนักวิชาการตรวจสอบภายใน และนักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับชํานาญการและเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าระดับ ๖ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๒ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ตํ่ากว่า ๑๗,๐๙๐ บาท (๓.๓) ผู้ดํารงตําแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครองระดับชํานาญการ ซึ่งเคยได้รับการแต่งตั้ง ให้ดํารงตําแหน่ง ระดับ ๗ว/๘ว ที่มิใช่การดํารงตําแหน่งเป็นการเฉพาะคราวอยู่ก่อนวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒ และเคยดํารงตําแหน่งระดับ ๗ มาแล้วรวมกันไม่น้อยกว่า ๑ ปี และได้รับเงินเดือนในปีงบประมาณก่อนหน้าปีงบประมาณที่จะเลื่อนตําแหน่งไม่ต่ํากว่า ๑๗,๐๙๐ บาท” ข้อ ๕ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง 1. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๗๓ ก หน้า ๑๐ วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ [↑](#footnote-ref-1)
11,240
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับข้อเท็จจริง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖” ข้อ ๒[1](#fn1) ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ และข้อ ๗ แห่งระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๖ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไป เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงาน ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ํา ขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับอาวุโส ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส บวกด้วยร้อยละ ๗ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด ข้อ ๗ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการ ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๑.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรอง และได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษ ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ตํ่ากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญ ผู้นั้นจะต้อง (๓.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี (๓.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ บวกด้วยร้อยละ ๗ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ (๓.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนดและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับทรงคุณวุฒิ ผู้นั้นจะต้อง (๔.๑) ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๔.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ (๔.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนดและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด” ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๐ แห่งระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๑๐ ในการคํานวณอัตราเงินเดือนสําหรับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น เมื่อนําร้อยละที่กําหนดของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งในแต่ละประเภทและระดับไปบวกรวมกับอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งในแต่ละประเภทและระดับแล้ว ทําให้อัตราเงินเดือนที่คํานวณได้มีเศษไม่ถึงสิบบาทให้ปัดเศษทิ้ง” ประกาศ ณ วันที่ ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง --- 1.
11,241
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับข้อเท็จจริงในการปรับเงินเดือนข้าราชการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘” ข้อ ๒[1](#fn1) ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๖ และข้อ ๗ แห่งระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๖ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไป เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงาน ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไประดับชํานาญงาน บวกด้วยร้อยละ ๔ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับอาวุโส ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญงานมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส บวกด้วยร้อยละ ๑๑ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่ง ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด ข้อ ๗ การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการ เพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการ ผู้นั้นจะต้อง (๑.๑) มีระยะเวลาการดํารงตําแหน่งในระดับปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี (ข) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (ค) กรณีเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ต้องดํารงตําแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๑.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ บวกด้วยร้อยละ ๔ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ (๑.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๑.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษ ผู้นั้นจะต้อง (๒.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการมาแล้วไม่น้อยกว่า ๓ ปี (๒.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ บวกด้วยร้อยละ ๔ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ (๒.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๒.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญ ผู้นั้นจะต้อง (๓.๑) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษมาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี (๓.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ บวกด้วยร้อยละ ๗ ของอัตราเงินเดือนขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ (๓.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๓.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนดและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ที่จะได้รับการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งระดับทรงคุณวุฒิ ผู้นั้นจะต้อง (๔.๑) ดํารงตําแหน่งระดับเชี่ยวชาญมาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ปี (๔.๒) ได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าขั้นต่ําของบัญชีเงินเดือนขั้นต่ําขั้นสูงของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ (๔.๓) ผ่านการประเมินความเหมาะสมของบุคคลและผ่านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔.๔) กรณีผู้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ต้องได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับต้นที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด หรือได้รับปริญญาโทหรือเทียบได้ไม่ต่ํากว่านี้ทางกฎหมายมหาชน หรือหลักสูตรกฎหมายมหาชนที่สํานักงานศาลปกครองรับรองและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับกลางที่สํานักงานศาลปกครองกําหนดและได้รับประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตรพนักงานคดีปกครองระดับสูงที่สํานักงานศาลปกครองกําหนด” ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ปิยะ ปะตังทา รองประธานศาลปกครองสูงสุดคนที่หนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่แทน ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง --- 1.
11,242
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วย การเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๙” ข้อ ๒[[1]](#footnote-1) ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ แห่งระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเลื่อนข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๙ เพื่อประโยชน์ในการนับระยะเวลาการดํารงตําแหน่งของข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่จะเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในตําแหน่งประเภทวิชาการ สําหรับผู้ย้ายจากตําแหน่งประเภททั่วไปให้นําระยะเวลาการดํารงตําแหน่งประเภททั่วไปมารวมเป็นระยะเวลาการดํารงตําแหน่ง เพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งในระดับที่สูงขึ้นในตําแหน่งประเภทวิชาการได้ ภายใต้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (๑) ให้นับตั้งแต่วันที่ผู้นั้นได้รับวุฒิปริญญาที่ตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งที่จะแต่งตั้ง (๒) การนับตาม (๑) ให้นับตั้งแต่วันที่ผู้นั้นได้รับเงินเดือนไม่ต่ํากว่าอัตราเงินเดือนแรกบรรจุวุฒิปริญญาตรีของตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ที่ใช้บังคับในวันที่ผู้นั้นได้รับการบรรจุและ แต่งตั้งเข้ารับราชการ (๓) ระยะเวลาดังกล่าวให้นับได้ไม่เกิน ๒ ปี” ข้อ ๔ การใดที่ดําเนินการตามประกาศสํานักงานศาลปกครอง เรื่อง รับสมัครสอบ คัดเลือกย้ายเปลี่ยนสายงานข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไป เพื่อแต่งตั้ง ให้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการในตําแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครองปฏิบัติการ ลงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖ให้ดําเนินการต่อไปตามคําสั่ง ประกาศ หรือระเบียบที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ปิยะ ปะตังทา ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓/ตอนที่ ๖๖ ก/หน้า ๑๔/๔ สิงหาคม ๒๕๕๙ [↑](#footnote-ref-1)
11,243
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 1/2551 การจดทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 1/2551เรื่อง การจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการรับจดทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษา นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศรายชื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพที่ได้รับจดทะเบียนไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงาน ปตท.สผ.2 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 1/2550 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 2. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 2/2550 ตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม 2550 3. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มบริษัท เอสซี แอสเสท ซึ่งจดทะเบียนแล้วทะเบียนเลขที่ 3/2550 ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550 4. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท โตชิบาคอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2550 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2550 5. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บีทีเอส ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 5/2550ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2550 6. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทหารไทยธนบดี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 6/2550 ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2550 7. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ JUMBO 25 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 7/2550ตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2550 8. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ฮัพซูน โกลบอลกรุ๊ป ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 8/2550 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2550 9. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย (กองทุนที่ 1) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 9/2550 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2550 10. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานธนาคารแห่งประเทศไทย (กองทุนที่ 3) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 10/2550 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2550 ประกาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล)เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,244
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ อข. 2/2551 การเลิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อข. 2/2551เรื่อง การเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โดยที่มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กําหนดให้นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในราชกิจจานุเบกษาเมื่อกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเลิกตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจึงประกาศการเลิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไว้ดังต่อไปนี้ 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ยูไนเต็ด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 3/2543 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงาน เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 17/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จํากัด (มหาชน) 2 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 119/2540 ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มบริษัทเอสวีโอเอ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 105/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท อยุธยา ออโต้ ลีส จํากัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 496/2533 ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ โนโวเทลกรุงเทพฯ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 42/2535 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค จํากัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 165/2540 ตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทรัพย์ทวีผล 3 ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 8/2544 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บมจ. ดราโก้ พีซีบี ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 80/2537 ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 6/2539 ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซีลวาเนีย ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 9/2549 ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท ดิอาจิโอ โมเอ็ท เฮนเนสซี่ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 278/2533 ตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มดีทแฮล์ม เทรดดิ้ง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 74/2537 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ร่วมมิตร ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 166/2540 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ทวีมงคล ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 85/2541 ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เอวายเอฟ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 2/2546 ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงาน ที บี เอส ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 49/2538 ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท โตมิ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 5/2532 ตั้งแต่วันที่ 11 กันยายน 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานดาต้าแมท ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 395/2533 ตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พนักงานบริษัทอุตสาหกรรมแอคมิ จํากัด และ บริษัทในเครือ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 17/2536 ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เอ็ม ที พิกเจอร์ ดีสเพลย์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 120/2540 ตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กลุ่มไว้ท์กรุ๊ป ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 147/2533 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ รี้ด เทรดเด็กซ์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 559/2533 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริษัท เอพินา อุตสาหกรรม จํากัด ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 19/2539 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2550 1. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ธนทรัพย์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว ทะเบียนเลขที่ 4/2546 ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ประกาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล)เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,245
ประกาศนายทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ที่ 2/2551 เรื่อง การกำหนดประเภทรายได้หรือค่าใช้จ่ายของกองทุนหลายนายจ้างเพิ่มเติม
ประกาศนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ที่ 2/2551 เรื่อง การกําหนดประเภทรายได้หรือค่าใช้จ่าย ของกองทุนหลายนายจ้างเพิ่มเติม อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 17(1)(จ) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2550 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งตามมาตรา 29 ประกอบมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติ ให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้กับกองทุนหลายนายจ้างซึ่งมีการระบุว่าให้ตกเป็นของลูกจ้างที่มีนายจ้างรายเดียวกัน เป็นรายได้ของกองทุนที่ผู้จัดการกองทุนต้องนํามาคํานวณเพื่อบันทึกเป็นรายได้ในบัญชีของลูกจ้างทุกรายที่มีนายจ้างรายเดียวกันนั้น ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,246
ประกาศนายทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ที่ 2/2551 เรื่อง การกำหนดประเภทรายได้หรือค่าใช้จ่ายของกองทุนหลายนายจ้างเพิ่มเติม (ฉบับประมวล)
ประกาศนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ที่ 2/2551 เรื่อง การกําหนดประเภทรายได้หรือค่าใช้จ่าย ของกองทุนหลายนายจ้างเพิ่มเติม (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามมาตรา 17(1)(จ) แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ.2530ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2550 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งตามมาตรา 29 ประกอบมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้กับกองทุนหลายนายจ้างซึ่งมีการระบุว่าให้ตกเป็นของลูกจ้างที่มีนายจ้างรายเดียว เป็นรายได้ของกองทุนที่มีผู้จัดการกองทุนต้องนํามาคํานวณเพื่อบันทึกเป็นรายได้ในบัญชีของลูกจ้าทุกรายที่มีนายจ้ารายเดียวกันนั้น ข้อ 1/1( ให้รายได้หรือค่าใช้จ่ายใดๆ ที่มีความเกี่ยวข้องหรือที่สามารถระบุได้ว่าเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในบัญชีของลูกจ้างที่มีนายจ้างรายเดียวกันรายใด เช่น ค่าธรรมเนียมในการจัดทําทะเบียนสมาชิกกองทุนที่คิดเหมาจ่ายตามรายนายจ้าง ค่าบําเหน็จกรรมการที่มีการจ่ายตามข้อบังคับของกองทุนตามรายนายจ้าง เป็นต้น เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายของกองทุนที่ผู้จัดการกองทุนต้องนํามาคํานวณเพื่อบันทึกเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายในบัญชีของลูกจ้างทุกรายที่มีนายจ้างรายเดียวกันนั้น ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
11,247
ประกาศนายทะเบียนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ที่ 3/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการรับเงินจากกองทุนเป็นงวด
ประกาศนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ที่ 3/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการรับเงินจากกองทุนเป็นงวด อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 23/2 แห่งพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2550 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งตามมาตรา 29 ประกอบมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 และมาตรา 43 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย นายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ผู้จัดการกองทุนจัดให้มีข้อตกลงกับกองทุนเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการรับเงินจากกองทุนเป็นงวดของสมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพเนื่องจากการเกษียณอายุ และเปิดเผยข้อตกลงดังกล่าวให้สมาชิกทราบและปิดประกาศไว้ที่ทําการของกองทุนด้วย ทั้งนี้ ข้อตกลงดังกล่าวต้องมีรายละเอียด อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ระยะเวลาและจํานวนงวดในการรับเงินจากกองทุน (2) วิธีการคํานวณจํานวนเงินที่สมาชิกจะได้รับในแต่ละงวด และ (3) ให้สิทธิในการเปลี่ยนแปลงการรับเงินจากกองทุนเป็นงวดได้ตามความเหมาะสม ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะนายทะเบียนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ *หมายเหตุ* : เหตุผลในการออกประกาศฉบับนี้ คือ เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์การรับเงินจากกองทุนเป็นงวดโดยกําหนดให้มีรายละเอียดในข้อตกลงระหว่างผู้จัดการกองทุนกับคณะกรรมการกองทุนเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวที่มีมาตรฐานเดียวกัน จึงมีความจําเป็นต้องออกประกาศฉบับนี้
11,248
ระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทำลายสำนวนคดีและสำนวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘
ระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยที่เป็นการสมควรกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดีเพื่อให้การปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารที่เกี่ยวข้องของศาลปกครองเป็นไปโดยเรียบร้อยและเป็นระเบียบเดียวกัน อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๔ และข้อ ๖ (๕) แห่งระเบียบ ก.ศป. ว่าด้วยอํานาจหน้าที่ ประธานศาลปกครองสูงสุดและอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น และการบริหารงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งออกตามความในมาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ประธานศาลปกครองสูงสุดจึงกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดีไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “ศาลปกครอง” หมายความว่า ศาลปกครองชั้นต้น หรือศาลปกครองสูงสุด “ผู้บริหารศาลปกครอง” หมายความว่า ประธานศาลปกครองสูงสุด หรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้นแล้วแต่กรณี “ผู้อํานวยการสํานักงานศาล” หมายความว่า ผู้อํานวยการสํานักงานศาลปกครองสูงสุด ผู้อํานวยการสํานักงานศาลปกครองกลาง หรือผู้อํานวยการสํานักงานศาลปกครองในภูมิภาค แล้วแต่กรณี “คณะทํางาน” หมายความว่า คณะทํางานดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง พนักงานราชการศาลปกครองและลูกจ้างของสํานักงานศาลปกครอง “สํานวนคดีอันถึงที่สุด” หมายความว่า สํานวนคดีที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคําพิพากษา หรือคําสั่งแล้วและคู่กรณีมิได้ยื่นอุทธรณ์คัดค้านคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด หรือสํานวนคดีที่ศาลปกครองสูงสุดมีคําพิพากษาหรือคําสั่งแล้ว “สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุด” หมายความว่า สํานวนบังคับคดีที่ได้ยุติการบังคับคดีแล้วหรือที่พ้นระยะเวลาการบังคับคดีตามกฎหมายแล้ว “คําสั่ง” หมายความว่า คําสั่งชี้ขาดคดีปกครองเสร็จเด็ดขาด คําสั่งลงโทษฐานละเมิดอํานาจศาล คําสั่งที่ศาลกําหนดวิธีการชั่วคราวก่อนการพิพากษาที่ถึงที่สุดแล้ว หรือคําสั่งอื่นตามที่ประธานศาลปกครองสูงสุดกําหนด “หลักฐานการรับ - จ่ายเงิน” หมายความว่า ต้นฉบับใบรับ - จ่ายเงิน สําเนาใบรับ - จ่ายเงินเอกสารอื่นใดที่แสดงการรับ – จ่ายเงิน ข้อ ๔ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นผู้วินิจฉัยคําวินิจฉัยนั้นให้เป็นที่สุด หมวด หมวด ๑ การปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารอื่น ข้อ ๕ สํานวนคดีอันถึงที่สุดที่เกินกว่าสิบปี ให้ดําเนินการปลดทําลายตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ข้อ ๖ เอกสารดังต่อไปนี้ที่เกินกว่าห้าปีนับแต่วันที่กําหนด ให้ปลดทําลายเสียทั้งสิ้น (๑) สํานวนคดีของศาลปกครองชั้นต้นที่ได้รับแต่งตั้งให้ช่วยแสวงหาข้อเท็จจริง ตามข้อ ๕๘ แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ เมื่อได้ดําเนินการแล้วเสร็จ นับแต่วันที่ส่งรายงานไปยังศาลปกครองที่แต่งตั้ง (๒) สํานวนความเห็นเกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล สําเนาสํานวนความเห็นเกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล และบัญชีรับ – ส่งสํานวนความเห็นเกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล นับแต่วันที่มีการทําความเห็นแล้ว (๓) สําเนาคู่ฉบับคําพิพากษา คําสั่ง หรือคําแถลงการณ์ นับแต่วันที่คดีนั้นถึงที่สุด (๔) สํานวนคดีที่ศาลปกครองมีคําสั่งชี้ขาดคดีปกครองเสร็จเด็ดขาดและให้จําหน่ายคดีออกจากสารบบความเพราะเหตุไม่รับคําฟ้องไว้พิจารณา เหตุแห่งการฟ้องคดีหมดสิ้นไป หรือเหตุอื่นใดที่ทําให้คดีเสร็จเด็ดขาดไปจากศาลปกครอง นับแต่วันที่ศาลปกครองมีคําสั่ง ข้อ ๗ เอกสารดังต่อไปนี้ให้จัดเก็บไว้ตลอดไป (๑) คําพิพากษา คําสั่ง และคําแถลงการณ์ของคดีที่ถึงที่สุด (๒) หมายแจ้งโทษจําคุกหรือปรับในคดีละเมิดอํานาจศาล (๓) สารบบคําพิพากษาและคําสั่ง ในกรณีที่ได้ดําเนินการจัดเก็บเอกสารตามวรรคหนึ่งด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีอื่น ตามที่สํานักงานศาลปกครองกําหนดไว้แล้ว ให้เก็บรักษาเอกสารดังกล่าวไว้เพียงสิบปี และเมื่อพ้นเวลาดังกล่าวแล้วให้ทําลายเอกสารนั้นได้ ข้อ ๘ สํานวนคดีอันถึงที่สุด สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุด หรือเอกสารใดที่ผู้บริหารศาลปกครองเห็นควรให้เก็บรักษาไว้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา หรือเพื่อเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์หรือเป็นเอกสารจดหมายเหตุ หรือเพื่อประโยชน์อื่นใด ให้เก็บรักษาไว้เพื่อการนั้นจนกว่าจะมีคําสั่งเป็นอย่างอื่น ข้อ ๙ ต้นฉบับเอกสารที่ยื่นต่อศาลปกครอง เช่น เอกสารแสดงสิทธิในที่ดิน ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ หรือระวางรูปถ่ายทางอากาศ สํานวนการสอบสวน หรือสํานวนคดีที่ยืมมาจากหน่วยงานหรือศาลอื่น สมุดบัญชีเงินฝาก และพยานหลักฐานอื่น เป็นต้น ที่ยังมิได้มีการส่งคืนให้ชะลอการปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสารนั้นไว้ก่อน แล้วให้คณะทํางานส่งสํานวนคดีและเอกสารนั้นไปให้สํานักงานศาลที่เกี่ยวข้องจัดทํารายงานเสนอศาลปกครองเพื่อมีคําสั่งให้ส่งคืนต่อไป และเมื่อได้ดําเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสารดังกล่าวตามระเบียบนี้ ข้อ ๑๐ สํานวนคดีเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐ พระบรมวงศานุวงศ์ คดีสําคัญที่ประชาชนสนใจหรือคดีที่มีผลกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ ให้คณะทํางานรายงานผู้บริหารศาลปกครองเพื่อมีคําสั่งเกี่ยวกับการเก็บรักษาหรือปลดทําลายตามที่เห็นสมควร ข้อ ๑๑ สํานวนคดีใดมีเงินค้างจ่าย ให้ชะลอการปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสารนั้นไว้ก่อนแล้วให้คณะทํางานส่งสํานวนคดีและเอกสารนั้นไปให้หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการเงินจัดทํารายงานเสนอศาลปกครอง เพื่อพิจารณาดําเนินการตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง และเมื่อได้ดําเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสารดังกล่าวตามระเบียบนี้ ข้อ ๑๒ สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุดที่เกินกว่าหนึ่งปี ให้ดําเนินการปลดทําลายตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ข้อ ๑๓ คําสั่งศาลปกครองที่ให้ยุติการบังคับคดี หรือมีผลให้ยุติการบังคับคดีแล้ว ให้จัดเก็บไว้ตลอดไป และให้นําความในข้อ ๗ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๑๔ บรรดาสารบบความ บัญชีนัดพิจารณา บัญชีรับ – ส่งสํานวน บัญชีหมายต่าง ๆ และหลักฐานการรับ – จ่ายเงิน ที่เกินกว่าสิบปี ให้ปลดทําลายเสียทั้งสิ้น หมวด หมวด ๒ วิธีดําเนินการปลดทําลายสํานวน ข้อ ๑๕ ภายในเดือนมกราคมของแต่ละปี ให้ผู้อํานวยการสํานักงานศาล ผู้อํานวยการสํานักประธานศาลปกครองสูงสุด ผู้อํานวยการสํานักอธิบดีศาลปกครองกลาง หรือผู้อํานวยการสํานักบังคับคดีปกครอง จัดให้มีการสํารวจสํานวนคดีอันถึงที่สุด สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุด หรือเอกสารอื่นแล้วแต่กรณี ที่ครบกําหนดต้องปลดทําลายตามระเบียบนี้ แล้วจัดทําบัญชีเอกสารที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไปบัญชีสํานวนคดีอันถึงที่สุดและเอกสารอื่นที่ปลดทําลาย บัญชีสํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุดที่ปลดทําลายและบัญชีสํานวนคดีและเอกสารที่ชะลอการปลดทําลาย เสนอผู้บริหารศาลปกครองในแต่ละศาลเพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะทํางานดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดีของศาลปกครอง... (ระบุชื่อศาลปกครอง)... ข้อ ๑๖ เมื่อมีการแต่งตั้งคณะทํางานตามข้อ ๑๕ แล้ว ให้ผู้อํานวยการสํานักงานศาลส่งมอบบัญชีเอกสารที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไป บัญชีสํานวนคดีอันถึงที่สุดและเอกสารอื่นที่ปลดทําลายบัญชีสํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุดที่ปลดทําลาย และบัญชีสํานวนคดีและเอกสารที่ชะลอการปลดทําลายให้คณะทํางานพิจารณาตรวจสอบ หากคณะทํางานเห็นชอบด้วย ให้ดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสารต่อไป แต่หากไม่เห็นชอบด้วย ให้รายงานผู้บริหารศาลปกครองเพื่อมีคําสั่งเกี่ยวกับการเก็บรักษาหรือปลดทําลายตามที่เห็นสมควร และเมื่อผู้บริหารศาลปกครองมีคําสั่งประการใดแล้วให้คณะทํางานปฏิบัติตามคําสั่งดังกล่าวแล้วดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสารต่อไปตามระเบียบนี้ ในกรณีที่ไม่มีสํานวนคดีอันถึงที่สุด สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุด หรือเอกสารอื่นที่ต้องปลดทําลายให้คณะทํางานจัดทํารายงานเสนอผู้บริหารศาลปกครอง และแจ้งให้เลขาธิการทราบต่อไป เมื่อคณะทํางานดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารอื่นเสร็จสิ้นแล้วให้คณะทํางานจัดทํารายงานเสนอผู้บริหารศาลปกครอง พร้อมแนบบัญชีแสดงรายการต่าง ๆ ตามบัญชีแนบท้ายระเบียบนี้ และแจ้งให้เลขาธิการทราบ ทั้งนี้ ภายในเดือนมิถุนายนของทุกปี ข้อ ๑๗ การปลดทําลายสํานวนคดีอันถึงที่สุด สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุด และเอกสารอื่นตามระเบียบนี้ ให้ดําเนินการตามแนวทางการปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารอื่นแนบท้ายระเบียบนี้ โดยใช้วิธีการเผาหรือทําลายด้วยวิธีอื่นใดจนไม่สามารถอ่านหรือประกอบเพื่ออ่านหรือเข้าใจข้อความในสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี หรือเอกสารได้ ข้อ ๑๘ ให้ผู้บริหารศาลปกครองและเลขาธิการกํากับดูแลให้มีการดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุด และเอกสารอื่น ให้เป็นไปตามระเบียบนี้ หมวด หมวด ๓ คณะทํางานดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี ข้อ ๑๙ ให้คณะทํางานที่ผู้บริหารศาลปกครองแต่งตั้งตามข้อ ๑๕ อย่างน้อยต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ (๑) ตุลาการในศาลปกครองนั้น เป็นประธานคณะทํางาน (๒) ผู้อํานวยการสํานักงานศาล เป็นคณะทํางาน (๓) ผู้อํานวยการกลุ่มสารบบคดี หรือผู้อํานวยการกลุ่มสนับสนุนงานคดีและบังคับคดีปกครองแล้วแต่กรณี เป็นคณะทํางาน (๔) เจ้าหน้าที่ของสํานักงานศาลปกครอง เป็นคณะทํางานและเลขานุการ คณะทํางานของศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองกลาง ให้มีผู้อํานวยการสํานักประธานศาลปกครองสูงสุด หรือผู้อํานวยการสํานักอธิบดีศาลปกครองกลาง แล้วแต่กรณี ร่วมเป็นคณะทํางานและให้ผู้อํานวยการสํานักบังคับคดีปกครอง ผู้อํานวยการสํานักบริหารการเงินและต้นทุน และผู้อํานวยการสํานักบริหารทรัพย์สิน ร่วมเป็นคณะทํางานด้วย คณะทํางานของศาลปกครองในภูมิภาค ให้มีเจ้าหน้าที่ของสํานักงานศาลปกครองที่ปฏิบัติงานด้านการเงินและด้านการพัสดุ ร่วมเป็นคณะทํางานด้วย ให้คณะทํางานตามวรรคหนึ่ง มีอํานาจแต่งตั้งคณะทํางานย่อยเพื่อดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสารได้ ข้อ ๒๐ คณะทํางานตามข้อ ๑๙ มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) สํารวจและจัดทําบัญชีเอกสารที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไป บัญชีสํานวนคดีอันถึงที่สุดและเอกสารอื่นที่ปลดทําลาย บัญชีสํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุดที่ปลดทําลาย และบัญชีสํานวนคดีและเอกสารที่ชะลอการปลดทําลาย (๒) ดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดีปกครอง และเอกสารอื่นตามระเบียบนี้ (๓) รายงานการปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดีปกครอง และเอกสารอื่นตามแบบที่ สํานักงานศาลปกครองกําหนด (๔) ดําเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามระเบียบนี้ หมวด หมวด ๔ บทเฉพาะกาล ข้อ ๒๑ ในวาระเริ่มแรก ให้ผู้บริหารศาลปกครองแต่งตั้งคณะทํางานตามข้อ ๑๙ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ เพื่อดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีอันถึงที่สุด สํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุด และเอกสารอื่นตามระเบียบนี้ ในการนี้ หากมีสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารที่ต้องปลดทําลายตามระเบียบนี้เป็นจํานวนมาก ผู้บริหารศาลปกครองอาจกําหนดให้แบ่งดําเนินการโดยคํานึงถึงปริมาณสํานวนคดีและเอกสารที่จะต้องปลดทําลาย และกําหนดให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จและรายงานให้ทราบภายในเวลาที่เห็นสมควรก็ได้ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ปิยะ ปะตังทา รองประธานศาลปกครองสูงสุดคนที่หนึ่ง ปฏิบัติหน้าที่แทน ประธานศาลปกครองสูงสุด อื่นๆ **บ.๑** **บัญชีเอกสารที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไป** **ท้ายระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘** **ของศาลปกครอง..........................................** **ซึ่งได้สํารวจเมื่อวันที่......... เดือน ..................... พ.ศ. .........** | | | | | | --- | --- | --- | --- | | **รายการ** | **หมายเลขคดี** | **รวมจํานวนคดี** | **หมายเหตุ** | | ๑. คําพิพากษา และคําแถลงการณ์ ๒. คําสั่ง และคําแถลงการณ์ (ถ้ามี) ๓. หมายแจ้งโทษจําคุกหรือปรับในคดีละเมิดอํานาจศาล ๔. สารบบคําพิพากษาและคําสั่ง ๕. สํานวนคดีเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐพระบรมวงศานุวงศ์ คดีสําคัญที่ประชาชนสนใจ หรือคดีที่มีผลกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ ๖. สํานวนคดีหรือเอกสารที่ผู้บริหารศาลปกครองให้เก็บรักษาไว้ | | | | อื่นๆ **บ.๒** **บัญชีสํานวนคดีอันถึงที่สุดและเอกสารอื่นที่ปลดทําลาย** **ท้ายระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘** **ของศาลปกครอง.................................. ที่ปลดทําลาย** **ระหว่างวันที่......... เดือน ..................... พ.ศ. ......... ถึงวันที่........ เดือน ..................... พ.ศ. .........** | | | | | | --- | --- | --- | --- | | **รายการ** | **หมายเลขคดี** | **รวมจํานวนคดี** | **หมายเหตุ** | | ๑. สํานวนคดีอันถึงที่สุดที่เกินกว่าสิบปี ๒. เอกสารที่มีอายุเกินกว่าห้าปีที่ต้องปลดทําลาย (๑) สํานวนคดีของศาลปกครองชั้นต้นที่ได้รับแต่งตั้งให้ช่วยแสวงหาข้อเท็จจริง ตามข้อ ๕๘ แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓(๒) สํานวนความเห็นเกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล สําเนาสํานวนความเห็นเกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล และบัญชีรับ-ส่งสํานวนความเห็นเกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาล(๓) สําเนาคู่ฉบับคําพิพากษา คําสั่งหรือคําแถลงการณ์(๔) สํานวนคดีที่ศาลปกครองมีคําสั่งชี้ขาดคดีปกครองเสร็จเด็ดขาดและให้จําหน่ายคดีออกจากสารบบความ เพราะเหตุไม่รับคําฟ้องไว้พิจารณา เหตุแห่งการฟ้องคดีหมดสิ้นไป หรือเหตุอื่นใดที่ทําให้คดีเสร็จเด็ดขาดไปจากศาลปกครอง นับแต่วันที่ศาลปกครองมีคําสั่ง ๓. สารบบความ บัญชีนัดพิจารณา บัญชีรับ-ส่งสํานวน บัญชีหมายต่าง ๆ และหลักฐานการรับ-จ่ายเงิน | | | | อื่นๆ **บ.๓** **บัญชีสํานวนบังคับคดีอันถึงที่สุดที่ปลดทําลาย** **ท้ายระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘** **ของศาลปกครอง.................................. ที่ปลดทําลาย** **ระหว่างวันที่......... เดือน ..................... พ.ศ. ......... ถึงวันที่........ เดือน ..................... พ.ศ. .........** | | | | | | --- | --- | --- | --- | | **รายการ** | **หมายเลขคดี** | **รวมจํานวนคดี** | **หมายเหตุ** | | ๑. สํานวนบังคับคดีที่ได้ยุติการบังคับคดีแล้ว ๒. สํานวนบังคับคดีปกครองที่พ้นระยะเวลาการบังคับคดีตามกฎหมายแล้ว | | | | อื่นๆ **บัญชีสํานวนคดีและเอกสารที่ชะลอการปลดทําลาย** **ท้ายระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘** **ของศาลปกครอง..................................** | | | | | | --- | --- | --- | --- | | **รายการ** | **หมายเลขคดี** | **รวมจํานวนคดี** | **หมายเหตุ** | | ๑. ต้นฉบับเอกสารที่ยื่นต่อศาลปกครอง ๒. สํานวนคดีที่มีเงินค้างจ่าย | | | | อื่นๆ **แนวทางการปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารอื่น** **ท้ายระเบียบศาลปกครอง ว่าด้วยการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวนบังคับคดี พ.ศ. ๒๕๕๘** เพื่อให้การปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารที่เกี่ยวข้องของศาลปกครองมีความชัดเจน เรียบร้อย เป็นระบบ และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงให้ดําเนินการปลดทําลายสํานวนตามแนวทางดังต่อไปนี้ **๑. เอกสารอื่นใดที่แสดงการรับ-จ่ายเงิน**ในบทนิยามคําว่า “หลักฐานการรับ-จ่ายเงิน” ตามข้อ ๑๔ ของระเบียบ มีดังนี้ ๑.๑ กรณีสํานักงานศาลปกครองรับเงินค่าธรรมเนียมศาล ได้แก่ (๑) ใบสั่งค่าธรรมเนียมศาลจากกลุ่มรับฟ้อง (๒) ใบรับเงินค่าธรรมเนียมศาลหรือเงินค่าปรับ ๑.๒ กรณีสํานักงานศาลปกครองรับเงินค่าปรับ ได้แก่ (๑) คําสั่งศาล (๒) ใบรับเงินค่าธรรมเนียมหรือเงินค่าปรับ ๑.๓ กรณีสํานักงานศาลปกครองรับเงินกลาง ได้แก่ (๑) คําแถลงขอวางเงินชําระหนี้ตามคําพิพากษา (๒) ใบรับเงินกลาง ๑.๔ กรณีสํานักงานศาลปกครองรับเงินอายัดตามหมายบังคับคดี ได้แก่ (๑) หนังสือแจ้งการส่งเงินอายัด (๒) แบบฟอร์มส่งเงินอายัด (๓) หนังสือแจ้งการรับเงินอายัด (๔) บัญชีรายการรับ – จ่ายเงิน (๕) ใบรับเงินกลาง ๑.๕ กรณีสํานักงานศาลปกครองจ่ายคืนเงินค่าธรรมเนียมหรือเงินค่าปรับ ได้แก่ (๑) ใบสั่งคืนเงินค่าธรรมเนียมหรือเงินค่าปรับ (๒) บันทึกเจ้าหน้าที่ที่เสนอความเห็นคืนเงินค่าธรรมเนียมหรือเงินค่าปรับ (๓) คําร้องขอรับเงินค่าธรรมเนียมศาลคืน (๔) ใบมอบอํานาจหรือมอบฉันทะ (๕) สําเนาบัตรแสดงตนที่ทางราชการออกให้ผู้มอบอํานาจ ผู้รับมอบอํานาจ ผู้มอบฉันทะ และผู้รับมอบฉันทะ เช่น บัตรประจําตัวประชาชน บัตรประจําตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐใบอนุญาตขับรถ (๖) หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (๗) สําเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (๘) คําสั่งศาลแต่งตั้งผู้จัดการมรดก (๙) ใบรับเงินค่าธรรมเนียมหรือเงินค่าปรับ (๑๐) สําเนาใบนําฝากเงินเข้าบัญชีธนาคาร ๑.๖ กรณีสํานักงานศาลปกครองจ่ายคืนเงินกลาง (เงินวางชําระตามคําพิพากษา) ได้แก่ (๑) ใบรับคืนเงินกลาง (๒) บันทึกเจ้าหน้าที่ที่เสนอความเห็นคืนเงินกลาง (๓) คําร้องขอรับเงินที่ชําระหนี้ตามคําพิพากษา (๔) ใบมอบอํานาจหรือมอบฉันทะ (๕) สําเนาบัตรแสดงตนที่ทางราชการออกให้ผู้มอบอํานาจ ผู้รับมอบอํานาจผู้มอบฉันทะ และผู้รับมอบฉันทะ เช่น บัตรประจําตัวประชาชน บัตรประจําตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใบอนุญาตขับรถ (๖) หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (๗) สําเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (๘) คําสั่งศาลแต่งตั้งผู้จัดการมรดก (๙) หนังสือแจ้งผลการตรวจสอบเงินวางชําระหนี้ตามคําพิพากษา (๑๐) ใบรับเงินกลาง (๑๑) สําเนาใบนําฝากเงินเข้าบัญชีธนาคาร ๑.๗ กรณีสํานักงานศาลปกครองจ่ายคืนเงินอายัดตามหมายบังคับคดี ได้แก่ (๑) หนังสือแจ้งการส่งใบสั่งจ่ายเงินตามหมายบังคับคดี (๒) ใบสั่งจ่ายเงิน (๓) ใบรับเงิน (๔) คําร้องขอรับเงิน (๕) บัญชีรายการรับ – จ่ายเงิน (๖) ใบมอบอํานาจหรือมอบฉันทะ (๗) สําเนาบัตรแสดงตนที่ทางราชการออกให้ผู้มอบอํานาจ ผู้รับมอบอํานาจ ผู้มอบฉันทะ และผู้รับมอบฉันทะ เช่น บัตรประจําตัวประชาชน บัตรประจําตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใบอนุญาตขับรถ (๘) หนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล (๙) หนังสือแจ้งการจ่ายเงินอายัดตามหมายบังคับคดี **๒. เอกสารที่ต้องจัดเก็บเพื่อเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์หรือเป็นเอกสารจดหมายเหตุตามข้อ ๘**มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกดังนี้ ๒.๑ สํานวนคดีอันถึงที่สุดที่ต้องจัดเก็บต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ (๑) สํานวนคดีที่มีผลกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง (๒) สํานวนคดีที่มีการวางหลักกฎหมายสําคัญหรือวางหลักสําคัญในการปฏิบัติ ราชการ (๓) สํานวนคดีหมายเลขดําที่ ๑ และคดีหมายเลขแดงที่ ๑ ของแต่ละศาล (๔) สํานวนคดีที่บุคคลสําคัญในศาลปกครองพิจารณาพิพากษา (๕) สํานวนคดีเกี่ยวกับบุคคลสําคัญ (๖) สํานวนคดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ที่สําคัญของประเทศ ๒.๒ เอกสารในสํานวนคดีอันถึงที่สุดตาม ๒.๑ ที่ต้องจัดเก็บเป็นจดหมายเหตุ ศาลปกครอง ได้แก่ (๑) ต้นฉบับเอกสารต่อไปนี้ (๑.๑) คําฟ้อง (๑.๒) เอกสารการดําเนินงานของพนักงานคดี ตุลาการ และศาล ตั้งแต่รับคําฟ้องจนสิ้นสุดคดี อาทิ ความเห็นรับ/ไม่รับคําฟ้อง การไต่สวนฉุกเฉิน การเดินเผชิญสืบ การรายงานการดําเนินงานต่อศาล ฯลฯ (๑.๓) เอกสารหลักฐานของคู่กรณี (๑.๔) คําแถลงการณ์ (๑.๕) คําพิพากษา/คําสั่งของศาล (๑.๖) รายงานผลการบังคับคดี (ถ้ามี) (๒) ภาพถ่าย เทปเสียงและเทปวีดิทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินคดีที่ศาลปกครองเป็นผู้จัดทําขึ้น **๓. การดําเนินงานของคณะทํางานดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและสํานวน** **บังคับคดีตามข้อ ๑๖** โดยที่สํานวนคดีอันถึงที่สุดและสํานวนบังคับคดีที่เกี่ยวข้องที่ต้องปลดทําลาย เป็นเอกสารที่มีลักษณะต่างกันและมีปริมาณมาก ดังนั้น คณะทํางานจึงควรอาศัยอํานาจตามข้อ ๑๙ วรรคสี่ ของระเบียบ แต่งตั้งคณะทํางานย่อยอย่างน้อยจํานวนสองคณะ เช่น คณะทํางานย่อยดําเนินการปลดทําลายสํานวนคดีและเอกสาร เป็นคณะทํางานย่อยหลัก และคณะทํางานย่อยอื่นเพื่อดําเนินการปลดทําลายสํานวนบังคับคดีปกครองและเอกสารอื่น ๆ ตามข้อ ๑๒ เพื่อแยกกันดําเนินการตามความเหมาะสมกับลักษณะของสํานวนและเอกสาร ทั้งนี้ คณะทํางานอาจแต่งตั้งคณะทํางานย่อยอื่นอีกได้ตามที่เห็นสมควร โดยคํานึงถึงปริมาณสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารที่จะต้องปลดทําลาย **๔. รายงานการปลดทําลายสํานวนคดี สํานวนบังคับคดี และเอกสารตามข้อ ๒๐** ให้แสดงรายละเอียดตามบัญชีแนบท้ายประกาศ โดยอาจเพิ่มเติมหรืองดเว้นบางรายการได้ตามความเหมาะสม ในกรณีที่บัญชีใดไม่มีรายการต้องปลดทําลาย ให้จัดทําบัญชีโดยหมายเหตุไว้ในบัญชีว่า “ไม่มีรายการที่ต้องปลดทําลาย” ด้วย โดยให้จัดทําบัญชีดังต่อไปนี้ ๔.๑ บัญชีเอกสารที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไป (บ.๑) ให้กรอกรายละเอียด ดังนี้ ช่องรายการ ให้แสดงรายการตามที่ปรากฏในบัญชีทุกรายการ ถ้าไม่มีในรายการใด ให้ขีดฆ่าในช่องหมายเลขคดีและช่องรวมจํานวนคดี ( - ) และให้ระบุไว้ในหมายเหตุว่า ไม่มีเอกสารในรายการนี้ที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไป ช่องหมายเลขคดี ให้ระบุหมายเลขคดีแดงของสํานวนคดีอันถึงที่สุดที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไปทุกคดี โดยให้เรียงลําดับจากน้อยไปหามาก แยกตามประเภทรายการเอกสารที่จัดเก็บ ช่องรวมจํานวนคดี ให้ระบุยอดรวมของสํานวนคดีอันถึงที่สุดที่ต้องจัดเก็บไว้ตลอดไปในแต่ละประเภทรายการเอกสารที่จัดเก็บ โดยนับยอดรวมตามหมายเลขคดีแดงที่ระบุไว้ช่องหมายเหตุ สําหรับกรณีที่มีเหตุพิเศษที่ควรบันทึกไว้ให้ปรากฏ ๔.๒ บัญชีสํานวนคดีอันถึงที่สุดและเอกสารอื่นที่ได้ปลดทําลาย (บ.๒) ให้กรอกรายละเอียด ดังนี้ ช่องรายการ ให้แสดงรายการตามที่ปรากฏในบัญชีทุกรายการ ถ้าไม่มีในรายการใด ให้ขีดฆ่าในช่องหมายเลขคดีและช่องรวมจํานวนคดี ( - ) และให้ระบุไว้ในหมายเหตุว่า ไม่มีเอกสารในรายการนี้ที่ต้องปลดทําลาย ช่องหมายเลขคดี ให้ระบุหมายเลขคดีแดงของสํานวนคดีอันถึงที่สุดที่ได้ปลดทําลายทุกคดี โดยให้เรียงลําดับจากน้อยไปหามาก แยกตามประเภทรายการเอกสารที่ปลดทําลาย ช่องรวมจํานวนคดี ให้ระบุยอดรวมของสํานวนคดีอันถึงที่สุดที่ได้ปลดทําลายในแต่ละประเภทรายการเอกสารที่ได้ปลดทําลาย โดยนับยอดรวมตามหมายเลขคดีแดงที่ได้ระบุไว้ช่องหมายเหตุ สําหรับกรณีที่มีเหตุพิเศษที่ควรบันทึกไว้ให้ปรากฏ ๔.๓ บัญชีสํานวนบังคับคดีปกครองที่ได้ปลดทําลาย (บ.๓) ให้กรอกรายละเอียด ดังนี้ ช่องรายการ ให้แสดงรายการตามที่ปรากฏในบัญชีทุกรายการ ถ้าไม่มีในรายการใด ให้ขีดฆ่าในช่องหมายเลขคดีแดงและช่องรวมจํานวนคดี ( - ) และให้ระบุไว้ในหมายเหตุว่า ไม่มีเอกสารในรายการนี้ที่ต้องปลดทําลาย ช่องหมายเลขคดี ให้ระบุหมายเลขคดีแดงของสํานวนบังคับคดีปกครองที่ได้ปลดทําลายทุกคดี โดยให้เรียงลําดับจากน้อยไปหามาก แยกตามประเภทรายการเอกสารที่ปลดทําลาย ช่องรวมจํานวนคดี ให้ระบุยอดรวมของสํานวนบังคับคดีปกครองที่ได้ปลดทําลายในแต่ละประเภทรายการเอกสารที่ได้ปลดทําลาย โดยนับยอดรวมตามหมายเลขคดีแดงที่ได้ระบุไว้ ช่องหมายเหตุ สําหรับกรณีที่มีเหตุพิเศษที่ควรบันทึกไว้ให้ปรากฏ ๔.๔ บัญชีสํานวนคดีและเอกสารที่ชะลอการปลดทําลาย (บ.๔) ให้กรอกรายละเอียด ดังนี้ ช่องรายการ ให้แสดงรายการตามที่ปรากฏในบัญชีทุกรายการ ถ้าไม่มีในรายการใด ให้ขีดฆ่าในช่องหมายเลขคดีแดงและช่องรวมจํานวนคดี ( - ) และให้ระบุไว้ในหมายเหตุว่า ไม่มีเอกสารในรายการนี้ที่ต้องชะลอการปลดทําลาย ช่องหมายเลขคดี ให้ระบุหมายเลขคดีแดงของสํานวนคดีและเอกสารที่ชะลอการปลดทําลายทุกคดี โดยให้เรียงลําดับจากน้อยไปหามาก แยกตามประเภทรายการเอกสารที่ชะลอการปลดทําลาย ช่องรวมจํานวนคดี ให้ระบุยอดรวมของสํานวนคดีและเอกสารที่ชะลอการปลดทําลายใน แต่ละประเภทเอกสารที่ได้ชะลอการปลดทําลาย โดยนับยอดรวมตามหมายเลขคดีแดงที่ได้ระบุไว้ ช่องหมายเหตุ สําหรับกรณีที่มีเหตุพิเศษที่ควรบันทึกไว้ให้ปรากฏ
11,249
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 639 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 639 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (83) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(83) มูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. ๒๕41 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,250
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 638 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 638 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 907 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ "( 907 ) มูลนิธิกําลังใจ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,251
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 637 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 637 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (115) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(115) สํานักงานลูกเสือแห่งชาติ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕1 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,252
ระเบียบสำนักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสำนักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔
**Update ถึง ระเบียบฯ (ฉ.๔/๒๕๕๒)** ระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยที่กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการกําหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ ประกอบกับข้อ ๔ ของประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑ กําหนดให้หน่วยงานของรัฐจะกําหนดระเบียบปฏิบัติในการให้ประชาชนเข้าตรวจดูข้อมูลข่าวสารเพื่อรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยหรือความปลอดภัยก็ได้ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “ข้อมูลข่าวสาร” หมายความว่า ข้อมูลข่าวสารตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของสํานักงานศาลปกครอง ซึ่งมิใช่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี “สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานศาลปกครอง “หน่วยงานในสังกัด” หมายความว่า หน่วยงานในสํานักงานระดับสํานักงานศาล สํานักวิทยาลัย หรือหน่วยงานอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสํานัก “หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร” หมายความว่า สํานักประชาสัมพันธ์และสํานักงานศาลปกครองในภูมิภาคต่าง ๆ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ข้อ ๔ ให้เลขาธิการรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจออกประกาศหรือคําสั่งเพื่อประโยชน์ ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้เลขาธิการเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด คําวินิจฉัยนั้นให้เป็นที่สุด หมวด หมวด ๑ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง ข้อ ๕ ให้มีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง ประกอบด้วยรองเลขาธิการซึ่งเลขาธิการมอบหมายเป็นประธานกรรมการ หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดที่อยู่ในกรุงเทพมหานครทุกหน่วยงาน เป็นกรรมการ ผู้อํานวยการสํานักประชาสัมพันธ์เป็นกรรมการและเลขานุการ และข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งเลขาธิการแต่งตั้งจํานวนสองคนเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ข้อ ๖ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คําแนะนําหรือเสนอความเห็นต่อเลขาธิการเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) การกําหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ หรือมาตรการเกี่ยวกับการบริหาร การจัดระบบการขออนุญาต และการบริการข้อมูลข่าวสาร (๒) การกําหนดประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา รวมทั้งการจัดพิมพ์และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ (๓) การกําหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาประเภทข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผย ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย และข้อมูลข่าวสารที่เป็นความลับของราชการ (๔) การกําหนดประเภทของข้อมูลข่าวสารที่ควรจัดเก็บไว้ที่สํานักงาน หรือส่งไปยังหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่กําหนดให้พระราชกฤษฎีกาที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ (๕) ปัญหาหรืออุปสรรค รวมทั้งแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคที่เกี่ยวกับการดําเนินการตามระเบียบนี้ (๖) หน้าที่อื่นตามที่เลขาธิการมอบหมาย ข้อ ๗ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเพื่อทําหน้าที่ประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนนถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด หมวด หมวด ๒ การจัดระบบข้อมูลข่าวสาร ข้อ ๘ ให้หน่วยงานในสังกัดจัดแยกประเภทข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลโดยให้แยกออกเป็นประเภทตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ ดังนี้ (๑) ข้อมูลข่าวสารที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (๒) ข้อมูลข่าวสารที่จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ (๓) ข้อมูลข่าวสารอื่น การจัดแยกประเภทข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงลักษณะของข้อมูลข่าวสารตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการด้วยว่าเป็นข้อมูลข่าวสารที่จะเปิดเผยมิได้ หรือเป็นข้อมูลข่าวสารที่อาจมีคําสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ ให้หน่วยงานในสังกัดจัดส่งข้อมูลข่าวสารตาม (๑) และ (๒) ไปยังสํานักประชาสัมพันธ์และให้จัดส่งข้อมูลข่าวสารตาม (๑) ไปยังสํานักงานศาลปกครองในภูมิภาคต่าง ๆ โดยเร็ว ให้หน่วยงานในสังกัดจัดให้มีเจ้าหน้าที่เพื่อควบคุม ดูแล ตรวจสอบ ติดตาม และประสานงานในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสามให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและทันสมัยอยู่เสมอ ข้อ ๙ ให้หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารจัดทําดรรชนีข้อมูลข่าวสารตามข้อ ๘ (๑) และ (๒) ที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแล โดยให้มีรายละเอียดเพียงพอที่ประชาชนสามารถค้นหาข้อมูลข่าวสารได้เอง หมวด หมวด ๓ การขอข้อมูลข่าวสารและการอนุญาต ข้อ ๑๐ ผู้ใดประสงค์จะเข้าตรวจดูหรือขอถ่ายสําเนาข้อมูลข่าวสาร ให้ยื่นคําขอเป็นหนังสือตามแบบท้ายระเบียบนี้ ต่อเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับคําขอตรวจสอบว่าข้อมูลข่าวสารตามคําขอนั้นเป็นข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของตนหรือของหน่วยงานในสังกัดอื่น และให้ดําเนินการดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีที่ข้อมูลข่าวสารอยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของตนให้เสนอเรื่องต่อบุคคลตามข้อ ๑๑ (๑) เพื่อพิจารณา (๒) ในกรณีที่ข้อมูลข่าวสารอยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานในสังกัดอื่นให้ประสานงานไปยังหน่วยงานดังกล่าวเพื่อดําเนินการให้บุคคลผู้มีอํานาจอนุญาตพิจารณา ข้อ ๑๑ ให้บุคคลดังต่อไปนี้เป็นผู้มีอํานาจอนุญาตให้ตรวจดูหรือให้ทําสําเนาข้อมูลข่าวสาร (๑) หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดหรือผู้ซึ่งหัวหน้าหน่วยงานในสังกัดมอบหมาย สําหรับข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของตน เว้นแต่ข้อมูลข่าวสารนั้นเป็นข้อมูลข่าวสารลับ ในกรณีที่ไม่อาจวินิจฉัยได้ว่าข้อมูลข่าวสารใดเป็นข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยได้หรือไม่ ให้หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดเสนอเรื่องพร้อมความเห็นต่อบุคคลตาม (๒) เพื่อพิจารณาวินิจฉัย (๒) เลขาธิการหรือรองเลขาธิการซึ่งเลขาธิการมอบหมาย สําหรับข้อมูลข่าวสารทุกประเภท ข้อ ๑๒ ในกรณีที่ผู้มีอํานาจอนุญาตมีคําสั่งอนุญาตตามคําขอ ให้ผู้ยื่นคําขอตรวจดูหรือรับสําเนาข้อมูลข่าวสารนั้น ณ หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารที่ผู้นั้นยื่นคําขอ ในกรณีที่ข้อมูลข่าวสารอยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานในสังกัดอื่น ให้หน่วยงานในสังกัดอื่นนั้นจัดส่งข้อมูลข่าวสารหรือสําเนาข้อมูลข่าวสารให้หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ผู้ยื่นคําขอตรวจดูหรือรับสําเนาข้อมูลข่าวสารนั้น ข้อ ๑๓ ในกรณีที่ผู้มีอํานาจอนุญาตมีคําสั่งไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ให้แจ้งคําสั่งพร้อมเหตุผลให้ผู้ยื่นคําขอทราบ และแจ้งให้ทราบถึงสิทธิและกําหนดเวลาในการอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ข้อ ๑๔ ข้อมูลข่าวสารใดหากมีกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีกําหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการขอข้อมูลข่าวสารและการอนุญาตไว้เป็นพิเศษ ให้ปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ ประกาศ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวด้วย หมวด หมวด ๔ การบริการข้อมูลข่าวสาร ข้อ ๑๕ ให้หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารมีหน้าที่ให้บริการข้อมูลข่าวสารตามระเบียบนี้และประสานงานกับหน่วยงานในสังกัดเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ในการนี้ให้จัดให้มีเจ้าหน้าที่ประจําเพื่อดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๑๖ ให้เจ้าหน้าที่จัดทําสําเนาหรือสําเนาที่มีคํารับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารที่มีผู้ยื่นคําขอภายในวันทําการนั้น ถ้าไม่อาจดําเนินการภายในวันทําการนั้น ให้แจ้งกําหนดวันและเวลาเพื่อให้ผู้ยื่นคําขอมารับ แต่ต้องไม่เกินสิบห้าวันทําการ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็น อาจขยายระยะเวลาออกไปได้แต่ต้องไม่เกินสามสิบวันทําการ การจัดทําสําเนาที่มีคํารับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง ให้ข้าราชการตั้งแต่ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ซึ่งรับผิดชอบข้อมูลข่าวสารนั้นเป็นผู้รับรอง โดยลงลายมือชื่อพร้อมทั้งมีชื่อตัว ชื่อสกุลและตําแหน่ง ตลอดจนวันเดือนปีให้ชัดเจน ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง เจ้าหน้าที่อาจพิจารณาส่งสําเนาข้อมูลข่าวสารทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับก็ได้ แต่การส่งสําเนาข้อมูลข่าวสารโดยวิธีนี้ ผู้ยื่นคําขอต้องชําระค่าธรรมเนียมการทําสําเนาหรือการรับรองสําเนาข้อมูลข่าวสาร และค่าส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไว้แล้วจึงจะดําเนินการให้ได้ ข้อ ๑๗ ค่าธรรมเนียมการทําสําเนาและการรับรองสําเนาข้อมูลข่าวสาร ให้เป็นไปตามที่เลขาธิการกําหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ค่าธรรมเนียมตามวรรคหนึ่ง ให้สํานักงานเก็บไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการให้บริการข้อมูลข่าวสารของราชการ สําหรับการควบคุมการรับ - จ่ายเงินค่าธรรมเนียม ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเงินและการเก็บรักษาเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ทั้งนี้ ให้สํานักบริหารการเงินและต้นทุนและสํานักงานศาลปกครองในภูมิภาคจัดทําระเบียบควบคุมการรับ - จ่ายเงินค่าธรรมเนียมไว้ และให้สํานักบริหารการเงินและต้นทุนรวบรวมและรายงานให้เลขาธิการทราบภายในเดือนแรกของปีงบประมาณ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ชาญชัย แสวงศักดิ์ รักษาการในตําแหน่ง เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง
11,253
ระเบียบสำนักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสำนักงานศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยที่เห็นสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้สอดคล้องกับการแบ่งส่วนราชการภายในของสํานักงานศาลปกครอง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗” ข้อ ๒[1](#fn1) ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ให้มีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง ประกอบด้วย รองเลขาธิการซึ่งเลขาธิการมอบหมายเป็นประธานกรรมการ หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดที่อยู่ในกรุงเทพมหานครทุกหน่วยงานเป็นกรรมการ ผู้อํานวยการกองการประชาสัมพันธ์ เป็นกรรมการและเลขานุการ และข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งเลขาธิการแต่งตั้งจํานวนสองคนเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ” ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ชาญชัย แสวงศักดิ์ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง --- 1.
11,254
ระเบียบสำนักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสำนักงานศาลปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒
ระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยที่เห็นสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงาน ศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้สอดคล้องกับการแบ่งส่วนราชการภายในของสํานักงานศาลปกครอง อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ประกอบข้อ ๔ ของประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการเกี่ยวกับการจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดู ลงวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๑ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงาน ศาลปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒” ข้อ ๒[[1]](#footnote-1) ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “หน่วยงานในสังกัด” และ “หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร” ในข้อ ๓ ของระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงาน ศาลปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “หน่วยงานในสังกัด” หมายความว่า หน่วยงานในสํานักงานระดับสํานักงานศาล สํานัก วิทยาลัย หรือหน่วยงานอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าสํานัก “หน่วยงานที่ให้บริการข้อมูลข่าวสาร” หมายความว่า สํานักประชาสัมพันธ์และสํานักงาน ศาลปกครองในภูมิภาคต่าง ๆ ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ ของระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสาร ของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕ ให้มีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง ประกอบด้วยรองเลขาธิการ ซึ่งเลขาธิการมอบหมายเป็นประธานกรรมการ หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดที่อยู่ในกรุงเทพมหานครทุกหน่วยงาน เป็นกรรมการ ผู้อํานวยการสํานักประชาสัมพันธ์เป็นกรรมการและเลขานุการ และข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งเลขาธิการแต่งตั้งจํานวนสองคนเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ” ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความในวรรคสามของข้อ ๘ ของระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ให้หน่วยงานในสังกัดจัดส่งข้อมูลข่าวสารตาม (๑) และ (๒) ไปยังสํานักประชาสัมพันธ์และให้จัดส่งข้อมูลข่าวสารตาม (๑) ไปยังสํานักงานศาลปกครองในภูมิภาคต่าง ๆ โดยเร็ว” ข้อ ๖ ให้แก้ไขความในวรรคสองของข้อ ๑๖ ของระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การจัดทําสําเนาที่มีคํารับรองถูกต้องของข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่ง ให้ข้าราชการตั้งแต่ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ซึ่งรับผิดชอบข้อมูลข่าวสารนั้นเป็นผู้รับรอง โดยลงลายมือชื่อพร้อมทั้งมีชื่อตัว ชื่อสกุลและตําแหน่ง ตลอดจนวันเดือนปีให้ชัดเจน” ข้อ ๗ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ ๑๗ ของระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสํานักงานศาลปกครอง ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของสํานักงานศาลปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ค่าธรรมเนียมตามวรรคหนึ่ง ให้สํานักงานเก็บไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการให้บริการข้อมูลข่าวสาร ของราชการ สําหรับการควบคุมการรับ - จ่ายเงินค่าธรรมเนียม ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการเงินและการเก็บรักษาเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ทั้งนี้ ให้สํานักบริหารการเงินและต้นทุนและสํานักงานศาลปกครองในภูมิภาคจัดทําระเบียบควบคุมการรับ – จ่ายเงินค่าธรรมเนียมไว้ และให้สํานักบริหารการเงินและต้นทุนรวบรวมและรายงานให้เลขาธิการทราบภายในเดือนแรกของปีงบประมาณ” ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ สุชาติ เวโรจน์ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๖/ตอนที่ ๔๒ ก/หน้า ๒๓/๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๒ [↑](#footnote-ref-1)
11,255
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 636 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 636 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 906 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 906 ) สมาคมนักเรียนเก่า ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,256
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 635 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 635 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 905 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 905 ) มูลนิธิสภาการพยาบาล” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,257
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสำหรับตำแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๔
**Update ถึง ระเบียบฯ (ฉ.๒/๒๕๕๖)** ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงการกําหนดเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับข้าราชการฝ่ายศาลปกครองตําแหน่งพนักงานคดีปกครองให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับภารกิจตามโครงสร้างอัตรากําลังของศาลปกครองมากยิ่งขึ้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง (๙) และ (๑๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๔” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก (๑) ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๕ (๒) ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ (๓) ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๗ (๔) ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๔ ให้พนักงานคดีปกครองมีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษตามประเภทและระดับตําแหน่งที่ดํารงอยู่ตั้งแต่วันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับเป็นต้นไปเงินค่าตอบแทนพิเศษกําหนดจ่ายเป็นรายเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่ายของสํานักงานศาลปกครอง ข้อ ๕ พนักงานคดีปกครองซึ่งจะได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษตามระเบียบนี้ต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ระดับปฏิบัติการถึงระดับทรงคุณวุฒิ และตําแหน่งผู้อํานวยการเฉพาะด้าน (พนักงานคดีปกครอง) ระดับสูง ตามที่ ก.ศป. กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่งและผ่านการคัดเลือกให้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ระดับปฏิบัติการถึงระดับทรงคุณวุฒิ หรือตําแหน่งผู้อํานวยการเฉพาะด้าน (พนักงานคดีปกครอง) ระดับสูง จากคณะกรรมการที่สํานักงานศาลปกครองแต่งตั้ง โดยให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษตามบัญชีอัตราเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครองท้ายระเบียบนี้ ข้อ ๖ พนักงานคดีปกครองซึ่งจะได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษต้องปฏิบัติหน้าที่หลักของตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งตามที่กําหนดไว้ในมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง พนักงานคดีปกครองที่บรรจุใหม่ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษเมื่อรับราชการในสํานักงานศาลปกครองมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปี กรณีขอกลับเข้ารับราชการใหม่หรือโอนมารับราชการที่สํานักงานศาลปกครอง ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษตั้งแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครองและต้องมีเวลาปฏิบัติราชการตั้งแต่วันที่ได้รับกลับเข้ารับราชการหรือรับโอนเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกเดือน กรณีข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่ย้ายเปลี่ยนสายงานมาดํารงตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษเมื่อมีระยะเวลาปฏิบัติงานในตําแหน่งพนักงานคดีปกครองเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าหกเดือน ข้อ ๗ พนักงานคดีปกครองผู้ใดปฏิบัติหน้าที่หลักของตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งไม่เต็มเดือนในเดือนใด ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับเดือนนั้นตามส่วนของจํานวนวันที่ได้ดํารงตําแหน่งและปฏิบัติหน้าที่หลักของตําแหน่งดังกล่าว แต่ถ้าในเดือนใดไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่หลักของตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับเดือนนั้น เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) กรณีลาป่วย ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ในปีงบประมาณหนึ่งไม่เกินหกสิบวันทําการ (๒) กรณีลาคลอดบุตร ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินเก้าสิบวัน (๓) กรณีลากิจส่วนตัว ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ในปีงบประมาณหนึ่งไม่เกินสี่สิบห้าวันทําการ แต่สําหรับในปีแรกที่เข้ารับราชการ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินสิบห้าวันทําการ (๔) กรณีลาพักผ่อนประจําปี ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินระยะเวลาที่ผู้นั้นมีสิทธิลาพักผ่อนประจําปีตามที่กําหนดไว้ในระเบียบว่าด้วยการลา (๕) กรณีลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซึ่งมิใช่เป็นการลาภายในระยะเวลาสิบสองเดือนแรกที่เข้ารับราชการในสํานักงานศาลปกครองและตั้งแต่เริ่มรับราชการยังไม่เคยลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือยังไม่เคยลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน (๖) กรณีลาไปเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน (๗) กรณีลาไปฝึกอบรมหรือดูงาน ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน (๘) กรณีการอุปสมบทในพระพุทธศาสนาที่คณะรัฐมนตรีมีมติเป็นกรณีพิเศษ โดยไม่ให้ถือเป็นวันลาของข้าราชการ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างเวลาดังกล่าวได้ไม่เกินหกสิบวัน (๙) กรณีการลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาเฉพาะวันลาที่มีสิทธิได้รับเงินเดือนระหว่างลาตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น (๑๐) กรณีการลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน ข้อ ๘ พนักงานคดีปกครองผู้ใดขาดราชการหรือละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับวันที่ขาดราชการหรือละทิ้งหน้าที่ราชการดังกล่าว ข้อ ๙ พนักงานคดีปกครองผู้ใดได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครองไปโดยไม่มีสิทธิที่จะได้รับตามระเบียบนี้ ให้คืนเงินค่าตอบแทนพิเศษดังกล่าวภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งถึงการไม่มีสิทธินั้น ข้อ ๑๐ พนักงานคดีปกครองที่บรรจุใหม่ ก่อนวันที่ระเบียบนี้มีผลใช้บังคับ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษตามระเบียบนี้ตั้งแต่วันที่พ้นการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ข้อ ๑๑ ให้คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ข้อ ๑๒ ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอํานาจออกประกาศ คําสั่ง หลักเกณฑ์และวิธีการ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง
11,258
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสำหรับตำแหน่งพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖
ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง เพื่อให้ครอบคลุมการลาประเภทต่าง ๆตามระเบียบและสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรีที่ส่วนราชการต่าง ๆ ถือปฏิบัติ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘๔ วรรคหนึ่ง (๙) และ (๑๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจึงออกระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป[1](#fn1) ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ ของระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๗ พนักงานคดีปกครองผู้ใดปฏิบัติหน้าที่หลักของตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งไม่เต็มเดือนในเดือนใด ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับเดือนนั้นตามส่วนของจํานวนวันที่ได้ดํารงตําแหน่งและปฏิบัติหน้าที่หลักของตําแหน่งดังกล่าว แต่ถ้าในเดือนใดไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่หลักของตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง ไม่มีสิทธิได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับเดือนนั้น เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) กรณีลาป่วย ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ในปีงบประมาณหนึ่งไม่เกินหกสิบวันทําการ (๒) กรณีลาคลอดบุตร ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินเก้าสิบวัน (๓) กรณีลากิจส่วนตัว ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ในปีงบประมาณหนึ่งไม่เกินสี่สิบห้าวันทําการ แต่สําหรับในปีแรกที่เข้ารับราชการ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินสิบห้าวันทําการ (๔) กรณีลาพักผ่อนประจําปี ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินระยะเวลาที่ผู้นั้นมีสิทธิลาพักผ่อนประจําปีตามที่กําหนดไว้ในระเบียบว่าด้วยการลา (๕) กรณีลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซึ่งมิใช่เป็นการลาภายในระยะเวลาสิบสองเดือนแรกที่เข้ารับราชการในสํานักงานศาลปกครองและตั้งแต่เริ่มรับราชการยังไม่เคยลาอุปสมบทในพระพุทธศาสนาหรือยังไม่เคยลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ณ เมืองเมกกะ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน (๖) กรณีลาไปเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน (๗) กรณีลาไปฝึกอบรมหรือดูงาน ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน (๘) กรณีการอุปสมบทในพระพุทธศาสนาที่คณะรัฐมนตรีมีมติเป็นกรณีพิเศษ โดยไม่ให้ถือเป็นวันลาของข้าราชการ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างเวลาดังกล่าวได้ไม่เกินหกสิบวัน (๙) กรณีการลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาเฉพาะวันลาที่มีสิทธิได้รับเงินเดือนระหว่างลาตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น (๑๐) กรณีการลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ไม่เกินหกสิบวัน” ข้อ ๔ พนักงานคดีปกครองซึ่งลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตรหรือลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพตั้งแต่วันที่ระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยการลาของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ ใช้บังคับ ให้ได้รับเงินค่าตอบแทนพิเศษระหว่างลาได้ตามที่กําหนดในข้อ ๗ (๙) หรือ (๑๐) ของระเบียบคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ว่าด้วยเงินค่าตอบแทนพิเศษสําหรับตําแหน่งพนักงานคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบนี้แล้วแต่กรณี ประกาศ ณ วันที่ ๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง --- 1.
11,259
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 634 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 634 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จึงประกาศดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น ( 904 ) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗ (๗) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ “( 904 ) มูลนิธิพลังงานไทย” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (๑) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นไป (๒) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,260
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 633 ) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 633 ) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา ๔๗(๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓(๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๐๘ และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (847) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษาตามมาตรา ๔๗ (๗)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา ๓ (๔)(ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ ๒๓๙) พ.ศ. ๒๕๓๔ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ ๒๕๔) พ.ศ. ๒๕๓๕ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ และให้ใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “(847) มูลนิธิคุณแม่ลี้กิมเกียว ตั้งคารวคุณ” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕7 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2558 วิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
11,261