title
stringlengths
8
870
text
stringlengths
0
298k
__index_level_0__
int64
0
54.3k
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4715 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โลหะเติมสำหรับการบัดกรีแข็ง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4715 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โลหะเติมสําหรับการบัดกรีแข็ง --------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโลหะเติมสําหรับการบัดกรีแข็ง มาตรฐานเลขที่ มอก. 2681 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2558 จักรมณฑ์ ผาสุกวนิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,256
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4716 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เหล็กแผ่นเคลือบอะลูมิเนียม/ สังกะสีโดยกรรมวิธีจุ่มร้อน สำหรับงานทั่วไป งานขึ้นรูป และงานโครงสร้างทั่วไป และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เหล็กกล้าคาร์บอนทรงแบนรีดเย็นเคลือบอะลูมิเนียม 55% ผสมสังกะสี โดยกรรมวิธีจุ่มร้อนแบบต่อเนื่อง สำหรับงานทั่วไป งานขึ้นรูป และงานโครงสร้าง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4716 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เหล็กแผ่นเคลือบอะลูมิเนียม/ สังกะสีโดยกรรมวิธีจุ่มร้อน สําหรับงานทั่วไป งานขึ้นรูป และงานโครงสร้างทั่วไป และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เหล็กกล้าคาร์บอนทรงแบนรีดเย็นเคลือบอะลูมิเนียม 55% ผสมสังกะสี โดยกรรมวิธีจุ่มร้อนแบบต่อเนื่อง สําหรับงานทั่วไป งานขึ้นรูป และงานโครงสร้าง -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เหล็กแผ่นเคลือบอะลูมิเนียม/สังกะสี โดยกรรมวิธีจุ่มร้อน สําหรับงานทั่วไป งานขึ้นรูป และงานโครงสร้างทั่วไป มาตรฐานเลขที่ มอก. 2228 – 2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3397 (พ.ศ. 2548) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เหล็กแผ่นเคลือบอะลูมิเนียม/สังกะสีโดยกรรมวิธีจุ่มร้อน สําหรับงานทั่วไป งานขึ้นรูป และงานโครงสร้างทั่วไป ลงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เหล็กกล้าคาร์บอนทรงแบนรีดเย็นเคลือบอะลูมิเนียม 55% ผสมสังกะสี โดยกรรมวิธีจุ่มร้อนแบบต่อเนื่อง สําหรับงานทั่วไป งานขึ้นรูป และงานโครงสร้าง มาตรฐานเลขที่ มอก. 2228 - 2558 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพันกําหนด 180 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2558 จักรมนฑ์ ผาสุกวนิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,257
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4717 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ำยางข้น – การหาจำนวนกรดไขมันระเหย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4717 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ํายางข้น – การหาจํานวนกรดไขมันระเหย -------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ํายางข้น - การหาจํานวนกรดไขมันระเหย มาตรฐานเลขที่ มอก. 2640 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,258
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4718 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางลาเท็กซ์ - การหาปริมาณยางจับเป็นก้อน (ส่วนตกค้างบนตะแกรงร่อน)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4718 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางลาเท็กซ์ - การหาปริมาณยางจับเป็นก้อน (ส่วนตกค้างบนตะแกรงร่อน) -------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางลาเทกซ์ - การหาปริมาณยางจับเป็นก้อน (ส่วนตกค้างบนตะแกรงร่อน) มาตรฐานเลขที่ มอก. 2641 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,259
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4719 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - ความทนต่อก๊าซโอโซน - เล่ม 1 : การทดสอบด้วยความเครียดสถิตและความเครียดพลวัต
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4719 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - ความทนต่อก๊าซโอโซน - เล่ม 1 : การทดสอบด้วยความเครียดสถิตและความเครียดพลวัต ----------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - ความทนต่อก๊าซโอโซน - เล่ม 1 : การทดสอบด้วยความเครียดสถิตและความเครียดพลวัต มาตรฐานเลขที่ มอก. 2642 เล่ม 1 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,260
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4720 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบและน้ำยางธรรมชาติ – การหาปริมาณไนโตรเจน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4720 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบและน้ํายางธรรมชาติ – การหาปริมาณไนโตรเจน ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางดิบและน้ํายางธรรมชาติ - การหาปริมาณนโตรเจน มาตรฐานเลขที่ มอก. 2643 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,261
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4721 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ำยางข้น – การหาปริมาณกรดบอริก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4721 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ํายางข้น – การหาปริมาณกรดบอริก ---------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ํายางข้น - การหาปริมาณกรดบอริก มาตรฐานเลขที่ มอก. 2644 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,262
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4722 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์ – การหาผลต่อของเหลว
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4722 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์ – การหาผลต่อของเหลว ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์ - การหาผลต่อของเหลว มาตรฐานเลขที่ มอก. 2645 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตันไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,263
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4723 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาค่ามอดุลัสเฉือนและแรงยึดกับแผ่นแข็ง - วิธีใช้แรงเฉือนด้วยแผ่นแข็ง 4 แผ่น
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4723 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาค่ามอดุลัสเฉือนและแรงยึดกับแผ่นแข็ง - วิธีใช้แรงเฉือนด้วยแผ่นแข็ง 4 แผ่น --------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาค่ามอดุลัสเฉือนและแรงยึดกับแผ่นแข็ง - วิธีใช้แรงเฉือนด้วยแผ่นแข็ง 4 แผ่น มาตรฐานเลขที่ มอก. 2646 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,264
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4724 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติกที่มีสมบัติเป็นตัวนำและถ่ายประจุได้- การวัดสภาพความต้านทาน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4724 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติกที่มีสมบัติเป็นตัวนําและถ่ายประจุได้- การวัดสภาพความต้านทาน --------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติกที่มีสมบัติเป็นตัวนําและถ่ายประจุได้ - การวัดสภาพความต้านทานมาตรฐานเลขที่ มอก. 2647 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,265
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4725 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก – การหาการยืดอยู่ตัวภายใต้ความยืดคงที่ และการหาการยืดอยู่ตัว ความยืด และความคืบภายใต้แรงดึงคงที่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4725 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาการยืดอยู่ตัวภายใต้ความยืดคงที่ และการหาการยืดอยู่ตัว ความยืด และความคืบภายใต้แรงดึงคงที่ ------------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาการยึดอยู่ตัวภายใต้ความยืดคงที่และการหาการยึดอยู่ตัวความยืด และความคืบภายใต้แรงดึงคงที่ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2648 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,266
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4726 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก – ผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติป้องกันไฟฟ้าสถิต และผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัตินำไฟฟ้า – การหาความต้านทานทางไฟฟ้า
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4726 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - ผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติป้องกันไฟฟ้าสถิต และผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัตินําไฟฟ้า – การหาความต้านทานทางไฟฟ้า ------------------------------ อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - ผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัติป้องกันไฟฟ้าสถิตและผลิตภัณฑ์ที่มีสมบัตินําไฟฟ้า - การหาความต้านทานทางไฟฟ้า มาตรฐานเลขที่ มอก. 2649 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,267
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4727 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ – การหาดัชนีความอ่อนตัวของยาง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4727 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ – การหาดัชนีความอ่อนตัวของยาง ----------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางดิบ - การหาดัชนีความอ่อนตัวของยาง มาตรฐานเลขที่ มอก. 2650 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,268
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4728 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ – การทดสอบดัชนีสี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4728 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ – การทดสอบดัชนีสี ----------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 25111 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางดิบ - การทดสอบดัชนีสี มาตรฐานเลขที่ มอก. 2651 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,269
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4729 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เฉพาะด้านความปลอดภัย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4729 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกและกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เฉพาะด้านความปลอดภัย -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เฉพาะด้านความปลอดภัย มาตรฐานเลขที่ มอก. 812 – 2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3387 (พ.ศ. 2548) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมอเตอร์คอมเพรสเซอร์และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เฉพาะด้านความปลอดภัย ลงวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมอเตอร์คอมเพรสเซอร์เฉพาะด้านความปลอดภัย มาตรฐานเลขที่ มอก. 812 - 2558 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการกําหนดให้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ เฉพาะด้านความปลอดภัย ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. 812 - 2558 ใช้บังคับเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,270
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4730 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก – การหาแรงยึดกับสิ่งทอ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4730 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก – การหาแรงยึดกับสิ่งทอ --------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาแรงยึดกับสิ่งทอ มาตรฐานเลขที่ มอก.2630 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,271
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4731 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก – การหาความแข็ง (ความแข็งตั้งแต่ 10 IRHD ถึง 100 IRHD)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4731 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาความแข็ง (ความแข็งตั้งแต่ 10 IRHD ถึง 100 IRHD) --------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การหาความแข็ง (ความแข็งตั้งแต่ 10 IRHD ถึง 100 IRHD) มาตรฐานเลขที่ มอก.2631 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,272
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4732 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางลาเทกซ์ – การหาปริมาณของแข็ง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4732 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางลาเทกซ์ – การหาปริมาณของแข็ง ---------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางลาเทกซ์ - การหาปริมาณของแข็ง มาตรฐานเลขที่ มอก.2632 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,273
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4733 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ำยางข้น – การหาความเป็นด่าง
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4733 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ํายางข้น – การหาความเป็นด่าง ----------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ํายางข้น - การหาความเป็นด่าง มาตรฐานเลขที่ มอก. 2633 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,274
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4734 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ำยางข้น – การหาจำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4734 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม น้ํายางข้น – การหาจํานวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ --------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ํายางข้น - การหาจํานวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2634 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,275
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4735 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก – การทดสอบการเร่งการเสื่อมอายุและ ความต้านทานความร้อน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4735 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก - การทดสอบการเร่งการเสื่อมอายุและ ความต้านทานความร้อน ------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางวัลคะไนซ์หรือยางเทอร์มอพลาสติก – การทดสอบการเร่งการเสื่อมอายุและความต้านทานความร้อน มาตรฐานเลขที่ มอก. 2635 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,276
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4736 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยาง – การหาปริมาณเถ้า
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4736 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยาง – การหาปริมาณเถ้า ------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยาง - การหาปริมาณเถ้า มาตรฐานเลขที่ มอก. 2636 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,277
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4737 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ - การหาปริมาณสารที่ระเหยได้ - เล่ม 1 : วิธีใช้เครื่องบดร้อนและเตาอบ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4737 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ - การหาปริมาณสารที่ระเหยได้ - เล่ม 1 : วิธีใช้เครื่องบดร้อนและเตาอบ -------------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางดิบ - การหาปริมาณสารที่ระเหยได้ - เล่ม 1 : วิธีใช้เครื่องบดร้อนและเตาอบ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2637 เล่ม 1 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,278
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4738 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ – การหาปริมาณสิ่งสกปรก
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4738 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางดิบ – การหาปริมาณสิ่งสกปรก ----------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางดิบ - การหาปริมาณสิ่งสกปรก มาตรฐานเลขที่ มอก. 2638 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,279
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4739 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางไม่วัลคะไนซ์ - การหาความหนืดด้วยเครื่องหาความหนืดแบบจานหมุนด้วยแรงเฉือน - เล่ม 1 : การหาความหนืดมูนี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4739 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางไม่วัลคะไนซ์ – การหาความหนืดด้วยเครื่องหาความหนืดแบบจานหมุนด้วยแรงเฉือน - เล่ม 1 : การหาความหนืดมูนี --------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมยางไม่วัลคะไนซ์ - การหาความหนืดด้วยเครื่องหาความหนืดแบบจานหมุนด้วยแรงเฉือน - เล่ม 1 : การหาความหนืดมูนี มาตรฐานเลขที่ มอก. 2639 เล่ม 1 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,280
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4740 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วัสดุผนึกคลองรากฟัน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ผฉบับที่ 4740 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วัสดุผนึกคลองรากฟัน ---------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วัสดุผนึกคลองรากฟันมาตรฐานเลขที่ มอก. 2708 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตันไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,281
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4741 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วัสดุบูรณะฟันกลุ่มพอลิเมอร์
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4741 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วัสดุบูรณะฟันกลุ่มพอลิเมอร์ ------------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วัสดุบูรณะฟัน กลุ่มพอลิเมอร์ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2709 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,282
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4742 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511เรื่อง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถังก๊าซ - ถังอะลูมิเนียมเจือมีรอยเชื่อมประเภทบรรจุก๊าซได้อีก - การออกแบบ การสร้าง และการทดสอบ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4742 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ถังก๊าซ - ถังอะลูมิเนียมเจือมีรอยเชื่อมประเภทบรรจุก๊าซได้อีก - การออกแบบ การสร้าง และการทดสอบ --------------------------------- อื่นๆ - อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถังก๊าซ - ถังอะลูมิเนียมเจือมีรอยเชื่อมประเภทบรรจุก็ได้อีก - การออกแบบ การสร้าง และการทดสอบมาตรฐานเลขที่ มอก. 2707 - 2558 ไว้ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,283
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4743 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคโพรแล็กแทม และกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคโพรแล็กแทมสำหรับอุตสาหกรรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4743 (พ.ศ. 2558) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคโพรแล็กแทม และกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคโพรแล็กแทมสําหรับอุตสาหกรรม -------------------------------- อื่นๆ - โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคโพรแล็กแทม มาตรฐานเลขที่ มอก. 1777 – 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศยกเลิกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2591 (พ.ศ. 2542) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคโพรแล็กแทม ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3752 (พ.ศ. 2550) ออกตามความในพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 เรื่อง แก้ไขมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแคโพรแล็กแทม (แก้ไขครั้งที่ 1) ลงวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 และออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แคโพรแล็กแทมสําหรับอุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่ มอก. 1777 – 2558 ขึ้นใหม่ ดังมีรายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ให้มีผลเมื่อพ้นกําหนด 90 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2558 อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
10,284
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 431) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการ
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 431) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้ สําหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการ อาศัยอํานาจตามความในข้อ 1 และข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 386 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้ สําหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ การใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้สําหรับเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการ สําหรับการซื้อสินค้าหรือรับบริการในราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 40,000 บาท ผู้มีเงินได้ต้องมีหลักฐานเป็นใบกํากับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร หรือใบรับซึ่งมีรายการอย่างน้อยตามมาตรา 105 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร พร้อมระบุชื่อและนามสกุลของผู้มีเงินได้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังนี้ (1) การใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 30,000 บาท ต้องได้รับใบกํากับภาษีหรือใบรับที่ได้จัดทําในรูปแบบกระดาษหรือโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรา ๓ โสฬส แห่งประมวลรัษฎากรก็ได้ (2) การใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงในส่วนที่เกิน 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 10,000 บาท ต้องได้รับใบกํากับภาษีหรือใบรับที่ได้จัดทําโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรา ๓ โสฬส แห่งประมวลรัษฎากร เท่านั้น ใบกํากับภาษีหรือใบรับตามวรรคหนึ่งที่ได้จัดทําโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องจัดทําโดยผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือผู้มีหน้าที่ออกใบรับที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศรายชื่อตามข้อ12แห่งกฎกระทรวงฉบับที่ 384 (พ.ศ. 2565) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการดําเนินการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานหรือหนังสือด้วยกระบวนการทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๒ การยกเว้นภาษีเงินได้ตามข้อ 1 ให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) ผู้มีเงินได้ซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ต้องมิใช่ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล โดยให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 40,000 บาท (2) กรณีสามีหรือภริยามีเงินได้ฝ่ายเดียว ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่สามีหรือภริยาซึ่งเป็นผู้มีเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 40,000 บาท (3) กรณีสามีภริยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ (ก) ถ้าต่างฝ่ายต่างยื่นรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินที่ตนได้รับ หรือแยกยื่นรายการ และเสียภาษีเฉพาะส่วนที่เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร โดยไม่ถือเป็นเงินได้ของอีกฝ่ายหนึ่งตามมาตรา 57 ฉ แห่งประมวลรัษฎากร ให้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 40,000 บาท (ข) ถ้าสามีภริยาตกลงยื่นรายการและเสียภาษีรวมกัน โดยถือเอาเงินได้พึงประเมินของตนเป็นเงินได้ของสามีหรือภริยาอีกฝ่ายหนึ่งตามมาตรา 57 ฉ แห่งประมวลรัษฎากร ให้ผู้มีเงินได้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงเฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 40,000 บาท และให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ส่วนของสามีหรือภริยาได้ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 40,000 บาท ข้อ ๓ ผู้มีเงินได้ที่ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตามประกาศนี้ ต้องซื้อสินค้าหรือรับบริการเพื่อใช้ในราชอาณาจักร และชําระค่าสินค้าหรือค่าบริการ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (1) กรณีการจ่ายค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการ นอกจากกรณีตาม (2) และ (3) ต้องเป็นการจ่ายให้แก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและได้รับใบกํากับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร โดยเงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการที่จะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ต้องเป็นการซื้อสินค้าหรือรับบริการเฉพาะที่ต้องรวมคํานวณเป็นมูลค่าฐานภาษีในอัตราร้อยละ 7.0 เท่านั้น (2) กรณีการจ่ายค่าซื้อหนังสือหรือค่าบริการหนังสือที่อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต แต่ไม่รวมถึงหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ให้แก่ผู้ขายหรือผู้ให้บริการ แล้วแต่กรณี ต้องได้รับใบกํากับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร ในกรณีที่ผู้ขายหรือผู้ให้บริการเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือได้รับใบรับซึ่งมีรายการอย่างน้อยตามมาตรา 105 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร พร้อมระบุชื่อและนามสกุลของผู้มีเงินได้ ในกรณีที่ผู้ขายหรือผู้ให้บริการไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (3) กรณีการจ่ายค่าซื้อสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ สินค้าดังกล่าวต้องเป็นสินค้าที่ได้ลงทะเบียนกับกรมการพัฒนาชุมชนแล้ว และได้รับใบกํากับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร จากผู้ขายในกรณีที่ผู้ขายเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือได้รับใบรับซึ่งมีรายการอย่างน้อยตามมาตรา 105 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร พร้อมระบุชื่อและนามสกุลของผู้มีเงินได้กรณีที่ผู้ขายไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยในการจัดทํารายการชื่อ ชนิด และประเภทของสินค้าในใบกํากับภาษีตามมาตรา 86/4 (5) แห่งประมวลรัษฎากร หรือในใบรับนั้น ผู้ขายจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ (ก) ต้องระบุข้อความที่แสดงว่าสินค้านั้น เป็นสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในแต่ละรายการสินค้า หรือจัดทําเครื่องหมายแสดงในแต่ละรายการสินค้าที่เป็นสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และมีข้อความที่แสดงว่าเครื่องหมายนั้น หมายถึงสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ไว้ในใบกํากับภาษีหรือใบรับ เช่น “OTOP” “โอทอป” หรือ “One Tambon One Product” เป็นต้น (ข) กรณีที่สินค้าทุกรายการในใบกํากับภาษีหรือใบรับนั้นเป็นสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ทั้งหมด จะไม่ระบุข้อความหรือเครื่องหมายที่แสดงว่า สินค้าแต่ละรายการเป็นสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ตาม (ก) ก็ได้ โดยให้ผู้ขายสินค้าซึ่งเป็นผู้ออกใบกํากับภาษีหรือใบรับประทับตรายางที่มีชื่อการค้า หรือเครื่องหมายการค้าของผู้ขายสินค้านั้น และให้ระบุข้อความว่า “สินค้าทุกรายการเป็นสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์” หรือข้อความอื่นในลักษณะทํานองเดียวกันในใบกํากับภาษีหรือใบรับฉบับนั้นด้วย ข้อ ๔ กรณีที่ผู้มีเงินได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้นําภาษีมูลค่าเพิ่มตามใบกํากับภาษีไปหักจากภาษีขายในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 82/3 แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ผู้มีเงินได้ไม่มีสิทธินําค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการตามใบกํากับภาษีนั้นมาใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตามประกาศนี้ ข้อ ๕ การได้รับยกเว้นภาษีเงินตามประกาศนี้ ให้ผู้มีเงินได้มีสิทธินําเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีไปคํานวณหักจากเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 แห่งประมวลรัษฎากร หลังจากหักค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา 46 แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป อื่นๆ - ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ลวรณ แสงสนิท (นายลวรณ แสงสนิท) อธิบดีกรมสรรพากร
10,285
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ขยายกำหนดเวลาการยื่นรายการและชำระภาษีอากรหรือนำส่งภาษีให้แก่ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือนำส่งภาษีในท้องที่ที่เกิดภัยพิบัติ (ฉบับที่ 6)
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ขยายกําหนดเวลาการยื่นรายการและชําระภาษีอากรหรือนําส่งภาษีให้แก่ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือนําส่งภาษีในท้องที่ที่เกิดภัยพิบัติ (ฉบับที่ 6) โดยที่ได้เกิดภัยพิบัติอุทกภัยในท้องที่หลายจังหวัดของประเทศไทย เป็นเหตุให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือนําส่งภาษีในท้องที่ไม่อาจประกอบกิจการได้ตามปกติ และไม่สามารถยื่นรายการและชําระภาษีอากรหรือนําส่งภาษีภายในกําหนดเวลาที่ประมวลรัษฎากรกําหนด รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังพิจารณาแล้ว เพื่อให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือนําส่งภาษีในท้องที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุภัยพิบัติ ไม่ต้องเสียเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และค่าปรับอาญา จึงอาศัยอํานาจ ตามมาตรา 3 อัฏฐ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร อนุมัติให้ขยายกําหนดเวลาการยื่นรายการและชําระภาษีอากรหรือนําส่งภาษีตามประมวลรัษฎากร ให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือนําส่งภาษีในท้องที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุภัยพิบัติ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ขยายกําหนดเวลาการยื่นรายการและชําระภาษีอากรหรือนําส่งภาษีให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือนําส่งภาษีในท้องที่สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาซึ่งได้รับประกาศให้เป็นเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัยและหรือประกาศให้เป็นเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน จากภัยพิบัติอุทกภัย ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2562 ลงวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ ๒ ให้ขยายกําหนดเวลาการยื่นรายการและนําส่งภาษีตามมาตรา 3 เตรส มาตรา 52 มาตรา 59 มาตรา 69 ทวิ มาตรา 70 มาตรา 70 ทวิ มาตรา 83/5 มาตรา 83/6 และมาตรา 83/7 แห่งประมวลรัษฎากร สําหรับกรณีที่จะต้องยื่นรายการและนําส่งภาษี ดังต่อไปนี้ ออกไปเป็นภายในวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 (1) สําหรับเดือนภาษีกันยายน พ.ศ. 2565 ซึ่งจะต้องยื่นรายการและนําส่งภาษีภายในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2565 หรือที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็นภายในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2565 สําหรับการยื่นรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษี ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 แล้วแต่กรณี (2) สําหรับเดือนภาษีตุลาคม พ.ศ. 2565 ซึ่งจะต้องยื่นรายการและนําส่งภาษีภายในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 หรือที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็นภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 สําหรับการยื่นรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 แล้วแต่กรณี (3) สําหรับเดือนภาษีพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ซึ่งจะต้องยื่นรายการและนําส่งภาษีภายในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2565 หรือที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็นภายในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2565 สําหรับการยื่นรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 แล้วแต่กรณี ข้อ ๓ ให้ขยายกําหนดเวลาการยื่นรายการและชําระภาษี ตามมาตรา 56 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากรสําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปีภาษี พ.ศ. 2565 ที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาสําหรับการยื่นรายการและชําระภาษี ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งจะต้องยื่นรายการและชําระภาษีภายในวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2565 ออกไปเป็นภายในวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ข้อ ๔ ให้ขยายกําหนดเวลายื่นรายการและชําระภาษีสําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 67 มาตรา 67 ทวิ มาตรา 68 มาตรา 69 และมาตรา 71 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2564 ซึ่งจะต้องยื่นรายการและชําระภาษีตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565 หรือที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาสําหรับการยื่นรายการและชําระภาษี ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งจะต้องยื่นรายการและชําระภาษีตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565 แล้วแต่กรณี ออกไปเป็นภายในวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ข้อ ๕ ให้ขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามมาตรา 83 แห่งประมวลรัษฎากร และภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามมาตรา 91/10 แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการยื่นรายการและชําระภาษีธุรกิจเฉพาะ สําหรับการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากําไรไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์นั้นจะได้มาโดยวิธีใดก็ตาม ตามมาตรา 91/2 (6) แห่งประมวลรัษฎากร สําหรับกรณีที่จะต้องยื่นรายการและนําส่งภาษี ดังต่อไปนี้ ออกไปเป็นภายในวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 (1) สําหรับเดือนภาษีกันยายน 2565 ซึ่งจะต้องยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีภายในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2565 หรือที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็นภายในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2565 สําหรับการยื่นรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 แล้วแต่กรณี (2) สําหรับเดือนภาษีตุลาคม 2565 ซึ่งจะต้องยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 หรือที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็นภายในวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 สําหรับการยื่นรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 แล้วแต่กรณี (3)สําหรับเดือนภาษีพฤศจิกายน 2565 ซึ่งจะต้องยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีภายในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2565 หรือที่ได้รับการขยายกําหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็นภายในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2565 สําหรับการยื่นรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การขยายกําหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและชําระภาษีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2563 แล้วแต่กรณี ข้อ ๖ ให้ขยายกําหนดเวลาการขอเสียอากรแสตมป์เป็นตัวเงิน ตามมาตรา 103 (3) แห่งประมวลรัษฎากร ไม่ว่าจะยื่นผ่านช่องทางใด สําหรับกรณีที่จะต้องเสียอากรตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ออกไปเป็นภายในวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ข้อ ๗ แบบแสดงรายการภาษีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีหรือนําส่งภาษีได้รับการขยายกําหนดเวลา การยื่นรายการและชําระภาษีอากรหรือนําส่งภาษี แล้วแต่กรณี มีดังนี้ 7.1 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ตามแบบ ภ.ง.ด.1 ภ.ง.ด.2 ภ.ง.ด.3 ภ.ง.ด.53 และ ภ.ง.ด.54 7.2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามแบบ ภ.ง.ด.94 7.3 ภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามแบบ ภ.ง.ด.50 ภ.ง.ด.51 ภ.ง.ด.52 ภ.ง.ด.55 และแบบรายงานประจําปีสําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน ตามมาตรา 71 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร (Disclosure Form) 7.4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามแบบ ภ.พ.30 และ ภ.พ.36 7.5 ภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามแบบ ภ.ธ.40 7.6 อากรแสตมป์ ตามแบบ อ.ส.4 อ.ส.4ก อ.ส.4ข และ อ.ส.9 อื่นๆ ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 อาคม เติมพิทยาไพสิฐ (นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,286
ประกาศกรมสรรพากร เรื่อง ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อกรมสรรพากร พ.ศ. 2566
ประกาศกรมสรรพากร เรื่อง ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สําหรับติดต่อกรมสรรพากร พ.ศ. 2566 โดยที่มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๕ บัญญัติให้บรรดาคําร้อง คําขอ หรือเอกสารหลักฐานอื่น ที่ประชาชนส่งหรือมีถึงหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องทางช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ที่หน่วยงานของรัฐประกาศกําหนด ให้ถือว่าหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นได้รับตามวันและเวลาที่คําร้อง คําขอ หรือเอกสารหลักฐานอื่น นั้นเข้าสู่ระบบ สมควรกําหนดช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สําหรับประชาชนใช้ในการยื่นคําร้อง คําขอ หรือเอกสารหลักฐานอื่น ที่ประชาชนติดต่อกรมสรรพากรโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการอํานวยความสะดวกและลดภาระแก่ประชาชน รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๕ อธิบดีกรมสรรพากรออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ทางเว็บไซต์ www.rd.go.th/rdeservice เป็นช่องทางสําหรับประชาชนยื่นคําร้อง คําขอ หรือเอกสารหลักฐานอื่น เพื่อติดต่อกรมสรรพากรหรืออธิบดีกรมสรรพากรโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๒ ในกรณีที่ผู้ยื่นคําขอหรือติดต่อมาทางช่องทางตามข้อ ๑ ประสงค์จะสอบถามหรือขอรับคํายืนยันจากกรมสรรพากรว่าได้รับคําขอหรือการติดต่อแล้ว ให้สอบถามในวันและเวลาราชการได้ที่ www.rd.go.th/rdeservice อื่นๆ ประกาศ ณ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2566 ลวรณ แสงสนิท (นายลวรณ แสงสนิท) อธิบดีกรมสรรพากร
10,287
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 45) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ สำหรับการบริจาคผ่านระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 756) พ.ศ. 2565
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร (ฉบับที่ 45) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ สําหรับการบริจาคผ่านระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์ ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 756) พ.ศ. 2565 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 6 และมาตรา 7 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 756) พ.ศ. 2565 อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ สําหรับการบริจาคให้แก่มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือมูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ผู้รับบริจาค” หมายความถึง มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี หรือมูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ข้อ ๒ การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดา สําหรับการบริจาคให้แก่ผู้รับบริจาค ตามมาตรา 4 (1) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 756) พ.ศ. 2565 จะต้องบริจาคเป็นเงินเท่านั้น ข้อ ๓ การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สําหรับการบริจาคให้แก่ผู้รับบริจาค ตามมาตรา 4 (2) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 756) พ.ศ. 2565 จะบริจาคเป็นเงิน ทรัพย์สิน หรือสินค้าก็ได้ ในกรณีที่บริจาคเป็นทรัพย์สินหรือสินค้า ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ดังนี้ (1) กรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซื้อทรัพย์สินมาเพื่อบริจาค ต้องมีหลักฐานการได้มาซึ่งทรัพย์สินที่ระบุจํานวนและมูลค่าของทรัพย์สินนั้น โดยให้ถือว่ามูลค่าตามหลักฐานดังกล่าว เป็นมูลค่าของรายจ่ายที่บริจาค (2) กรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนําทรัพย์สินที่ได้บันทึกบัญชีทรัพย์สินของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นมาบริจาค ให้ถือเอามูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือจากการคํานวณหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน เป็นมูลค่าของรายจ่ายที่บริจาค (3) กรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนําสินค้ามาบริจาค ไม่ว่าจะเป็นสินค้าที่ผลิตเอง หรือซื้อมาเพื่อขาย ให้ถือเอามูลค่าต้นทุนของสินค้าดังกล่าวที่สามารถพิสูจน์ได้ เป็นมูลค่าของรายจ่าย ที่บริจาค แต่มูลค่าดังกล่าวต้องไม่เกินราคาสินค้าคงเหลือยกมา ตามมาตรา 65 ทวิ (6) แห่งประมวลรัษฎากร (4) มูลค่าของทรัพย์สินหรือสินค้าที่ซื้อมาเพื่อบริจาคนั้น จะต้องมีจํานวนไม่เกินราคาที่พึงซื้อได้ โดยปกติ ทั้งนี้ ตามมาตรา 65 ตรี (15) แห่งประมวลรัษฎากร ข้อ ๔ การบริจาคให้แก่ผู้รับบริจาค ให้ใช้ข้อมูลการบริจาคที่ปรากฏในระบบบริจาคอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลักฐานประกอบการใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ตามมาตรา 4 และมาตรา 7 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 756) พ.ศ. 2565 โดยผู้ที่ใช้สิทธิยกเว้นภาษีอากรไม่ต้องแสดงเอกสารหลักฐานการบริจาคต่อเจ้าพนักงานประเมิน ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2567 ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ลวรณ แสงสนิท (นายลวรณ แสงสนิท) อธิบดีกรมสรรพากร
10,288
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 791) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 791) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47(7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 -------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (881) ของข้อ ๓ แห่งประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(881) มูลนิธิทีทีบี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,289
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 792) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 792) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ------------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (40) มูลนิธิ ต.ม.ธ.ก. รุ่น 7 ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ให้ยกเลิก (119) มูลนิธิดํารงราชานุภาพ ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิก (124) มูลนิธิศาสตราจารย์นายแพทย์เฉลิม พรมมาส ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ข้อ ๔ ให้ยกเลิก (128) มูลนิธิสงเคราะห์อาชีพผู้ทุพพลภาพเนื่องจากการปฏิบัติราชการสนาม (สทป.) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 เป็นต้นไป ข้อ ๕ ให้ยกเลิก (489) มูลนิธิบําบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ 190) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2545 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป ข้อ ๖ ให้ยกเลิก (490) มูลนิธิประสิทธิ์-นวลศรี สุวรรณประทีป ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 191) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2545 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป ข้อ ๗ ให้ยกเลิก (536) มูลนิธิหนังสือเพื่อไทย ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ข้อ ๘ ให้ยกเลิก (575) มูลนิธิเพื่อลูกจ้างคนงานไทย ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 280) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2548 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ข้อ ๙ ให้ยกเลิก (598) มูลนิธิโวล์ฟกัง โครห์น ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 303) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ข้อ ๑๐ ให้ยกเลิก (623) มูลนิธิกองทุนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อการศึกษาและวิจัยพัฒนาด้านยานยนต์ ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 331) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ข้อ ๑๑ ให้ยกเลิก (661) มูลนิธิพัฒนาคุณภาพชีวิต ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 373) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ข้อ ๑๒ ให้ยกเลิก (704) มูลนิธิกิมหย่งร่วมใจ ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 420) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ข้อ ๑๓ ให้ยกเลิก (778) มูลนิธิสํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 495) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ข้อ ๑๔ ให้ยกเลิก (790) มูลนิธิผาแดงเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 507) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ข้อ ๑๕ ให้ยกเลิก (797) มูลนิธิศูนย์รักษ์สุนัขหัวหิน ในพระบรมราชูปถัมภ์ ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 514) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2555 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ ๑๖ ให้ยกเลิก (865) มูลนิธิพลังแห่งการเรียนรู้ ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 694) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕65 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,290
พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565
**พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทําความผิดซ้ําในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565** **----------------------** โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยมาตรการป้องกันการกระทําความผิดซ้ําในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 26 ประกอบกับมาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 32 และมาตรา 38 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เหตุผลและความจําเป็นในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อใช้เป็นบทบัญญัติในการป้องกันและเฝ้าระวังการก่ออาชญากรรม สร้างความปลอดภัยให้สังคม แก้ไขปัญหาและลดอัตราการกระทําความผิดซ้ํา ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทําความผิดซ้ําในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.ศ. 2565 มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับแก่การกระทําความผิดตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 278 มาตรา 279 มาตรา 283 ทวิ มาตรา 284 มาตรา 288 มาตรา 289 มาตรา 290 มาตรา 297 มาตรา 298 และมาตรา 313 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ในกรณีศาลมีคําพิพากษาว่าจําเลยมีความผิดตามมาตราหนึ่งมาตราใดตามที่ระบุไว้ในวรรคหนึ่ง แม้ศาลจะพิพากษาให้ลงโทษในความผิดอื่นที่ไม่ได้ระบุไว้ในวรรคหนึ่งก็ตาม ก็ให้นําพระราชบัญญัตินี้ไปใช้บังคับด้วย
10,291
พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 29) พ.ศ. 2565
**พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 29) พ.ศ. 2565** **----------------------------** มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 29) พ.ศ. 2565” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 73 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2551 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 73 เด็กอายุยังไม่เกินสิบสองปีกระทําการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด เด็กนั้นไม่ต้องรับโทษ” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา 74 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2551 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา 74 เด็กอายุกว่าสิบสองปีแต่ยังไม่เกินสิบห้าปี กระทําการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด เด็กนั้นไม่ต้องรับโทษ แต่ให้ศาลมีอํานาจที่จะดําเนินการ ดังต่อไปนี้ (1) ว่ากล่าวตักเตือนเด็กนั้นแล้วปล่อยตัวไป และถ้าศาลเห็นสมควรจะเรียกบิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เด็กนั้นอาศัยอยู่มาตักเตือนด้วยก็ได้ (2) ถ้าศาลเห็นว่าบิดา มารดา หรือผู้ปกครองสามารถดูแลเด็กนั้นได้ ศาลจะมีคําสั่งให้มอบตัวเด็กนั้นให้แก่บิดา มารดา หรือผู้ปกครองไป โดยวางข้อกําหนดให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครองระวังเด็กนั้นไม่ให้ก่อเหตุร้ายตลอดเวลาที่ศาลกําหนดซึ่งต้องไม่เกินสามปีและกําหนดจํานวนเงินตามที่เห็นสมควรซึ่งบิดา มารดา หรือผู้ปกครองจะต้องชําระต่อศาลไม่เกินครั้งละหนึ่งหมื่นบาทในเมื่อเด็กนั้นก่อเหตุร้ายขึ้น แต่ถ้าเด็กนั้นอาศัยอยู่กับบุคคลอื่นนอกจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง และศาล เห็นว่าไม่สมควรจะเรียกบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมาวางข้อกําหนดดังกล่าวข้างต้น ศาลจะเรียกตัวบุคคลที่เด็กนั้นอาศัยอยู่มาสอบถามว่าจะยอมรับข้อกําหนดทํานองที่บัญญัติไว้สําหรับบิดา มารดา หรือผู้ปกครองดังกล่าวมาข้างต้นหรือไม่ก็ได้ ถ้าบุคคลที่เด็กนั้นอาศัยอยู่ยอมรับข้อกําหนดเช่นว่านั้น ก็ให้ศาลมีคําสั่งมอบตัวเด็กให้แก่บุคคลนั้นไปโดยวางข้อกําหนดดังกล่าว (3) ส่งตัวเด็กนั้นไปยังสถานศึกษา หรือสถานฝึกและอบรม หรือสถานแนะนําทางจิต หรือสถานที่ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อฝึกและอบรมเด็ก ตลอดระยะเวลาที่ศาลกําหนด แต่ไม่ให้เกินกว่าที่เด็กนั้นจะมีอายุครบสิบแปดปี ในกรณีที่ศาลมอบตัวเด็กให้แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เด็กนั้นอาศัยอยู่ตาม (2) ศาลจะกําหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติเด็กนั้นเช่นเดียวกับที่บัญญัติไว้ในมาตรา 56 ด้วยก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี้ ให้ศาลแต่งตั้งพนักงานคุมประพฤติหรือพนักงานอื่นใด เพื่อคุมความประพฤติเด็กนั้น ในกรณีที่เด็กนั้นไม่มีบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง หรือมีแต่ศาลเห็นว่าไม่สามารถดูแลเด็กนั้นได้ หรือในกรณีที่เด็กอาศัยอยู่กับบุคคลอื่นนอกจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง และบุคคลนั้นไม่ยอมรับข้อกําหนดดังกล่าวใน (2) ศาลจะมีคําสั่งให้มอบตัวเด็กนั้นให้อยู่กับบุคคลหรือองค์การที่ศาลเห็นสมควรเพื่อดูแล อบรม และสั่งสอนตามระยะเวลาที่ศาลกําหนดก็ได้ในเมื่อบุคคลหรือองค์การนั้นยินยอม ในกรณีเช่นว่านี้ให้บุคคลหรือองค์การนั้นมีอํานาจเช่นผู้ปกครองเฉพาะเพื่อดูแล อบรม และสั่งสอน รวมตลอดถึงการกําหนดที่อยู่และการจัดให้เด็กมีงานทําตามสมควร หรือให้ดําเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นก็ได้ คําสั่งของศาลดังกล่าวใน (2) (3) วรรคสอง และ วรรคสามนั้น ถ้าในขณะใดภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนดไว้ ความปรากฏแก่ศาลโดยศาลรู้เอง หรือตามคําเสนอของผู้มีส่วนได้เสีย พนักงานอัยการหรือบุคคลหรือองค์การที่ศาลมอบตัวเด็กเพื่อดูแล อบรมและสั่งสอน หรือเจ้าพนักงานว่า พฤติการณ์เกี่ยวกับคําสั่งนั้นได้เปลี่ยนแปลงไป ก็ให้ศาลมีอํานาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขคําสั่งนั้นหรือมีคําสั่งใหม่ตามอํานาจในมาตรานี้”
10,292
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 790) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 790) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2507 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2507 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (824) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(824) มูลนิธิรวมใจเพื่อการศึกษาและพัฒนา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2565 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,293
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 789) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 789) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1011) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “(1011) มูลนิธิกรุงศรี” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2565 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2565 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,294
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 788) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 788) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (101) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(101) มูลนิธิสงเคราะห์เด็กและเยาวชนในท้องที่กันดาร ในพระบรมราชูปถัมภ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2531 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,295
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 787) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 787) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (622) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(622) มูลนิธิที่อยู่อาศัย ประเทศไทย” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,296
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 786) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 786) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1010) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “(1010) มูลนิธิศรีสวัสดิ์-สมาน แก้วบุตตา” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2564 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนเมษายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,297
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 785) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 785) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1009) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “(1009) มูลนิธิแฮนด์อะครอสเดอะวอเตอร์ (ประเทศไทย)” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2565 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2566 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,298
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 784) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 784) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1008) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “(1008) มูลนิธิฟันด์อีสาน” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2564 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,299
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 783) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 783) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มข้อความต่อไปนี้เป็น (1007) ของข้อ 3 ของงประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “(1007) มูลนิธิโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2564 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,300
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 782) เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 782) เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมีอํานาจที่จะประกาศกําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรมในการพิจารณากําหนดดังกล่าว จึงปรับปรุงประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ และคุณสมบัติขององค์การหรือสถานสาธารณกุศล ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 704) เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาลและสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 3 มูลนิธิที่ประสงค์จะขอให้พิจารณาประกาศเป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล จะต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคล และยื่นคําขอต่ออธิบดีกรมสรรพากรเพื่อพิจารณาเสนอกระทรวงการคลัง ตามแบบคําขอให้พิจารณาเป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล (แบบ อ.ส.ก.) ที่กําหนดบนเว็บไซต์ของกรมสรรพากร http://www.rd.go.th” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2564 อาคม เติมพิทยาไพสิฐ (นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,301
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 781) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 781) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1006) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม(ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 “(1006) มูลนิธิจากนางฟ้าถึงคุณวันใหม่” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับ (1) สําหรับเงินได้พึงประเมินประจําปี พ.ศ. 2564 ที่จะต้องยื่นรายการใน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป (2) สําหรับมูลค่าของฐานภาษีของผู้ประกอบการในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,302
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบการทดสอบปั้นจั่น
**![]()** ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบการทดสอบปั้นจั่น โดยที่กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ํา พ.ศ. ๒๕๖๔ กําหนดให้นายจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นเมื่อมีการติดตั้งแล้วเสร็จ ปั้นจั่นหยุดการใช้งานปั้นจั่นตั้งแต่หกเดือนขึ้นไปก่อนนําปั้นจั่นมาใช้งานใหม่ และต้องจัดให้มีการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตามประเภทและลักษณะของงาน ตามที่กําหนดไว้ในรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ตามแบบที่อธิบดีประกาศกําหนด อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๕๗ และข้อ ๕๘ แห่งกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ํา พ.ศ. ๒๕๖๔ อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๒ นายจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบการติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการหยุดใช้งานตั้งแต่หกเดือนขึ้นไป และทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตามประเภท และลักษณะของงาน ตามที่กําหนดไว้ในรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ตามแบบการทดสอบ การติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการหยุดใช้งาน และส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ (แบบ ปจ. ๑) หรือปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ (แบบ ปจ. ๒) ท้ายประกาศนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕ นายนิยม สองแก้ว (นายนิยม สองแก้ว) อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน **แบบการทดสอบการติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการหยุดใช้งาน** แบบ ปจ. ๑ **และส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่** **๑. การทดสอบกรณี** (๑) การทดสอบตามข้อ ๕๗ ปั้นจั่นที่มีการติดตั้งแล้วเสร็จ กรณีปั้นจั่นใหม่หลังการติดตั้งแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแต่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง หรือการเพิ่มหรือลดความสูง ปั้นจั่นหยุดการใช้งานตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป ก่อนนํามาใช้งานใหม่ ปั้นจั่นที่ใช้สําหรับประเภทการทํางาน ประเภทอุตสาหกรรม ตั้งแต่ ๑ ตันขึ้นไป ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ขนาด ตัน ประเภทก่อสร้าง ทุกขนาด ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ขนาด ตัน ประเภทอื่นๆ ระบุ ตั้งแต่ ๑ ตันขึ้นไป ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ขนาด ตัน (๒) การทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นตามข้อ ๕๘ (๒.๑) ประเภท อุตสาหกรรม อื่นๆ ระบุ การทดสอบครั้งนี้เป็นรอบที่ ๑ ๒ ๓ ๔ อื่นๆ การทดสอบครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดตั้งแต่ ๑ ตัน แต่ไม่เกิน ๓ ตัน ทดสอบอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๓ ตัน แต่ไม่เกิน ๕๐ ตัน ทดสอบอย่างน้อย ๖ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๕๐ ตันขึ้นไป ทดสอบอย่างน้อย ๓ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง (๒.๒) ประเภทก่อสร้าง การทดสอบครั้งนี้เป็นรอบที่ ๑ ๒ ๓ ๔ อื่นๆ การทดสอบครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดไม่เกิน ๓ ตัน ทดสอบ อย่างน้อย ๖ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๓ ตันขึ้นไป ทดสอบอย่างน้อย ๓ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง **๒. ผู้ทําการทดสอบ ได้ดําเนินการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น** ชื่อสถานประกอบกิจการ เลขทะเบียนนิติบุคคล ประกอบกิจการ ชื่อนายจ้าง/ผู้กระทําการแทน สถานประกอบกิจการตั้งอยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตําบล เขต/อําเภอ จังหวัด โทรศัพท์ สถานประกอบกิจการมีปั้นจั่น จํานวน เครื่อง ปั้นจั่นเครื่องที่ทดสอบ เป็นเครื่องที่ ทําการทดสอบเมื่อวันที่ ขณะทดสอบปั้นจั่นใช้งานอยู่ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้บังคับปั้นจั่น (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ยึดเกาะวัสดุ (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม **๓. ข้อมูลของผู้ผลิต ผู้สร้าง หรือผู้คํานวณออกแบบปั้นจั่น** โดย : ชื่อผู้ผลิต/ผู้สร้าง ชื่อวิศวกรผู้คํานวณออกแบบ (กรณีไม่ได้มาจากผู้ผลิต) เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ยี่ห้อ ประเทศ ปีที่ผลิต หมายเลขเครื่อง รุ่น ขนาดเครื่องต้นกําลัง กิโลวัตต์/แรงม้า มาตรฐาน (ถ้ามี) ผู้นําเข้า/ผู้จําหน่าย (ถ้ามี) ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร **๔. ข้อมูลของผู้ดําเนินการทดสอบประกอบด้วย** ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) หรือนิติบุคคล (ชื่อ) หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน/เลขทะเบียนนิติบุคคล เลขที่ ที่อยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตําบล เขต/อําเภอ จังหวัด โทรศัพท์/โทรสาร E-mail ผู้ทําการทดสอบมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ (๑) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ และใบสําคัญ (ตามมาตรา ๙) เลขที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต (๒) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประเภทนิติบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน หมดอายุวันที่ และใบอนุญาต (ตามมาตรา ๑๑) เลขที่ หมดอายุวันที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยมีบุคลากรที่ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร และไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต เป็นผู้ทําการทดสอบชื่อ เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน **๕. กรณีทดสอบปั้นจั่นชนิดอยู่กับที่ ได้ดําเนินการทดสอบตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดและตามรายการ ดังนี้** ๑) แบบปั้นจั่น ปั้นจั่นหอสูง (Tower Crane) ปั้นจั่นเหนือศีรษะ (Overhead Crane) ปั้นจั่นขาสูง (Gantry Crane) อื่นๆ (ระบุ) ๒) ขนาดพิกัดการยก ๒.๑) ขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัย (Safe Working Load) ผู้ผลิตกําหนด วิศวกรกําหนด๑ ปั้นจั่นขาสูง ตัน ปั้นจั่นเหนือศีรษะ ตัน อื่นๆ (ระบุ) ตัน ๒.๒) ตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) ผู้ผลิตกําหนด วิศวกรกําหนด๑ สําหรับกรณีปั้นจั่นหอสูงให้แนบเอกสารตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) ประกอบด้วย ที่แขนปั้นจั่นไกลสุด ตัน และที่แขนปั้นจั่นใกล้สุด ตัน ที่มุมองศามากสุด ตัน และที่มุมองศาน้อยสุด ตัน อื่นๆ ตัน ๓) รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคู่มือการใช้งานในการประกอบ การติดตั้ง การทดสอบ การใช้ การซ่อมแซม การบํารุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่นหรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น มี โดยผู้ผลิตกําหนด มี โดยวิศวกรกําหนด ไม่มี เหตุผล ๔) การดัดแปลงแก้ไขส่วนหนึ่งส่วนใดของปั้นจั่น๒ มี (ระบุ) ไม่มี ๕) โครงสร้างปั้นจั่น ๕.๑) สภาพโครงสร้างหลักของปั้นจั่น๓ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๕.๒) สภาพรอยเชื่อมต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๕.๓) สภาพของนอต สลักเกลียวยึด และหมุดย้ํา เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๖) การติดตั้งปั้นจั่นบนฐานที่มั่นคง๔ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๗) การติดตั้งน้ําหนักถ่วง (Counterweight) ที่มั่นคง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘) ระบบต้นกําลัง ๘.๑) สภาพและความพร้อมของเครื่องยนต์ ๘.๑.๑) ระบบหล่อลื่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๑.๒) ระบบเชื้อเพลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๑.๓) ระบบระบายความร้อน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๑.๔) การติดตั้งมั่นคงแข็งแรง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๑.๕) ที่ครอบปิดหรือฉนวนหุ้มท่อไอเสีย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๒) มอเตอร์และระบบควบคุมไฟฟ้า ๘.๒.๑) สภาพมอเตอร์ไฟฟ้า เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๒.๒) การติดตั้งมั่นคงแข็งแรง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๒.๓) สภาพแผงหรือสวิตซ์ไฟฟ้า รีเลย์ และอุปกรณ์อื่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๓) ระบบส่งกําลัง ระบบตัดต่อกําลัง และระบบเบรก ๘.๓.๑) สภาพของเพลา ข้อต่อเพลา เฟือง โซ่ และสายพาน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๓.๒) ระบบคลัตช์ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๓.๓) ระบบเบรก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๙) ครอบปิดหรือกั้น (Guard) ส่วนที่หมุน ส่วนที่เคลื่อนไหวได้ หรือส่วนที่อาจเป็นอันตราย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๐) ระบบควบคุมการทํางานของปั้นจั่น๕ ๑๐.๑) สภาพของแผงควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๐.๒) สภาพกลไกที่ใช้ควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๑) ระบบไฮดรอลิก (Hydraulic) และระบบลม (Pneumatic) ๑๑.๑) สภาพของท่อน้ํามันและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๑.๒) สภาพของท่อลมและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๒) สวิตซ์หยุดการทํางานของปั้นจั่นได้โดยอัตโนมัติ (Limit Switches)๖ ๑๒.๑) การทํางานของตะขอชุดยก (Upper Limit Switches) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๒.๒) การทํางานของชุดรางเลื่อน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๒.๓) มุมแขนปั้นจั่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๓) การเคลื่อนที่บนรางหรือแขนของปั้นจั่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๔) การทํางานของชุดควบคุมพิกัดน้ําหนักยก (Overload Limit Switches) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕) ม้วนลวดสลิง (Rope Drum) รอก และตะขอ ๑๕.๑) สภาพม้วนลวดสลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๒) มีลวดสลิงเหลืออยู่ในม้วนลวดสลิงตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทํางานอย่างน้อย ๒ รอบ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๓) อัตราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกกับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง เว้นแต่อัตราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกหรือล้อใดๆ กับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิงที่พันตามที่ผู้ผลิตกําหนด ๑๕.๓.๑) รอกปลายแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า ๑๘ : ๑ หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกําหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๓.๒) รอกของตะขอไม่น้อยกว่า ๑๖ : ๑ หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกําหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๓.๓) รอกหลังแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า ๑๕ : ๑ หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกําหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔) สภาพตะขอ ๑๕.๔.๑) การบิดตัวของตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๒) การถ่างออกของปากตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ ๕ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๓) การสึกหรอที่ท้องตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ ๑๐ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๔) ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของตะขอแตกหรือร้าว เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๕) ไม่มีการเสียรูปทรงหรือสึกหรอของห่วงตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๖) มีชุดล็อกป้องกันลวดสลิงหลุดจากตะขอ (Safety Latch) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๖) ลวดสลิงเคลื่อนที่ (Running Ropes) ๑๖.๑) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า ๕ (Safety Factor) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี ๑๖.๒) ในหนึ่งช่วงเกลียว (Rope Lay) เส้นลวดขาดน้อยกว่า ๓ เส้น ในเส้นเกลียวเดียวกัน (Strand) หรือน้อยกว่า ๖ เส้น ในหลายเส้นเกลียวรวมกัน หรือตามที่ผู้ผลิตกําหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๗) ลวดสลิงยึดโยง (Standing Ropes) ๑๗.๑) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า ๓.๕ (Safety Factor) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี ๑๗.๒) เส้นลวดขาดตรงข้อต่อน้อยกว่า ๒ เส้น ในหนึ่งช่วงเกลียว หรือตามที่ผู้ผลิตกําหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘) สภาพลวดสลิง ๑๘.๑) ลวดเส้นนอกสึกไปน้อยกว่าหนึ่งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๒) ไม่มีการขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๓) เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงไม่เกินร้อยละ ๕ ของเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระบุ (Nominal Diameter) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๔) ไม่ถูกความร้อนทําลายหรือเป็นสนิมมากจนเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๕) ไม่ถูกกัดกร่อนชํารุดมากจนเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๙) อุปกรณ์ป้องกันการชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองข้างของราง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๐) กรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างขึ้นไปทํางานบนปั้นจั่นหรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่นที่มีความสูงเกิน ๒ เมตร ต้องมีบันไดพร้อมราวจับและโครงโลหะกันตก หรือจัดให้มีอุปกรณ์อื่นใดที่มีความเหมาะสม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๑) การจัดทําพื้นชนิดกันลื่นราวกันตก และแผงกันตกระดับพื้น (ชนิดที่ต้องจัดทําพื้นและทางเดิน) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๒) สัญญาณเสียงและแสงไฟเตือนตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทํางานโดยติดตั้งไว้ให้เห็นและได้ยินชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๓) มีป้ายบอกพิกัดน้ําหนักยกไว้ที่ปั้นจั่น และรอกของตะขอ (Hook Block) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๔) ตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยกสิ่งของ (Load Chart) ติดไว้ในบริเวณที่ผู้บังคับปั้นจั่นเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๕) รูปภาพหรือคู่มือการใช้สัญญาณมือในการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ติดไว้ที่จุดหรือตําแหน่งที่ลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๖) เครื่องดับเพลิงพร้อมใช้งานได้ที่ห้องบังคับปั้นจั่น หรือตําแหน่งที่สามารถใช้งานได้สะดวก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๗) อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ๗ น้ําหนักที่ใช้ทดสอบการยก ระบุ น้ําหนัก ตัน เครื่องมือวัด ระบุ วิธีการตรวจสอบแนวเชื่อม ระบุ อื่นๆ ระบุ ๒๘) การทดสอบการรับน้ําหนักของปั้นจั่นในครั้งนี้เป็นการทดสอบในกรณี (น้ําหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้การทดสอบด้วยน้ําหนักจริงหรือทดสอบด้วยน้ําหนักจําลอง (Load simulation)) ๒๘.๑) ปั้นจั่นใหม่ (หลังการติดตั้งแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน) ผลการทดสอบการรับน้ําหนัก ของพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัย (Safe Working Load) ก) ขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดไม่เกิน ๒๐ ตัน ให้ทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑ – ๑.๒๕ เท่า ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ข) ขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๒๐ ตัน แต่ไม่เกิน ๕๐ ตัน ให้ทดสอบการรับน้ําหนักเพิ่มอีก ๕ ตัน จากพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ค) ขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๕๐ ตัน ขึ้นไป ให้ทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑.๑ เท่า ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ง) ขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยสูงสุดตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดสําหรับปั้นจั่นหอสูง ให้ทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑ เท่า ของพิกัดน้ําหนักยกสูงสุดและต่ําสุดตามตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) แต่ต้องไม่เกินขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัย (Safety Working Load) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ๒๘.๒) ปั้นจั่นที่ใช้งานแล้ว ๒๘.๒.๑) ผลการทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑.๒๕ เท่าของน้ําหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด๘ โดยไม่เกินขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัย (Safe Working Load) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ตามวาระทุก เดือน/ปี ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการติดตั้งเสร็จ (กรณีย้ายที่ตั้งใหม่) ผ่าน ไม่ผ่าน หยุดการใช้งานตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการซ่อมแซมที่มีผลต่อความปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ผ่าน ไม่ผ่าน ๒๘.๒.๒) กรณีปั้นจั่นหอสูง ผลการทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑ - ๑.๒๕ เท่า ของน้ําหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด๘ แต่ต้องไม่เกินตามตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ตามวาระทุก เดือน/ปี ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการติดตั้งเสร็จ (กรณีย้ายที่ตั้งใหม่) ผ่าน ไม่ผ่าน หยุดการใช้งานตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการซ่อมแซมที่มีผลต่อความปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ผ่าน ไม่ผ่าน หรือการเพิ่มหรือลดความสูง ๒๙) น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ๒๙.๑) น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน (ไม่เกินขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัย) ๒๙.๒) กรณีปั้นจั่นหอสูงพิกัดน้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน (ต้องไม่เกินตามตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart)) - น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ - น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ - น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ - น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ ๓๐) กรณีมีรายการทดสอบเพิ่มเติมตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด (สามารถแนบเอกสารเพิ่มเติม) รายการเพิ่มเติมกรณีตรวจสอบ ทดสอบ หรือแก้ไข ปรับแต่ง สิ่งชํารุดบกพร่อง | | | --- | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | หมายเหตุ ๑. กรณีข้อใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่น ไม่ต้องดําเนินการทําเครื่องหมายหรือลงรายละเอียดในหัวข้อดังกล่าว ๒. การตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่นต้องมีภาพถ่ายของวิศวกรขณะทดสอบ สําเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และสําเนาผู้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ หรือผู้ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ แล้วแต่กรณี พร้อมทั้งเก็บไว้เป็นหลักฐานให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ คําชี้แจงรายการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์สําหรับปั้นจั่น ๑ วิศวกรต้องคํานวณหาขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยของปั้นจั่นแต่ละชนิด ๒ วิศวกรต้องคํานวณทางวิศวกรรมพร้อมกับการทดสอบกรณีมีการดัดแปลงส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่มีผลต่อการรับน้ําหนักหรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก ๓ โครงสร้างหลักหมายถึง ชิ้นส่วนที่รับน้ําหนัก หรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก เช่น คาน เสา เพลา ล้อ รางเลื่อน แขนต่อ ข้อต่อทุกจุด สลักเกลียวยึด และแนวเชื่อม เป็นต้น ๔ ต้องมีเอกสารการรับรองการติดตั้งปั้นจั่นบนฐานที่มั่นคงโดยผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาโยธา ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ๕ ให้มีการทดสอบความแม่นยําที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่อไปนี้ ทิศทาง ระยะ ความเร็ว รัศมี มุมยก ๖ Limit switch ที่ใช้ทําการยกขึ้นสูงสุด-ลดลงต่ําสุด, ชุดรางเลื่อนซ้ายสุด-ขวาสุด, ชุดรางเลื่อนหน้าสุด-หลังสุด กรณีปั้นจั่นหอสูงแขนเลื่อนไกลสุด-ใกล้สุด, มุมกวาดซ้ายสุด-ขวาสุด ๗ น้ําหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้การทดสอบด้วยน้ําหนักจริง หรือทดสอบด้วยน้ําหนักจําลอง เช่น Load cell หรือ Dynamometer เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้วัดขนาดและเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง สลักเกลียว ตะขอและอื่นๆ เช่น เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ หรือเครื่องมืออื่นที่มีความละเอียดในการวัดไม่น้อยกว่า ๐.๑ มิลลิเมตร การตรวจสอบแนวเชื่อมโดยใช้ดุลยพินิจของวิศวกรผู้ทดสอบ เช่น การตรวจสอบด้วยสายตา การใช้สารแทรกซึมผงแม่เหล็ก (Magnetic Particle Inspection) คลื่นเสียง รังสี เป็นต้น ตามสภาพและความจําเป็นของชิ้นงานอื่นๆ ให้วิศวกรผู้ทดสอบระบุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ๘ กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแล้วให้ทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑.๒๕ เท่า ของน้ําหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด โดยไม่เกินพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ เช่น ตัวอย่างที่ ๑ ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ๑๐ ตัน ใช้งานจริงสูงสุด ๖ ตัน จะต้องทดสอบที่ ๖ x ๑.๒๕ จะเท่ากับ ๗.๕ ตัน ต้องทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๗.๕ ตัน ตัวอย่างที่ ๒ ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ๑๐ ตัน ใช้งานจริงสูงสุด ๙ ตัน จะต้องทดสอบที่ ๙ x ๑.๒๕ จะเท่ากับ ๑๑.๒๕ ตัน แต่เนื่องจากเกินกว่าน้ําหนักที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ดังนั้น ต้องทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑๐ ตัน เรียบร้อย หมายถึง มี ถูกต้อง ครบถ้วน ใช้การได้จริง ไม่เรียบร้อย หมายถึง ไม่มี ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ใช้การไม่ได้ หรือไม่พร้อมใช้งาน หมายเหตุ วิศวกรผู้ลงนามจะต้องกรอกข้อมูลรายละเอียดไว้ในแบบให้เรียบร้อยและครบถ้วนที่สุด ด้วยความถูกต้องเที่ยงตรง โดยความรับผิดชอบในความปลอดภัยของส่วนรวมตามจรรยาบรรณและมารยาทอันดีในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ข้าพเจ้าขอรับรองว่าในการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยในการใช้ปั้นจั่นครั้งนี้ วิศวกรได้ดําเนินการตรวจสอบและทดสอบปั้นจั่น ตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด และนายจ้างได้ดําเนินการซ่อมแซม แก้ไข และปรับปรุง กรณีพบข้อบกพร่องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด ตามหลักวิชาการทางวิศวกรรม และตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือที่ผู้ผลิตกําหนดหรือวิศวกรกําหนด เป็นที่เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว จึงลงลายมือชื่อร่วมกันไว้เป็นหลักฐานสําคัญ ดังนี้ ตามข้อ ๔ (๑) ลงชื่อ วันที่ ( ) วิศวกรซึ่งได้รับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ เป็นผู้ทดสอบ ตามข้อ ๔ (๒) ลงชื่อ วันที่ ประทับตรานิติบุคคล (ถ้ามี) ( ) นิติบุคคลซึ่งได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑ /หรือผู้กระทําการแทน และลงชื่อ วันที่ ( ) บุคลากรของนิติบุคคลตามข้อ ๔ (๒) ซึ่งเป็นวิศวกร และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เป็นผู้ทดสอบ ลงชื่อ วันที่ ประทับตรานิติบุคคล (ถ้ามี) ( ) นายจ้างของสถานประกอบกิจการ/ผู้กระทําการแทน หมายเหตุ การรับรองตามแบบการทดสอบปั้นจั่นนี้ เป็นการลงลายมือชื่อสําหรับการตรวจสอบและทดสอบ ของวิศวกรเท่านั้น แต่ไม่ได้เป็นการตรวจรับรองงานตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร **แบบการทดสอบการติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ ปั้นจั่นที่มีการหยุดใช้งาน** แบบ ปจ. ๒ **และส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่** **๑. การทดสอบกรณี** (๑) การทดสอบตามข้อ ๕๗ ปั้นจั่นที่มีการติดตั้งแล้วเสร็จ กรณีปั้นจั่นใหม่หลังการติดตั้งแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแต่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง หรือการเพิ่มหรือลดความสูง ปั้นจั่นหยุดการใช้งานตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป ก่อนนํามาใช้งานใหม่ ปั้นจั่นที่ใช้สําหรับประเภทการทํางาน ประเภทอุตสาหกรรม ตั้งแต่ ๑ ตันขึ้นไป ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ขนาด ตัน ประเภทก่อสร้าง ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ขนาด ตัน ประเภทอื่นๆ ระบุ ตั้งแต่ ๑ ตันขึ้นไป ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ขนาด ตัน (๒) การทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นตามข้อ ๕๘ (๒.๑) ประเภท อุตสาหกรรม อื่นๆ ระบุ การทดสอบครั้งนี้เป็นรอบที่ ๑ ๒ ๓ ๔ อื่นๆ การทดสอบครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดตั้งแต่ ๑ ตัน แต่ไม่เกิน ๓ ตัน ทดสอบอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๓ ตัน แต่ไม่เกิน ๕๐ ตัน ทดสอบอย่างน้อย ๖ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๕๐ ตันขึ้นไป ทดสอบอย่างน้อย ๓ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง (๒.๒) ประเภทก่อสร้าง การทดสอบครั้งนี้เป็นรอบที่ ๑ ๒ ๓ ๔ อื่นๆ การทดสอบครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดไม่เกิน ๓ ตัน ทดสอบ อย่างน้อย ๖ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง ขนาดพิกัดน้ําหนักยกปลอดภัยตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดมากกว่า ๓ ตันขึ้นไป ทดสอบอย่างน้อย ๓ เดือน ต่อ ๑ ครั้ง **๒. ผู้ทําการทดสอบ ได้ดําเนินการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น** ชื่อสถานประกอบกิจการ เลขทะเบียนนิติบุคคล ประกอบกิจการ ชื่อนายจ้าง/ผู้กระทําการแทน สถานประกอบกิจการตั้งอยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตําบล เขต/อําเภอ จังหวัด โทรศัพท์ สถานประกอบกิจการมีปั้นจั่นจํานวน เครื่อง ปั้นจั่นเครื่องที่ทดสอบ เป็นเครื่องที่ ทําการทดสอบเมื่อวันที่ ขณะทดสอบปั้นจั่นใช้งานอยู่ที่ ชื่อ-สกุล ของผู้บังคับปั้นจั่น (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ยึดเกาะวัสดุ (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม ชื่อ-สกุล ของผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น (๑) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๒) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม (๓) ผ่านการอบรม (มีหลักฐานแสดง) ไม่ผ่านการอบรม **๓. ข้อมูลของผู้ผลิต ผู้สร้าง หรือผู้คํานวณออกแบบปั้นจั่น** โดย : ชื่อผู้ผลิต/ผู้สร้าง ชื่อวิศวกรผู้คํานวณออกแบบ (กรณีไม่ได้มาจากผู้ผลิต) เลขที่ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ยี่ห้อ เลขทะเบียนยานพาหนะ (จากหน่วยงานของรัฐ) ประเทศ ปีที่ผลิต หมายเลขเครื่อง รุ่น ขนาดเครื่องต้นกําลัง กิโลวัตต์/แรงม้า มาตรฐาน (ถ้ามี) ผู้นําเข้า/ผู้จําหน่าย (ถ้ามี) ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร **๔. ข้อมูลพื้นฐานของผู้ดําเนินการทดสอบประกอบด้วย** ข้าพเจ้า (นาย/นาง/นางสาว) หรือนิติบุคคล (ชื่อ) หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน/เลขทะเบียนนิติบุคคล เลขที่ ที่อยู่เลขที่ ซอย ถนน แขวง/ตําบล เขต/อําเภอ จังหวัด โทรศัพท์/โทรสาร E-mail ผู้ทําการทดสอบต้องมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ (๑) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ และใบสําคัญ (ตามมาตรา ๙) เลขที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต (๒) ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประเภทนิติบุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เลขทะเบียน หมดอายุวันที่ และใบอนุญาต (ตามมาตรา ๑๑) เลขที่ หมดอายุวันที่ ซึ่งไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยมีบุคลากรที่ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร และไม่ได้อยู่ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือถูกเพิกถอนใบอนุญาต เป็นผู้ทําการทดสอบชื่อ เลขทะเบียน ระดับ หมดอายุวันที่ หมายเลขบัตรประจําตัวประชาชน **๕. กรณีทดสอบปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ ได้ดําเนินการทดสอบตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งาน ที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนดและตามรายการ ดังนี้** ๑) แบบปั้นจั่น รถปั้นจั่นไฮดรอลิกล้อยาง รถปั้นจั่นล้อตีนตะขาบ เรือปั้นจั่น อื่นๆ (ระบุ) ๒) ตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) ผู้ผลิตกําหนด วิศวกรกําหนด๑ ให้แนบเอกสารตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) ประกอบด้วย ที่แขนปั้นจั่นไกลสุด ตัน และที่แขนปั้นจั่นใกล้สุด ตัน ที่มุมองศามากสุด ตัน และที่มุมองศาน้อยสุด ตัน อื่นๆ ตัน ๓) รายละเอียดคุณลักษณะ (Specification) และคู่มือการใช้งานในการประกอบ การติดตั้ง การทดสอบ การใช้ การซ่อมแซม การบํารุงรักษา การตรวจสอบ การรื้อถอนปั้นจั่นหรืออุปกรณ์อื่นของปั้นจั่น มี โดยผู้ผลิตกําหนด มี โดยวิศวกรกําหนด ไม่มี เหตุผล ๔) การดัดแปลงแก้ไขส่วนหนึ่งส่วนใดของปั้นจั่น๒ มี (ระบุ) ไม่มี ๕) โครงสร้างปั้นจั่น ๕.๑) สภาพโครงสร้างหลักของปั้นจั่น๓ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๕.๒) สภาพรอยเชื่อมต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๕.๓) สภาพของนอต สลักเกลียวยึด และหมุดย้ํา เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๖) การยึดปั้นจั่นไว้กับรถ เรือ แพ โป๊ะ หรือพาหนะลอยน้ําอื่นที่มั่นคง๔ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๗) การติดตั้งน้ําหนักถ่วง (Counterweight) ที่มั่นคง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘) ระบบต้นกําลัง ๘.๑) สภาพและความพร้อมของเครื่องยนต์ ๘.๑.๑) ระบบหล่อลื่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๑.๒) ระบบเชื้อเพลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๑.๓) ระบบระบายความร้อน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๑.๔) การติดตั้งมั่นคงแข็งแรง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๒) ระบบส่งกําลัง ระบบตัดต่อกําลัง และระบบเบรก ๘.๒.๑) สภาพของเพลา ข้อต่อเพลา เฟือง โซ่ และสายพาน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๒.๒) ระบบคลัตช์ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๘.๒.๓) ระบบเบรก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๙) ครอบปิดหรือกั้น (Guard) ส่วนที่หมุน ส่วนที่เคลื่อนไหวได้ หรือส่วนที่อาจเป็นอันตราย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๐) ที่ครอบปิดหรือฉนวนหุ้มท่อไอเสีย มี/เรียบร้อย ไม่มี/มีแต่ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๑) ระบบควบคุมการทํางานของปั้นจั่น๕ ๑๑.๑) สภาพของแผงควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๑.๒) สภาพกลไกที่ใช้ควบคุม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๒) ระบบไฮดรอลิก (Hydraulic) และระบบลม (Pneumatic) ๑๒.๑) สภาพของท่อน้ํามันและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๒.๒) สภาพของท่อลมและข้อต่อ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๓) สวิตซ์หยุดการทํางานของปั้นจั่นได้โดยอัตโนมัติ (Limit Switches)๖ ๑๓.๑) การทํางานของตะขอชุดยก (Upper Limit Switches) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๓.๒) มุมแขนปั้นจั่น เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๔) การทํางานของชุดควบคุมพิกัดน้ําหนักยก (Overload Limit Switches) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕) ม้วนลวดสลิง (Rope Drum) รอก และตะขอ ๑๕.๑) สภาพม้วนลวดสลิง เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๒) มีลวดสลิงเหลืออยู่ในม้วนลวดสลิงตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทํางานอย่างน้อย ๒ รอบ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๓) อัตราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกกับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง เว้นแต่อัตราส่วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกหรือล้อใดๆ กับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิงที่พันตามที่ผู้ผลิตกําหนด ๑๕.๓.๑) รอกปลายแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า ๑๘ : ๑ หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกําหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๓.๒) รอกของตะขอไม่น้อยกว่า ๑๖ : ๑ หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกําหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๓.๓) รอกหลังแขนปั้นจั่นไม่น้อยกว่า ๑๕ : ๑ หรืออัตราส่วน ที่ผู้ผลิตกําหนด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔) สภาพตะขอ ๑๕.๔.๑) การบิดตัวของตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๒) การถ่างออกของปากตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ ๕ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๓) การสึกหรอที่ท้องตะขอ ต้องน้อยกว่าร้อยละ ๑๐ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๔) ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของตะขอแตกหรือร้าว เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๕) ไม่มีการเสียรูปทรงหรือสึกหรอของห่วงตะขอ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๕.๔.๖) มีชุดล็อกป้องกันลวดสลิงหลุดจากตะขอ (Safety Latch) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๖) ลวดสลิงเคลื่อนที่ (Running Ropes) ๑๖.๑) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า ๕ (Safety Factor) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี ๑๖.๒) ในหนึ่งช่วงเกลียว (Rope Lay) เส้นลวดขาดน้อยกว่า ๓ เส้น ในเส้นเกลียวเดียวกัน (Strand) หรือน้อยกว่า ๖ เส้น ในหลายเส้นเกลียวรวมกัน หรือตามที่ผู้ผลิตกําหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๗) ลวดสลิงยึดโยง (Standing Ropes) ๑๗.๑) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าความปลอดภัยต้องไม่น้อยกว่า ๓.๕ (Safety Factor) เท่ากับ อายุการใช้งาน เดือน/ปี ๑๗.๒) เส้นลวดขาดตรงข้อต่อน้อยกว่า ๒ เส้น ในหนึ่งช่วงเกลียว หรือตามที่ผู้ผลิตกําหนด (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘) สภาพลวดสลิง ๑๘.๑) ลวดเส้นนอกสึกไปน้อยกว่าหนึ่งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๒) ไม่มีการขมวด ถูกกระแทก แตกเกลียวหรือชํารุด เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๓) เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงไม่เกินร้อยละ ๕ ของเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระบุ (Nominal Diameter) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๔) ไม่ถูกความร้อนทําลายหรือเป็นสนิมมากจนเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๘.๕) ไม่ถูกกัดกร่อนชํารุดมากจนเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๑๙) สัญญาณเสียงและแสงไฟเตือนตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทํางานโดยติดตั้งไว้ให้เห็นและได้ยินชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๐) มีป้ายบอกพิกัดน้ําหนักยกไว้ที่ปั้นจั่น และรอกของตะขอ (Hook Block) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๑) ตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยกสิ่งของ (Load Chart) ติดไว้ในบริเวณที่ผู้บังคับปั้นจั่นเห็นได้ชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๒) รูปภาพหรือคู่มือการใช้สัญญาณมือในการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ติดไว้ที่จุดหรือตําแหน่งที่ลูกจ้างผู้ปฏิบัติงานเห็นชัดเจน เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๓) เครื่องดับเพลิงพร้อมใช้งานได้ที่ห้องบังคับปั้นจั่น หรือตําแหน่งที่สามารถใช้งานได้สะดวก เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๔) ระบบความปลอดภัย๗ ๒๔.๑) Anti-two block devices เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๔.๒) Boom backstop devices เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๔.๓) Swing radius warning devices เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๔.๔) Boom Angle indicator เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๔.๕) อื่นๆ (ระบุ) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๕) ขายันพื้น (Outriggers)๘ เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๖) ระบบวัดความเสถียร (ระดับน้ํา หรือมาตรวัดระดับความเอียง) เรียบร้อย ไม่เรียบร้อย (ระบุ) ๒๗) อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ๙ น้ําหนักที่ใช้ทดสอบการยก ระบุ น้ําหนัก ตัน เครื่องมือวัด ระบุ วิธีการตรวจสอบแนวเชื่อม ระบุ อื่นๆ ระบุ ๒๘) การทดสอบการรับน้ําหนักของปั้นจั่นในครั้งนี้เป็นการทดสอบในกรณี (น้ําหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้การทดสอบด้วยน้ําหนักจริงหรือทดสอบด้วยน้ําหนักจําลอง (Load simulation)) ๒๘.๑) ปั้นจั่นใหม่ (หลังการติดตั้งแล้วเสร็จ ก่อนการใช้งาน) ผลการทดสอบการรับน้ําหนัก ๑ เท่า ของพิกัดน้ําหนักยกสูงสุดและต่ําสุดตามรางตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) แต่ต้องไม่เกินตามขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัย (Safety Working Load) ที่ผู้ผลิตกําหนด ผ่าน ไม่ผ่าน (ระบุ) ๒๘.๒) ปั้นจั่นที่ใช้งานแล้ว ผลการทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑ - ๑.๒๕ เท่า ของน้ําหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด๑๐ แต่ต้องไม่เกินตามตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart) ตามที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด ตามวาระทุก เดือน/ปี ผ่าน ไม่ผ่าน หยุดการใช้งานตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการซ่อมแซมที่มีผลต่อความปลอดภัย ผ่าน ไม่ผ่าน หลังการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ผ่าน ไม่ผ่าน ๒๙) น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน (ต้องไม่เกินตามตารางแสดงพิกัดน้ําหนักยก (Load chart)) ๒๙.๑) น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ ๒๙.๒) น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ ๒๙.๓) น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ ๒๙.๔) น้ําหนักยกที่อนุญาตให้ใช้งาน ตัน ที่ระยะ ๓๐) กรณีมีรายการทดสอบเพิ่มเติมตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด (สามารถแนบเอกสารเพิ่มเติม) รายการเพิ่มเติมกรณีตรวจสอบ ทดสอบ หรือแก้ไข ปรับแต่ง สิ่งชํารุดบกพร่อง | | | --- | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | หมายเหตุ ๑. กรณีข้อใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่น ไม่ต้องดําเนินการทําเครื่องหมายหรือลงรายละเอียดในหัวข้อดังกล่าว ๒. การตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยของปั้นจั่นต้องมีภาพถ่ายของวิศวกรขณะทดสอบ สําเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และสําเนาผู้ขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ หรือผู้ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ แล้วแต่กรณี พร้อมทั้งเก็บไว้เป็นหลักฐานให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ คําชี้แจงรายการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์สําหรับปั้นจั่น ๑ วิศวกรต้องคํานวณหาขนาดพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยของปั้นจั่นแต่ละชนิด ๒ วิศวกรต้องคํานวณทางวิศวกรรมพร้อมกับการทดสอบกรณีมีการดัดแปลงส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่มีผลต่อการรับน้ําหนักหรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก ๓ โครงสร้างหลักหมายถึง ชิ้นส่วนที่รับน้ําหนัก หรือรับแรงของปั้นจั่นขณะยก เช่น คาน เสา เพลา ล้อ รางเลื่อน แขนต่อ ข้อต่อทุกจุด สลักเกลียวยึด และแนวเชื่อม เป็นต้น ๔ ต้องมีเอกสารการรับรองการติดตั้งปั้นจั่นบนรถ เรือ แพ โป๊ะหรือพาหนะลอยน้ําอย่างอื่นโดยผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ๕ ให้มีการทดสอบความแม่นยําที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่อไปนี้ ทิศทาง ระยะ ความเร็ว รัศมี มุมยก ๖ Limit switch ที่ใช้ทําการยกขึ้นสูงสุด-ลดลงต่ําสุด, ชุดเลื่อนซ้ายสุด-ขวาสุด, ชุดเลื่อนหน้าสุด-หลังสุด, มุมกวาดซ้ายสุด-ขวาสุด ๗ ระบบความปลอดภัย Anti-two block devices หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันการใช้ตัวยกพร้อมกัน Boom backstop devices หมายถึง อุปกรณ์ป้องกันแขนยกทํามุมชันเกินพิกัด Swing radius warning devices หมายถึง อุปกรณ์เตือนการใช้มุมกวาดของแขนยกเกินพิกัด Boom Angle indicator หมายถึง อุปกรณ์แสดงมุมของแขนยก ๘ Outriggers หมายความรวมถึง แขนหรือขายึดทั้งชนิดรูปตัว H และตัว A ขายัน สลักยึด แผ่นรอง และระบบไฮดรอลิค ๙ น้ําหนักที่ใช้ทดสอบการยกอาจใช้การทดสอบด้วยน้ําหนักจริง หรือทดสอบด้วยน้ําหนักจําลอง เช่น Load cell หรือ Dynamometer เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้วัดขนาดและเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิง สลักเกลียว ตะขอและอื่นๆ เช่น เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ หรือเครื่องมืออื่นที่มีความละเอียดในการวัดไม่น้อยกว่า ๐.๑ มิลลิเมตร การตรวจสอบแนวเชื่อมโดยใช้ดุลยพินิจของวิศวกรผู้ทดสอบ เช่น การตรวจสอบด้วยสายตา การใช้สารแทรกซึมผงแม่เหล็ก (Magnetic Particle Inspection) คลื่นเสียง รังสี เป็นต้น ตามสภาพและความจําเป็นของชิ้นงานอื่นๆ ให้วิศวกรผู้ทดสอบระบุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบนอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ๑๐ กรณีปั้นจั่นที่ใช้งานแล้วให้ทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑.๒๕ เท่า ของน้ําหนักที่ใช้งานจริงสูงสุด โดยไม่เกินพิกัดน้ําหนักยกอย่างปลอดภัยที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ เช่น ตัวอย่างที่ ๑ ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ๑๐ ตัน ใช้งานจริงสูงสุด ๖ ตัน จะต้องทดสอบที่ ๖ x ๑.๒๕ จะเท่ากับ ๗.๕ ตัน ต้องทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๗.๕ ตัน ตัวอย่างที่ ๒ ปั้นจั่นที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ๑๐ ตัน ใช้งานจริงสูงสุด ๙ ตัน จะต้องทดสอบที่ ๙ x ๑.๒๕ จะเท่ากับ ๑๑.๒๕ ตัน แต่เนื่องจากเกินกว่าน้ําหนักที่ผู้ผลิตออกแบบไว้ ดังนั้น ต้องทดสอบการรับน้ําหนักที่ ๑๐ ตัน เรียบร้อย หมายถึง มี ถูกต้อง ครบถ้วน ใช้การได้จริง ไม่เรียบร้อย หมายถึง ไม่มี ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ใช้การไม่ได้ หรือไม่พร้อมใช้งาน หมายเหตุ วิศวกรผู้ลงนามจะต้องกรอกข้อมูลรายละเอียดไว้ในแบบให้เรียบร้อยและครบถ้วนที่สุด ด้วยความถูกต้องเที่ยงตรง โดยความรับผิดชอบในความปลอดภัยของส่วนรวมตามจรรยาบรรณและมารยาทอันดีในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ข้าพเจ้าขอรับรองว่าในการตรวจสอบและทดสอบความปลอดภัยในการใช้ปั้นจั่นครั้งนี้ วิศวกรได้ดําเนินการตรวจสอบและทดสอบปั้นจั่น ตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตหรือวิศวกรกําหนด และนายจ้างได้ดําเนินการซ่อมแซม แก้ไข และปรับปรุง กรณีพบข้อบกพร่องให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด ตามหลักวิชาการทางวิศวกรรม และตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือที่ผู้ผลิตกําหนดหรือวิศวกรกําหนด เป็นที่เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว จึงลงลายมือชื่อร่วมกันไว้เป็นหลักฐานสําคัญ ดังนี้ ตามข้อ ๔ (๑) ลงชื่อ วันที่ ( ) วิศวกรซึ่งได้รับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ เป็นผู้ทดสอบ ตามข้อ ๔ (๒) ลงชื่อ วันที่ ประทับตรานิติบุคคล (ถ้ามี) ( ) นิติบุคคลซึ่งได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑ /หรือผู้กระทําการแทน และลงชื่อ วันที่ ( ) บุคลากรของนิติบุคคลตามข้อ ๒ (๒) ซึ่งเป็นวิศวกร และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เป็นผู้ทดสอบ ลงชื่อ วันที่ ประทับตรานิติบุคคล (ถ้ามี) ( ) นายจ้างของสถานประกอบกิจการ/ผู้กระทําการแทน
10,303
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 793) เรื่อง กำหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 793) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษา ตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2508 และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจึงประกาศ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (48) ของข้อ 3 ของประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วยภาษีเงินได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 2) เรื่อง กําหนดองค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล และสถานศึกษาตามมาตรา 47 (7) (ข) แห่งประมวลรัษฎากร และมาตรา 3 (4) (ข) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 254) พ.ศ. 2535 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(48) มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2565 สันติ พร้อมพัฒน์ (นายสันติ พร้อมพัฒน์) รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ ปฏิบัติราชการแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
10,304
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับอากรแสตมป์ (ฉบับที่ 66) เรื่อง กำหนดวิธีการชำระอากรเป็นตัวเงินสำหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับอากรแสตมป์ (ฉบับที่ 66) เรื่อง กําหนดวิธีการชําระอากรเป็นตัวเงินสําหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 103 (3) แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2496 และมาตรา 123 ทวิ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2497 อธิบดีกรมสรรพากรโดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กําหนดวิธีการชําระอากรเป็นตัวเงินสําหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ตราสารอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ตราสารแห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ ท้ายหมวด 6 ในลักษณะ 2 แห่งประมวลรัษฎากร ที่จัดทําข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ “ผู้ให้บริการ” หมายความว่า ผู้ให้บริการจัดทําและยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแทนผู้มีหน้าที่เสียอากรตามประกาศกรมสรรพากร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเป็นผู้ให้บริการ สําหรับการจัดทําและยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแทนผู้มีหน้าที่เสียอากรตามประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562 “รหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์” หมายความว่า รหัสที่กรมสรรพากรออกให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียอากร เมื่อกรมสรรพากรได้รับชําระเงินค่าอากรแล้ว เพื่อใช้ในการตรวจสอบรายการข้อมูลสําคัญเกี่ยวกับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่ยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ข้อ ๒ ให้ตราสารอิเล็กทรอนิกส์ดังต่อไปนี้ ต้องชําระอากรเป็นตัวเงินตามมาตรา 103 (3) แห่งประมวลรัษฎากร 1. เช่าที่ดิน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือแพ ตามลักษณะแห่งตราสาร 1. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 2. โอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ พันธบัตร และใบรับรองหนี้ ซึ่งบริษัท สมาคม คณะบุคคล หรือองค์การใด ๆ เป็นผู้ออก ตามลักษณะแห่งตราสาร 2. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 3. เช่าซื้อทรัพย์สิน ตามลักษณะแห่งตราสาร 3. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 4. จ้างทําของ ตามลักษณะแห่งตราสาร 4. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 5. กู้ยืมเงินหรือการตกลงให้เบิกเงินเกินบัญชีจากธนาคาร ตามลักษณะแห่งตราสาร 5.แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 6. กรมธรรม์ประกันภัย ตามลักษณะแห่งตราสาร 6. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 7. ใบมอบอํานาจ ตามลักษณะแห่งตราสาร 7. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 8. ใบมอบฉันทะสําหรับให้ลงมติในที่ประชุมของบริษัท ตามลักษณะแห่งตราสาร 8. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 9. ตั๋วแลกเงินหรือตราสารทํานองเดียวกับที่ใช้อย่างตั๋วแลกเงิน และตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือตราสารทํานองเดียวกับที่ใช้อย่างตั๋วสัญญาใช้เงิน ตามลักษณะแห่งตราสาร 9. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 10. บิลออฟเลดิง ตามลักษณะแห่งตราสาร 10. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 11. ใบหุ้นหรือใบหุ้นกู้ หรือใบรับรองหนี้ ของบริษัท สมาคม คณะบุคคล หรือองค์การใด ๆและพันธบัตรของรัฐบาลใด ๆ ที่ขายในประเทศไทย ตามลักษณะแห่งตราสาร 11. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 12. เช็ค หรือหนังสือคําสั่งใด ๆ ซึ่งใช้แทนเช็ค ตามลักษณะแห่งตราสาร 12. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 13. ใบรับฝากเงินประเภทประจําของธนาคารโดยมีดอกเบี้ย ตามลักษณะแห่งตราสาร 13. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 14. เลตเตอร์ออฟเครดิต ตามลักษณะแห่งตราสาร 14. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 15. เช็คสําหรับผู้เดินทาง ตามลักษณะแห่งตราสาร 15. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 16. ใบรับของ ตามลักษณะแห่งตราสาร 16. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 17. ค้ําประกัน ตามลักษณะแห่งตราสาร 17. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 18. จํานํา ตามลักษณะแห่งตราสาร 18. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 19. ใบรับของคลังสินค้า ตามลักษณะแห่งตราสาร 19. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 20. คําสั่งให้ส่งมอบของ ตามลักษณะแห่งตราสาร 20. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 21. ตัวแทน ตามลักษณะแห่งตราสาร 21. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 22. หนังสือสัญญาห้างหุ้นส่วน ตามลักษณะแห่งตราสาร 27. แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ 23. ใบรับสําหรับการขาย ขายฝาก ให้ เช่าซื้อ หรือโอนกรรมสิทธิ์ยานพาหนะ ทั้งนี้ เฉพาะยานพาหนะซึ่งมีการจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยยานพาหนะนั้น ๆ ตามลักษณะแห่งตราสาร 28. (ค) แห่งบัญชีอัตราอากรแสตมป์ ข้อ ๓ ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินสําหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ตามข้อ 2ตามแบบขอเสียอากรแสตมป์เป็นตัวเงินสําหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ (อ.ส.9) ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังต่อไปนี้ (1) ทางเว็บไซต์ของกรมสรรพากร โดยใช้ชื่อผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password)ที่ได้รับจากการลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบการยื่นแบบแสดงรายการภาษีทางเว็บไซต์ของกรมสรรพากร (2) ทาง Application Programming Interface ของกรมสรรพากร (ก) กรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียอากรยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาง Application Programming Interface ของกรมสรรพากรด้วยตนเอง ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรแจ้งต่ออธิบดีกรมสรรพากรตามแบบแจ้งขอจัดทําและยื่นรายการข้อมูลการเสียภาษีอากรผ่าน Application Programming Interface (API) (ภ.อ.01.2) พร้อมข้อตกลงในการจัดทําและยื่นรายการข้อมูลการเสียภาษีอากรผ่าน Application Programming Interface ณ กองบริหารการเสียภาษีทางอิเล็กทรอนิกส์ กรมสรรพากร เมื่อได้รับชื่อผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) จากกรมสรรพากรแล้ว ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาง Application Programming Interface ของกรมสรรพากร โดยใช้ชื่อผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ดังกล่าว (ข) กรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียอากรแต่งตั้งผู้ให้บริการเป็นตัวแทนยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาง Application Programming Interface ของกรมสรรพากร ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรพิสูจน์และยืนยันตัวตนต่อผู้ให้บริการตามวิธีการที่ผู้ให้บริการกําหนด ข้อ ๔ การยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตามข้อ 3 ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและชําระเงินค่าอากร ก่อนกระทําตราสาร หรือภายในสิบห้าวัน นับแต่วันถัดจากวันกระทําตราสาร โดยไม่เว้นวันหยุดราชการ กรณีวันสุดท้ายของการยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินเป็นวันหยุดราชการ ให้ยื่นได้ภายในวันที่เริ่มทําการใหม่ต่อจากวันหยุดราชการนั้น ในกรณีผู้มีหน้าที่เสียอากรยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินเพิ่มเติม หรือยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินเกินกําหนดเวลา ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรชําระเงินเพิ่มอากร หรือค่าปรับอาญา (ถ้ามี) พร้อมกับการยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินเพิ่มเติมหรือการยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินเกินกําหนดเวลานั้น แล้วแต่กรณี ข้อ ๕ เมื่อผู้มีหน้าที่เสียอากรได้ยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแล้ว ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรชําระเงินค่าอากร หรือเงินเพิ่มอากร หรือค่าปรับอาญา (ถ้ามี) โดยใช้วิธีการโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมสรรพากรผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Payment) ข้อ ๖ ให้ผู้อํานวยการกองบริหารการคลังและรายได้ กรมสรรพากร เป็น “เจ้าหน้าที่รับชําระเงินภาษีอากร” เพื่อรับชําระเงินภาษีอากร เงินเพิ่มอากร และค่าปรับอาญา ข้อ ๗ เมื่อผู้มีหน้าที่เสียอากรได้ยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยได้โอนเงินค่าอากร หรือเงินเพิ่มอากร หรือค่าปรับอาญา (ถ้ามี) เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมสรรพากร และกรมสรรพากรได้ออกรหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์พร้อมใบเสร็จรับเงินตามจํานวนเงินซึ่ง “เจ้าหน้าที่รับชําระเงินภาษีอากร” ได้ลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรแล้ว ให้ถือว่าตราสารอิเล็กทรอนิกส์ตามรายการข้อมูลในแบบขอเสียอากรแสตมป์เป็นตัวเงินสําหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ (อ.ส.9) ได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์แล้ว ข้อ ๘ ผู้มีหน้าที่เสียอากรรับรหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์และใบเสร็จรับเงินจากกรมสรรพากรได้ โดยวิธีการดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียอากรยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามข้อ 3 (1) ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรดาวน์โหลด (Download) ผ่านระบบการยื่นแบบแสดงรายการภาษีทางเว็บไซต์ ของกรมสรรพากร (2) กรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียอากรยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงินผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตามข้อ 3 (2) ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรขอรับผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาง Application Programming Interface ของกรมสรรพากร ข้อ ๙ ให้ผู้มีหน้าที่เสียอากรนํารหัสรับรองการเสียอากรแสตมป์ไปใช้อ้างอิงหรือผนวกกับตราสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแสดงว่าตราสารอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์ตามข้อ 7 แล้ว ข้อ ๑๐ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ทั้งนี้ สําหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ตามข้อ 2 ที่ได้จัดทําขึ้นตั้งแต่ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2566 ผู้มีหน้าที่เสียอากรจะเลือกยื่นขอเสียอากรเป็นตัวเงิน และชําระอากร ณ สํานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาโดยใช้แบบขอเสียอากรแสตมป์เป็นตัวเงินก็ได้และเมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ออกใบรับเงินและหลักฐานตามมาตรา 116 แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ให้ถือว่าตราสารอิเล็กทรอนิกส์นั้น ได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์แล้ว ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ลวรณ แสงสนิท (นายลวรณ แสงสนิท) อธิบดีกรมสรรพากร
10,305
คำสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 15/2562 เรื่อง กำหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง
คําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๕/๒๕๖๒ เรื่อง กําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง โดยที่มีการจัดตั้งกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงตามพระราชบัญญัติกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๖๒ สมควรปรับปรุงคําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ ๔/๒๕๔๗ เรื่อง กําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง ลงวันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและไม่ซ้ําซ้อนกับพระราชบัญญัติดังกล่าว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓ แห่งพระราชกําหนดแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๑๖ นายกรัฐมนตรีจึงมีคําสั่งให้ปรับปรุงมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (๑) คําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ ๔/๒๕๔๗ เรื่อง กําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง ลงวันที่ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ (๒) คําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ ๙/๒๕๔๙ เรื่อง กําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง ลงวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ (๓) คําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ ๑/๒๕๕๓ เรื่อง กําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง ลงวันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (๔) คําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ ๔/๒๕๕๔ เรื่อง กําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง ลงวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (๕) คําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ ๑/๒๕๕๕ เรื่อง กําหนดมาตรการเพื่อแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ข้อ ๒ ในคําสั่งนี้ “น้ํามันเชื้อเพลิง” หมายความว่า น้ํามันเบนซิน น้ํามันดีเซล น้ํามันเตา น้ํามันเชื้อเพลิง สําหรับเครื่องบิน น้ํามันที่คล้ายกันหรือน้ํามันสําหรับเครื่องยนต์ที่คล้ายกัน น้ํามันดิบสังเคราะห์ที่ใช้หรืออาจใช้เป็นวัตถุดิบในการกลั่นหรือผลิตให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ดังกล่าวข้างต้น และให้หมายความรวมถึงก๊าซ ก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์ เชื้อเพลิงชีวภาพ หรือน้ํามันเชื้อเพลิงอื่นใดตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “ก๊าซ” หมายความว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่ใช้เป็นก๊าซหุงต้มหรือก๊าซปิโตรเลียมที่ประกอบด้วย โพรเพน โพรพิลีน นอร์แมลบิวเทน ไอโซบิวเทน หรือบิวทิลีน อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างผสมกันเป็นส่วนใหญ่ “ก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์” หมายความว่า ก๊าซปิโตรเลียม ซึ่งประกอบด้วยมีเทนเป็นส่วนใหญ่ เพื่อนํามาใช้เป็นเชื้อเพลิงสําหรับยานพาหนะ โดยมีลักษณะและคุณภาพตามประกาศกรมธุรกิจพลังงานที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยการค้าน้ํามันเชื้อเพลิง “เชื้อเพลิงชีวภาพ” หมายความว่า เอทานอล ไบโอดีเซล หรือเชื้อเพลิงอื่นใดที่ผลิตได้หรือมีส่วนผสมที่มาจากชีวภาพหรือชีวมวลเพื่อทดแทนหรือลดการใช้เชื้อเพลิงที่ผลิตจากฟอสซิลตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “โรงกลั่น” หมายความว่า โรงกลั่นน้ํามันเชื้อเพลิง สถานที่ผลิตและจําหน่ายน้ํามันเชื้อเพลิง ภายในราชอาณาจักร และให้หมายความรวมถึง (๑) โรงแยกก๊าซในราชอาณาจักรที่ผลิตและจําหน่ายก๊าซเพื่อใช้ในราชอาณาจักรและโรงอุตสาหกรรมเคมีปิโตรเลียมและสารละลาย (๒) จุดจําหน่ายของสถานีบริการก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์ในราชอาณาจักร “ราคาขายส่งหน้าโรงกลั่น” หมายความว่า ราคาขายส่งหน้าโรงกลั่นที่จําหน่ายให้แก่ผู้ค้าน้ํามัน “ค่าการตลาด” หมายความว่า ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ซึ่งรวมผลตอบแทนในการดําเนินธุรกิจของเจ้าของสถานีบริการซึ่งรับน้ํามันเชื้อเพลิงจากผู้ค้าน้ํามัน และของผู้ค้าน้ํามันซึ่งรับน้ํามันเชื้อเพลิงจากผู้ผลิตและจําหน่ายน้ํามันเชื้อเพลิงจากโรงกลั่นเพื่อใช้ในราชอาณาจักร หรือจากผู้นําเข้าน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในราชอาณาจักร แล้วแต่กรณี “ราคาขายปลีก” หมายความว่า ราคาขายส่งหน้าโรงกลั่นรวมกับค่าการตลาดที่กําหนดโดยประกาศของคณะกรรมการ “ผู้ค้าน้ํามัน” หมายความว่า ผู้กระทําการค้าน้ํามันเชื้อเพลิงโดยซื้อ สั่งนําเข้า หรือได้มาด้วยประการอื่นใดเพื่อจําหน่าย ซึ่งมีปริมาณการค้าน้ํามันเชื้อเพลิงแต่ละชนิดหรือรวมกันทุกชนิดปีละตั้งแต่สองหมื่นเมตริกตันขึ้นไป “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ข้อ ๓ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่และอํานาจ ดังต่อไปนี้ (๑) กําหนดหลักเกณฑ์การคํานวณราคาและกําหนดราคา สําหรับน้ํามันเชื้อเพลิงที่ผลิตและจําหน่าย ณ โรงกลั่นเพื่อใช้ในราชอาณาจักร หรือน้ํามันเชื้อเพลิงที่นําเข้าเพื่อใช้ในราชอาณาจักร (๒) กําหนดหลักเกณฑ์การคํานวณและค่าการตลาด สําหรับการซื้อขายน้ํามันเชื้อเพลิง (๓) กําหนดหลักเกณฑ์การคํานวณและอัตรา สําหรับค่าขนส่งน้ํามันเชื้อเพลิง หรือค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาน้ํามันเชื้อเพลิง (๔) กําหนดหลักเกณฑ์การคํานวณราคาและกําหนดราคา สําหรับราคาขายส่งหน้าโรงกลั่นหรือราคาขายปลีก (๕) กําหนดให้โรงกลั่นแจ้งราคาขายส่งหน้าโรงกลั่นต่อคณะกรรมการ (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามคําสั่งนี้ (๗) ปฏิบัติหน้าที่ตามที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ข้อ ๔ ให้ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานมีอํานาจลงนามในประกาศคณะกรรมการ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ตามหน้าที่และอํานาจในข้อ ๓ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ของคําสั่งนี้ ข้อ ๕ บรรดาระเบียบและประกาศที่ออกตามคําสั่งนายกรัฐมนตรีที่ถูกยกเลิกตามข้อ ๑ ของคําสั่งนี้ ให้นํามาใช้บังคับโดยอนุโลมเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับคําสั่งนี้จนกว่าจะมีระเบียบหรือประกาศที่ออกตามคําสั่งนี้ใช้บังคับ ข้อ ๖ ในกรณีที่มีปัญหาในการตีความเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคําสั่งนี้ ให้ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องนําเสนอคณะกรรมการพิจารณาวินิจฉัยและให้คําวินิจฉัยดังกล่าวเป็นที่สุด ข้อ ๗ คําสั่งนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม สั่ง ณ วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
10,306
พระราชกำหนดแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2516
พระราชกําหนด แก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๑๖ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นปีที่ ๒๘ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกได้ทวีสูงขึ้นเป็นลําดับ และน้ํามันดิบที่จะหาซื้อได้มีปริมาณลดน้อยลง ซึ่งจะมีผลให้ราคาน้ํามันเชื้อเพลิงภายในประเทศสูงตามไปด้วย และจะก่อให้เกิดภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิงขึ้นในประเทศไทย ฉะนั้น เพื่อรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของประเทศและความผาสุกของประชาชน จําเป็นต้องดําเนินการแก้ไขและป้องกันภาวการณ์ดังกล่าวให้ทันต่อเหตุการณ์ ในการนี้นายกรัฐมนตรีจําต้องมีอํานาจในการกําหนดมาตรการต่าง ๆ ได้โดยฉับพลันไม่จําต้องให้กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ แยกปฏิบัติการตามกฎหมายที่มีอยู่ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕ แห่งธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๕๑๕ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกําหนดขึ้นไว้ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชกําหนดนี้เรียกว่า “พระราชกําหนดแก้ไขและป้องกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๑๖” มาตรา ๒ พระราชกําหนดนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ เพื่อประโยชน์ในการแก้ไขและป้องกันการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง นายกรัฐมนตรีมีอํานาจออกคําสั่งเพื่อกําหนดมาตรการเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ (๑) การผลิต การจําหน่าย การขนส่ง การมีไว้ในครอบครอง การสํารองและการส่งออกนอกราชอาณาจักรและการนําเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งน้ํามันเชื้อเพลิงทุกชนิด (๒) การผลิตหรือการจําหน่ายพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานอื่น (๓) การใช้น้ํามันเชื้อเพลิง พลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานอื่น หรือการดําเนินกิจการที่ต้องใช้น้ํามันเชื้อเพลิง พลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานอื่น เช่น (ก) กําหนดวันเวลาและเงื่อนไขการดําเนินกิจการโรงงาน (ข) กําหนดวันเวลาในการเปิดและปิดและเงื่อนไขในการดําเนินกิจการของโรงมหรสพ โรงภาพยนตร์ สถานบริการ ภัตตาคาร หรือสถานบันเทิงอื่น ๆ (ค) กําหนดวันเวลาและเงื่อนไขในการใช้ยานพาหนะ ไม่ว่าจะเป็นยานพาหนะที่ใช้ในกิจการสาธารณะหรือยานพาหนะส่วนบุคคล (ง) การใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคาร ในการโฆษณาและในสถานที่อื่นๆ (๔) การปันส่วนน้ํามันเชื้อเพลิงทุกชนิด ในการปฏิบัติการตามวรรคหนึ่ง ให้นายกรัฐมนตรีมีอํานาจมอบหมายให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดหรือคณะกรรมการซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้นปฏิบัติการแทนได้ โดยจะกําหนดเงื่อนไขอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ คําสั่งของนายกรัฐมนตรี หรือผู้ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายซึ่งได้สั่งการตามวรรคหนึ่งในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลทั่วไป และคําสั่งมอบหมายของนายกรัฐมนตรีตามวรรคสอง ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๔ เมื่อนายกรัฐมนตรีได้สั่งการอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา ๓ แล้ว ให้แจ้งให้คณะรัฐมนตรีทราบ และเมื่อได้มีการปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามพระราชกําหนดนี้ ให้นายกรัฐมนตรีแจ้งให้คณะรัฐมนตรีทราบเป็นระยะ ๆ มาตรา ๕ ให้นายกรัฐมนตรีหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีมีอํานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตามพระราชกําหนดนี้ มาตรา ๖ ให้บุคคลและกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๓ วรรคสอง และพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๕ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ ให้บุคคลตามมาตรา ๖ มีอํานาจเข้าไปในสถานที่ใด ๆ หรือสั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดให้ข้อเท็จจริงหรือส่งเอกสารใด ๆ ได้ มาตรา ๘ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของนายกรัฐมนตรี หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีซึ่งสั่งตามมาตรา ๓ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสิบปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๙ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งที่สั่งตามมาตรา ๗ หรือขัดขวางหรือไม่ให้ความสะดวกแก่ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติการตามอํานาจหน้าที่ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๐ (ยกเลิก) มาตรา ๑๑ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกําหนดนี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ สัญญา ธรรมศักดิ์ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกําหนดฉบับนี้ คือ โดยที่ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกได้ทวีสูงขึ้นเป็นลําดับ และน้ํามันดิบที่จะหาซื้อได้มีปริมาณลดน้อยลง ซึ่งจะมีผลให้ราคาน้ํามันเชื้อเพลิงภายในประเทศสูงตามไปด้วย และจะก่อให้เกิดภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิงขึ้นในประเทศไทย ฉะนั้น เพื่อรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของประเทศและความผาสุกของประชาชน จําเป็นต้องดําเนินการแก้ไขและป้องกันภาวการณ์ดังกล่าวให้ทันต่อเหตุการณ์ ในการนี้นายกรัฐมนตรีจําต้องมีอํานาจในการกําหนดมาตรการต่าง ๆ ได้โดยฉับพลัน ไม่จําต้องให้กระทรวงทบวง กรมต่างๆ แยกปฏิบัติการตามกฎหมายที่มีอยู่ จึงจําเป็นต้องตราพระราชกําหนดนี้ขึ้น
10,307
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน พ.ศ. 2562
กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน พ.ศ. ๒๕๖๒ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘ ฉ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๒ ให้สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน มีภารกิจในการเสนอแนะการกําหนดนโยบายและแผนเกี่ยวกับพลังงานของประเทศ รวมทั้งมาตรการทางด้านพลังงาน เพื่อให้ประเทศมีพลังงานใช้อย่างมั่นคง ยั่งยืน เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับสถานการณ์ของประเทศ โดยให้มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาการพลังงานของประเทศ (๒) เสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนเพื่อจัดทํากรอบการจัดสรรงบประมาณเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (๓) กําหนดมาตรการแก้ไขป้องกันการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง (๔) ประสาน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนการบริหารและ พัฒนาการพลังงานของประเทศ รวมทั้งบริหารจัดการกองทุนพลังงาน (๕) บริหารจัดการข้อมูล พยากรณ์แนวโน้มด้านพลังงาน และเป็นศูนย์ข้อมูลกลาง ด้านพลังงานของประเทศ (๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นหน้าที่และอํานาจของสํานักงานหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ข้อ ๓ ให้แบ่งส่วนราชการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ดังต่อไปนี้ (๑) สํานักงานเลขานุการกรม (๒) กองนโยบายปิโตรเลียม (๓) กองนโยบายไฟฟ้า (๔) กองนโยบายอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (๕) กองยุทธศาสตร์และแผนงาน (๖) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ข้อ ๔ ในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ให้มีกลุ่มตรวจสอบภายใน เพื่อทําหน้าที่หลัก ในการตรวจสอบการดําเนินงานภายในสํานักงาน และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงาน รับผิดชอบงานขึ้นตรงต่อผู้อํานวยการ โดยมีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของสํานักงาน (๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๕ ในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ให้มีกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เพื่อทําหน้าที่หลัก ในการพัฒนาการบริหารของสํานักงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุ้มค่า รับผิดชอบงานขึ้นตรงต่อผู้อํานวยการ โดยมีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะและให้คําปรึกษาแก่ผู้อํานวยการเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการภายในสํานักงาน (๒) ติดตาม ประเมินผล และจัดทํารายงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการภายในสํานักงาน (๓) ประสานและดําเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการร่วมกับหน่วยงานกลางต่าง ๆ และหน่วยงานภายในสํานักงานและกระทรวง (๔) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๖ สํานักงานเลขานุการกรม มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) ดําเนินการเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไปของสํานักงาน งานช่วยอํานวยการ และงานเลขานุการของคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง (๒) ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานที่ และยานพาหนะของสํานักงาน (๓) ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การเสริมสร้างวินัย และการรักษาระบบคุณธรรมของสํานักงาน (๔) ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่กิจกรรม ความรู้ ความก้าวหน้า และผลงานของสํานักงาน (๕) ดําเนินการเกี่ยวกับเงินทุนหมุนเวียนและการบริหารจัดการกองทุนในความรับผิดชอบของสํานักงาน รวมทั้งงานเลขานุการกองทุนเงินอุดหนุนจากสัญญาโรงกลั่นปิโตรเลียม (๖) ดําเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง งานนิติกรรมและสัญญา งานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่งและอาญา งานคดีปกครอง และงานคดีอื่นที่อยู่ในหน้าที่และอํานาจของสํานักงาน (๗) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๗ กองนโยบายปิโตรเลียม มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะนโยบายและจัดทําแผนบริหารจัดการด้านปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงชีวภาพ (๒) ประสานความร่วมมือด้านนโยบายและแผนบริหารจัดการด้านปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงชีวภาพ กับหน่วยงาน หรือองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ (๓) ส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันในธุรกิจปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงชีวภาพ (๔) ศึกษา วิเคราะห์ ติดตามสถานการณ์ จัดทําแนวโน้มและโครงสร้างราคาปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงชีวภาพ (๕) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เสนอแนะนโยบายและวางแผนโครงสร้างพื้นฐานด้านปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงชีวภาพ (๖) ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายและแผน รวมทั้งแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการด้านปิโตรเลียม และเชื้อเพลิงชีวภาพ (๗) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๘ กองนโยบายไฟฟ้า มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะนโยบายและแผนการบริหารและจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพลังงานด้านไฟฟ้า (๒) ประสานความร่วมมือด้านนโยบายและแผนพลังงานด้านไฟฟ้ากับหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ (๓) ส่งเสริมบทบาทการประกอบกิจการไฟฟ้าของผู้ประกอบกิจการไฟฟ้าทั้งภาครัฐและเอกชน (๔) ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการใช้ไฟฟ้า รวมทั้งจัดทํารายงานผลการพัฒนาพลังงานด้านไฟฟ้าของประเทศ (๕) ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายและแผน รวมทั้งแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพลังงานด้านไฟฟ้า (๖) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๙ กองนโยบายอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยข้อมูลเพื่อจัดทําและเสนอแนะนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (๒) ประสาน ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (๓) ส่งเสริมการวิจัย พัฒนา นวัตกรรมและความเชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน (๔) ประสานความร่วมมือด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนกับหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ (๕) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๑๐ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) เสนอแนะนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาการพลังงานของประเทศระดับมหภาคให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาประเทศ (๒) ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาการพลังงานของประเทศ รวมทั้งแผนการลงทุนของรัฐวิสาหกิจด้านพลังงาน (๓) จัดทําแผนงาน แนวทางและกลยุทธ์ แผนงบประมาณ และแผนปฏิบัติการ รวมทั้งติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของสํานักงาน (๔) ปฏิบัติงานในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการด้านนโยบายพลังงาน (๕) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล และพัฒนาแนวทางความร่วมมือด้านนโยบายและแผนพลังงานระหว่างภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ทั้งกรอบทวิภาคี พหุภาคี (๖) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ข้อ ๑๑ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีหน้าที่และอํานาจดังต่อไปนี้ (๑) สํารวจ ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทําข้อมูลสารสนเทศพลังงาน รวมทั้งเป็นศูนย์ประสานงานบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศพลังงาน (๒) สํารวจ ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทําประมาณการแนวโน้ม และการพยากรณ์ความต้องการพลังงานของประเทศ (๓) จัดทําและเผยแพร่สถิติข้อมูล และรายงานสถานการณ์พลังงานของประเทศ (๔) จัดทําและบริหารจัดการระบบข้อมูลด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภาคพลังงาน และระบบสารสนเทศของสํานักงาน (๕) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย ผู้มีอํานาจลงนาม ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน หมายเหตุ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการและหน้าที่และอํานาจของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจที่ปรับเปลี่ยนและเหมาะสมกับสภาพของงานที่เปลี่ยนแปลงไป อันจะทําให้การปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่และอํานาจมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
10,308
พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทําหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “พลังงาน” หมายความว่า ความสามารถในการทํางานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และพลังงานสิ้นเปลือง และให้หมายความรวมถึงสิ่งที่อาจให้งานได้ เช่น เชื้อเพลิง ความร้อน และไฟฟ้า เป็นต้น “พลังงานหมุนเวียน” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย ชีวมวล น้ํา แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ลม และคลื่น เป็นต้น “พลังงานสิ้นเปลือง” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากถ่านหิน หินน้ํามัน ทรายน้ํามัน น้ํามันดิบ น้ํามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ และนิวเคลียร์ เป็นต้น “เชื้อเพลิง” หมายความรวมถึง ถ่านหิน หินน้ํามัน ทรายน้ํามัน น้ํามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงสังเคราะห์ ไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย ขยะ และสิ่งอื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นรองประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ และอธิบดีกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน เป็นกรรมการ และให้เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นกรรมการและเลขานุการ มาตรา ๖ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศต่อคณะรัฐมนตรี (๒) กําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดราคาพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๓) ติดตาม ดูแล ประสาน สนับสนุนและเร่งรัดการดําเนินการของคณะกรรมการทั้งหลายที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน เพื่อให้มีการดําเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๔) ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๗ การประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมครั้งใด ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม มาตรา ๘ การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๙ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติอาจแต่งตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมายได้ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ การประชุมของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง หรือของคณะอนุกรรมการตามวรรคสอง ให้นํามาตรา ๗ และมาตรา ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๐ ให้มีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษาและวิเคราะห์นโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (๒) ติดตาม ประเมินผล และเป็นศูนย์ประสานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๓) เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ด้านพลังงานวิเคราะห์แนวโน้มและประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเพื่อจัดทําข้อเสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ และเผยแพร่สถิติที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน (๔) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่นายกรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมาย มาตรา ๑๑ ในการปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติตามมาตรา ๑๐ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติอาจขอให้กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลใด ๆ เสนอรายละเอียดทางวิชาการ การเงิน สถิติ และเรื่องต่าง ๆ ที่จําเป็นที่เกี่ยวข้องกับนโยบายแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศได้ มาตรา ๑๒ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติหรือสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติอาจเชิญบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คําอธิบาย ความเห็น หรือคําแนะนําได้ตามที่เห็นสมควร มาตรา ๑๓ ให้มีเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมีอํานาจหน้าที่ควบคุมและดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ รับผิดชอบขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างในสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ให้มีรองเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ และจะให้มีผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการด้วยก็ได้ ให้เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ รองเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ และผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ มาตรา ๑๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การกําหนดนโยบายและการบริหารพลังงานของประเทศกระจัดกระจายอยู่ตามส่วนราชการต่าง ๆ ทําให้การบริหารและพัฒนาพลังงานไม่มีเอกภาพและไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง สมควรให้มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเพื่อทําหน้าที่ในการพิจารณาเสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานรวมทั้งกํากับดูแล ประสานงานและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านพลังงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานในด้านนโยบายและการบริหารพลังงานของประเทศมีเอกภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยให้มีสํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนราชการระดับกรมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมาย จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,309
พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทําหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “พลังงาน” หมายความว่า ความสามารถในการทํางานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และพลังงานสิ้นเปลือง และให้หมายความรวมถึงสิ่งที่อาจให้งานได้ เช่น เชื้อเพลิง ความร้อน และไฟฟ้า เป็นต้น “พลังงานหมุนเวียน” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย ชีวมวล น้ํา แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ลม และคลื่น เป็นต้น “พลังงานสิ้นเปลือง” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากถ่านหิน หินน้ํามัน ทรายน้ํามัน น้ํามันดิบ น้ํามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ และนิวเคลียร์ เป็นต้น “เชื้อเพลิง” หมายความรวมถึง ถ่านหิน หินน้ํามัน ทรายน้ํามัน น้ํามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงสังเคราะห์ ไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย ขยะ และสิ่งอื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นรองประธานกรรมการ รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงพลังงาน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ เป็นกรรมการ ให้ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานเป็นกรรมการและเลขานุการ มาตรา ๖ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศต่อคณะรัฐมนตรี (๒) กําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดราคาพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๓) ติดตาม ดูแล ประสาน สนับสนุนและเร่งรัดการดําเนินการของคณะกรรมการทั้งหลายที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน เพื่อให้มีการดําเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๔) ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๗ การประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมครั้งใด ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม มาตรา ๘ การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๙ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติอาจแต่งตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมายได้ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ การประชุมของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง หรือของคณะอนุกรรมการตามวรรคสอง ให้นํามาตรา ๗ และมาตรา ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๐ ให้มีสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน\* มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษาและวิเคราะห์นโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (๒) ติดตาม ประเมินผล และเป็นศูนย์ประสานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๓) เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ด้านพลังงานวิเคราะห์แนวโน้มและประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเพื่อจัดทําข้อเสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ และเผยแพร่สถิติที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน (๔) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่นายกรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมาย มาตรา ๑๑ ในการปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน\*ตามมาตรา ๑๐ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน\*อาจขอให้กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลใด ๆ เสนอรายละเอียดทางวิชาการ การเงิน สถิติ และเรื่องต่าง ๆ ที่จําเป็นที่เกี่ยวข้องกับนโยบายแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศได้ มาตรา ๑๒ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติหรือสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน\*อาจเชิญบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คําอธิบาย ความเห็น หรือคําแนะนําได้ตามที่เห็นสมควร มาตรา ๑๓ ให้ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานมีอํานาจหน้าที่ควบคุมและดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน โดยมีรองผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ มาตรา ๑๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้มีอํานาจลงนาม ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การกําหนดนโยบายและการบริหารพลังงานของประเทศกระจัดกระจายอยู่ตามส่วนราชการต่าง ๆ ทําให้การบริหารและพัฒนาพลังงานไม่มีเอกภาพและไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง สมควรให้มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเพื่อทําหน้าที่ในการพิจารณาเสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานรวมทั้งกํากับดูแล ประสานงานและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านพลังงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานในด้านนโยบายและการบริหารพลังงานของประเทศมีเอกภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยให้มีสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน\*ซึ่งเป็นส่วนราชการระดับกรมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมาย จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔๑ ในพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้แก้ไขคําว่า “สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” คําว่า “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน” คําว่า “อธิบดีกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน” เป็น “อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน” คําว่า “เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” คําว่า “รองเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “รองผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” และคําว่า “ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “ผู้ช่วยผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้จัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่โดยมีภารกิจใหม่ ซึ่งได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้นแล้ว และเนื่องจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติให้โอนอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐมนตรีผู้ดํารงตําแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มีการแก้ไขบทบัญญัติต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอํานาจหน้าที่ที่โอนไปด้วย ฉะนั้น เพื่ออนุวัติให้เป็นไปตามหลักการที่ปรากฏในพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงสมควรแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความชัดเจนในการใช้กฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอนอํานาจหน้าที่ว่าตามกฎหมายใดได้มีการโอนภารกิจของส่วนราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายนั้นไปเป็นของหน่วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดํารงตําแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการให้ตรงกับการโอนอํานาจหน้าที่ และเพิ่มผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจที่มีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่รวมทั้งตัดส่วนราชการเดิมที่มีการยุบเลิกแล้ว ซึ่งเป็นการแก้ไขให้ตรงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่องค์ประกอบของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ยังขาดหน่วยงานหลักบางหน่วยงานที่จะมีส่วนช่วยในการเสนอแนะแนวทางการกําหนดนโยบายและผลักดันนโยบายไปสู่การปฏิบัตินอกจากนี้ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ กําหนดให้โอนสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน มาสังกัดกระทรวงพลังงาน โดยมิได้ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ดังนั้น จึงสมควรปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติและแก้ไขเพิ่มเติมสายงานบังคับบัญชาของผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน และยกเลิกตําแหน่งผู้ช่วยผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,310
พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นปีที่ ๔๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทําหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “พลังงาน” หมายความว่า ความสามารถในการทํางานซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้งานได้ ได้แก่ พลังงานหมุนเวียน และพลังงานสิ้นเปลือง และให้หมายความรวมถึงสิ่งที่อาจให้งานได้ เช่น เชื้อเพลิง ความร้อน และไฟฟ้า เป็นต้น “พลังงานหมุนเวียน” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย ชีวมวล น้ํา แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ ลม และคลื่น เป็นต้น “พลังงานสิ้นเปลือง” หมายความรวมถึง พลังงานที่ได้จากถ่านหิน หินน้ํามัน ทรายน้ํามัน น้ํามันดิบ น้ํามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ และนิวเคลียร์ เป็นต้น “เชื้อเพลิง” หมายความรวมถึง ถ่านหิน หินน้ํามัน ทรายน้ํามัน น้ํามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงสังเคราะห์ ไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย ขยะ และสิ่งอื่นตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นรองประธานกรรมการ รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงพลังงาน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และผู้อํานวยการสํานักงบประมาณ เป็นกรรมการ ให้ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานเป็นกรรมการและเลขานุการ มาตรา ๕/๑ กรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ต้อง (๑) ไม่เป็นผู้ถือหุ้นหรือรู้เห็นเป็นใจหรือยินยอมให้คู่สมรสของตนถือหุ้นในนิติบุคคลที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิต การส่ง หรือจําหน่ายพลังงานสิ้นเปลือง หรือไฟฟ้า หรือ (๒) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งใดในนิติบุคคลที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิต การส่งหรือจําหน่ายพลังงานสิ้นเปลืองหรือไฟฟ้า เว้นแต่เป็นกรณีที่กรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาตินั้นเป็นข้าราชการประจําซึ่งได้รับมอบหมายจากทางราชการ หรือคณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจนั้นมอบหมายให้ดํารงตําแหน่งกรรมการหรือดํารงตําแหน่งอื่นในรัฐวิสาหกิจที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานนั้นหรือในนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจนั้นเป็นผู้ถือหุ้น ให้ผู้ซึ่งเข้ามาเป็นกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติดําเนินการเพื่อให้เป็นไปตามวรรคหนึ่งภายในหกสิบวันนับแต่วันที่เข้ามาดํารงตําแหน่ง มาตรา ๖ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) เสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศต่อคณะรัฐมนตรี (๒) กําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการกําหนดราคาพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๓) ติดตาม ดูแล ประสาน สนับสนุนและเร่งรัดการดําเนินการของคณะกรรมการทั้งหลายที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน เพื่อให้มีการดําเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๔) ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๗ การประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมครั้งใด ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม มาตรา ๘ การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๙ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติอาจแต่งตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมายได้ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งอาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ การประชุมของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง หรือของคณะอนุกรรมการตามวรรคสอง ให้นํามาตรา ๗ และมาตรา ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๑๐ ให้มีสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษาและวิเคราะห์นโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (๒) ติดตาม ประเมินผล และเป็นศูนย์ประสานและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ (๓) เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ด้านพลังงานวิเคราะห์แนวโน้มและประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเพื่อจัดทําข้อเสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศ และเผยแพร่สถิติที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน (๔) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่นายกรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมาย มาตรา ๑๑ ในการปฏิบัติงานตามอํานาจหน้าที่ของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานตามมาตรา ๑๐ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงานอาจขอให้กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลใด ๆ เสนอรายละเอียดทางวิชาการ การเงิน สถิติ และเรื่องต่าง ๆ ที่จําเป็นที่เกี่ยวข้องกับนโยบายแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานของประเทศได้ มาตรา ๑๒ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติหรือสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานอาจเชิญบุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ข้อเท็จจริง คําอธิบาย ความเห็น หรือคําแนะนําได้ตามที่เห็นสมควร มาตรา ๑๓ ให้ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานมีอํานาจหน้าที่ควบคุมและดูแลโดยทั่วไปซึ่งราชการของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างในสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน โดยมีรองผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ มาตรา ๑๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การกําหนดนโยบายและการบริหารพลังงานของประเทศกระจัดกระจายอยู่ตามส่วนราชการต่าง ๆ ทําให้การบริหารและพัฒนาพลังงานไม่มีเอกภาพและไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง สมควรให้มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเพื่อทําหน้าที่ในการพิจารณาเสนอนโยบายและแผนการบริหารและพัฒนาพลังงานรวมทั้งกํากับดูแล ประสานงานและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านพลังงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานในด้านนโยบายและการบริหารพลังงานของประเทศมีเอกภาพและประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยให้มีสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน\*ซึ่งเป็นส่วนราชการระดับกรมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติมอบหมาย จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๔๑ ในพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้แก้ไขคําว่า “สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” คําว่า “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงาน” เป็น “รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน” คําว่า “อธิบดีกรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน” เป็น “อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน” คําว่า “เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “ผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” คําว่า “รองเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “รองผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” และคําว่า “ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ” เป็น “ผู้ช่วยผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน” หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้บัญญัติให้จัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่โดยมีภารกิจใหม่ ซึ่งได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้นแล้ว และเนื่องจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติให้โอนอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ รัฐมนตรีผู้ดํารงตําแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มีการแก้ไขบทบัญญัติต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับอํานาจหน้าที่ที่โอนไปด้วย ฉะนั้น เพื่ออนุวัติให้เป็นไปตามหลักการที่ปรากฏในพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงสมควรแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความชัดเจนในการใช้กฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอนอํานาจหน้าที่ว่าตามกฎหมายใดได้มีการโอนภารกิจของส่วนราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายนั้นไปเป็นของหน่วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดํารงตําแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการให้ตรงกับการโอนอํานาจหน้าที่ และเพิ่มผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจที่มีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่รวมทั้งตัดส่วนราชการเดิมที่มีการยุบเลิกแล้ว ซึ่งเป็นการแก้ไขให้ตรงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่องค์ประกอบของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ยังขาดหน่วยงานหลักบางหน่วยงานที่จะมีส่วนช่วยในการเสนอแนะแนวทางการกําหนดนโยบายและผลักดันนโยบายไปสู่การปฏิบัตินอกจากนี้ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ กําหนดให้โอนสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน มาสังกัดกระทรวงพลังงาน โดยมิได้ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ดังนั้น จึงสมควรปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติและแก้ไขเพิ่มเติมสายงานบังคับบัญชาของผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน และยกเลิกตําแหน่งผู้ช่วยผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔ ให้กรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และมิได้เข้าข้อยกเว้นตามมาตรา ๕/๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ดําเนินการเพื่อให้เป็นไปตามมาตรา ๕/๑ ดังกล่าวภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มิได้มีบทบัญญัติใดที่กําหนดห้ามกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นผู้ถือหุ้นในรัฐวิสาหกิจหรือเป็นผู้ดํารงตําแหน่งใดในนิติบุคคลที่ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงาน ดังนั้น เพื่อให้บุคคลซึ่งมาดํารงตําแหน่งดังกล่าวดําเนินการในลักษณะที่ไม่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ของการดําเนินธุรกิจที่เกี่ยวกับพลังงาน สมควรกําหนดข้อห้ามในลักษณะดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๑๗) พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๒๑ ให้โอนบรรดาอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง และมติคณะรัฐมนตรีของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไปเป็นอํานาจหน้าที่ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีใดที่อ้างถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้ถือว่าอ้างถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้านดิจิทัลได้เข้ามามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคม ฐานความรู้ และขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจต่างมีความต้องการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารด้านดิจิทัลมาใช้ในการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของการให้บริการ แต่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีขอบเขตอํานาจหน้าที่จํากัดเฉพาะเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสื่อสาร ซึ่งไม่ครอบคลุมถึงเรื่องการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเพื่อรองรับการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันที่มีการขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นหลัก ซึ่งจําเป็นต้องมีหน่วยงานภาครัฐทําหน้าที่บูรณาการกลไกต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้มีการดําเนินการไปในทิศทางเดียวกันอันจะเป็นประโยชน์ต่อภาพรวมของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเน้นให้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้าไปมีบทบาทในทุกภาคส่วน ดังนั้น เพื่อให้มีกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่ครอบคลุมถึงเรื่องดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จึงต้องดําเนินการปรับโครงสร้างกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้มีขอบเขตอํานาจหน้าที่มากขึ้น และเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,311
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 4/2543 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดำเนินงาน
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 4/2543 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ----------------------------------- ตามที่คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้กําหนดให้การให้คําปรึกษา ให้ความเห็นและจัดเตรียมเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการออกและการเสนอขายหลักทรัพย์ และที่เกี่ยวกับการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ ต้องมีที่ปรึกษาทางการเงินซึ่งเป็นบุคคลที่อยู่ในบัญชีที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้ความเห็นชอบเป็นผู้ร่วมจัดทําหรือให้ความเห็น นั้น เพื่อประโยชน์ในการดําเนินการให้เป็นไปตามข้อกําหนดดังกล่าว สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จึงกําหนดเกี่ยวกับการให้ความเห็นชอบและขอบเขตการดําเนินงานของที่ปรึกษาทางการเงินไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ให้ยกเลิก (1) ประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 8/2540 ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2540 (2) ประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน (ฉบับที่ 2) ที่ อจ. 11/2541 ลงวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2541 ข้อ ๓ ในประกาศนี้ "ที่ปรึกษาทางการเงิน" หมายความว่า ที่ปรึกษาทางการเงินตามข้อ 4 "ผู้จัดเตรียมคําเสนอซื้อหลักทรัพย์" หมายความว่า ผู้จัดเตรียมคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ให้แก่ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์หรือเพื่อตนเองตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ "ที่ปรึกษาของผู้ถือหุ้น" หมายความว่า ที่ปรึกษาทางการเงินที่กิจการแต่งตั้งขึ้นเพื่อทําหน้าที่เป็นผู้จัดทําความเห็นต่อผู้ถือหุ้นของกิจการตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับแบบรายการและระยะเวลาจัดทําความเห็นเกี่ยวกับคําเสนอซื้อ หรือประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขอผ่อนผันการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจการโดยอาศัยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของกิจการ "ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์" หมายความว่า ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ของกิจการเป็นการทั่วไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ "ผู้ขอผ่อนผัน" หมายความว่า ผู้ขอผ่อนผันให้ได้หุ้นมาโดยไม่ต้องทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจการ "กิจการ" หมายความว่า บริษัทที่มีหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริษัทที่มีหลักทรัพย์ซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ หรือบริษัทมหาชนจํากัด "สถาบันการเงิน" หมายความว่า (1) ธนาคารพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ (2) บริษัทเงินทุนหรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ (3) บริษัทหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึงบริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทจัดการกองทุนรวม หรือ (4) สถาบันการเงินอื่นที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น "ผู้บริหาร" หมายความว่า กรรมการ ผู้จัดการ ผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา และผู้ดํารงตําแหน่งเทียบเท่ากับผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และให้หมายความรวมถึงผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า "ชมรม" หมายความว่า ชมรมวาณิชธนกิจภายใต้การจัดการของสมาคมบริษัทหลักทรัพย์ "บริษัทในกลุ่ม" หมายความว่า (1) บริษัทที่ถือหุ้นในที่ปรึกษาทางการเงินตั้งแต่ร้อยละยี่สิบของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของที่ปรึกษาทางการเงินนั้น (2) บริษัทที่ที่ปรึกษาทางการเงินถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละยี่สิบของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น (3) บริษัทที่มีผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นทั้งในนิติบุคคลดังกล่าว และในที่ปรึกษาทางการเงินตั้งแต่ร้อยละยี่สิบของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทและที่ปรึกษาทางการเงินนั้น "ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกิน" หมายความว่า ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่มีหน้าที่จัดหาหุ้นส่วนเกินเพื่อส่งมอบให้แก่ผู้ได้รับการจัดสรรหรือส่งคืนให้แก่ผู้ให้ยืมตามข้อผูกพันในการจัดสรรหุ้นส่วนเกินตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เกี่ยวกับการให้สิทธิผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ซื้อหุ้นภายหลังการจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน "ผู้ถือหุ้นรายใหญ่" หมายความว่า ผู้ที่ถือหุ้นในบริษัทรวมกันเกินร้อยละสิบของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น โดยการถือหุ้นดังกล่าวให้นับรวมถึงหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย "ผู้ที่เกี่ยวข้อง" หมายความว่า บุคคลหรือห้างหุ้นส่วนตามมาตรา 258(1) ถึง (7)แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยอนุโลม "สํานักงาน" หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หมวดที่ 1 การขอความเห็นชอบ การให้ความเห็นชอบ และการทดสอบ ------------------------- ส่วนที่ 1 การขอความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบ --------------------------- ข้อ ๔ ให้บุคคลที่ประสงค์จะเป็นที่ปรึกษาทางการเงินยื่นขอความเห็นชอบจากสํานักงานตามแบบที่แนบท้ายประกาศนี้ พร้อมทั้งชําระค่าธรรมเนียมการขอความเห็นชอบตามประกาศว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ ผู้ขอความเห็นชอบตามวรรคหนึ่งต้องแสดงความจํานงเพื่อขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินประเภทใดประเภทหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) ที่ปรึกษาทางการเงินประเภทหนึ่ง คือ ที่ปรึกษาทางการเงินที่ทําหน้าที่ได้ทั้งการเป็นที่ปรึกษาทางการเงินเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ และที่ปรึกษาทางการเงินเกี่ยวกับการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ (2) ที่ปรึกษาทางการเงินประเภทสอง คือ ที่ปรึกษาทางการเงินเกี่ยวกับการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ ข้อ ๕ ผู้ขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินประเภทหนึ่งจะได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เป็นสถาบันการเงิน หรือนิติบุคคลอื่นซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการประกอบธุรกิจเป็นที่ปรึกษาทางด้านการเงิน ที่ปรึกษาทางด้านการบัญชี หรือที่ปรึกษาทางด้านกฎหมาย (2) มีสายงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่ชัดเจน โดยในสายงานดังกล่าวต้องมีผู้ปฏิบัติงานเต็มเวลาระดับหัวหน้างานและระดับปฏิบัติการรวมกันไม่น้อยกว่า 6 คน ซึ่งต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) เป็นผู้มีความรู้ไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี และมีผู้มีความรู้ทางด้านการเงินหรือด้านการบัญชีเป็นอย่างดีอย่างน้อยหนึ่งคน (ข) มีความรู้เป็นอย่างดีเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน กฎหมาย กฎเกณฑ์ วิธีปฏิบัติในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน การเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งข้อกําหนดเกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของผู้ลงทุนและหน้าที่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์และผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัดและกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในการพิจารณาลักษณะตามวรรคหนึ่ง (ก) และ (ข) สํานักงานจะนําผลการทดสอบความรู้ของผู้ปฏิบัติงานของผู้ขอความเห็นชอบตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในส่วนที่ 2 ของหมวดนี้ มาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย (3) มีหลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติงานที่รัดกุมและเชื่อถือได้ว่าจะทําให้ผู้ขอความเห็นชอบสามารถควบคุมให้การปฏิบัติงานเป็นที่ปรึกษาทางการเงินเป็นไปตามมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพ และต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (ก) พฤติกรรมซึ่งไม่ว่าจะเกิดจากการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินหรือไม่ที่แสดงถึงการมีเจตนาจัดทํางบการเงิน รายงานการเปิดเผยข้อมูลอื่น หรือรายงานที่ต้องจัดส่งต่อสํานักงานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนในสาระสําคัญ (ข) การขาดความรับผิดชอบหรือขาดจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพเยี่ยงผู้มีวิชาชีพจะพึงกระทําในการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน หรือในการเป็นที่ปรึกษาในลักษณะอื่นใดที่ต้องใช้ความรู้และความรับผิดชอบในทํานองเดียวกับการเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน(ค) มีประวัติถูกเปรียบเทียบหรือเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดในคดีแพ่งหรือคดีอาญาเกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูล หรือเป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ (ง) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษจากหน่วยงานทางการหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินคดีในชั้นศาลในคดีอาญา เกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูลหรือเป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ (4) มีกรรมการ ผู้จัดการ และผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงิน ที่มีความรู้ ความสามารถหรือมีประสบการณ์ในธุรกิจที่จะดําเนินการ มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพที่ปรึกษาทางการเงินเป็นอย่างดี มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความตั้งใจที่จะดําเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจและรับผิดชอบต่อสาธารณชน และไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (ก) มีประวัติเคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออก เนื่องจากการกระทําทุจริต (ข) มีประวัติการทํางานอันส่อไปในทางไม่สุจริต (ค) มีพฤติกรรมที่แสดงให้เห็นว่าขาดความระมัดระวังหรือความซื่อสัตย์สุจริตในเรื่องเกี่ยวกับการจัดตั้ง การจัดการ หรือการเปิดเผยข้อมูลเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นโดยรวม ของบริษัทที่ตนเป็นหรือเคยเป็นผู้บริหาร หรือในการเป็นที่ปรึกษาให้กับบุคคลอื่นอันทําให้บุคคลนั้นมีพฤติกรรมข้างต้นด้วย (ง) มีประวัติถูกเปรียบเทียบหรือเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดในคดีแพ่งหรือคดีอาญาเกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูล หรือเป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ (จ) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษจากหน่วยงานทางการหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินคดี ในชั้นศาลในคดีอาญา เกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูล หรือเป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ (ฉ) เป็นบุคคลที่เป็นเหตุให้ที่ปรึกษาทางการเงินอื่นถูกสํานักงานสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ และที่ปรึกษาทางการเงินอื่นนั้นยังคงอยู่ในระหว่างระยะเวลาที่สํานักงานสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ หรืออยู่ในระหว่างระยะเวลาที่ยังไม่อาจยื่นคําขอความเห็นชอบใหม่ตามประกาศนี้ได้ (5) เป็นผู้ที่มีรายชื่อจดทะเบียนกับชมรมในการประกอบธุรกิจเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ในกรณีที่ผู้ขอความเห็นชอบ กรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงินมีลักษณะไม่เป็นไปตาม (3) หรือ (4) แต่สํานักงานเห็นว่าเหตุที่ทําให้มีลักษณะไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นเรื่องไม่ร้ายแรง หรือได้ดําเนินการแก้ไขเหตุนั้นแล้ว สํานักงานอาจไม่นําเหตุดังกล่าวมาใช้ประกอบการพิจารณาก็ได้ ข้อ ๖ ผู้ขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินประเภทสองจะได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5 เว้นแต่หลักเกณฑ์ในข้อ 5(2)(ข) สํานักงานจะพิจารณาโดยไม่รวมถึงความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย กฎเกณฑ์ วิธีปฏิบัติในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน ข้อ ๗ ในการพิจารณาคําขอความเห็นชอบ สํานักงานอาจแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ขอความเห็นชอบมาชี้แจง หรือส่งเอกสารหลักฐานอื่นเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควรภายในระยะเวลาที่สํานักงานกําหนด ในกรณีที่ผู้ขอความเห็นชอบไม่มาชี้แจง ไม่ส่งเอกสารหลักฐาน หรือจัดส่งเอกสารไม่ถูกต้องครบถ้วนภายในระยะเวลาที่สํานักงานกําหนดตามวรรคหนึ่ง สํานักงานจะถือว่าผู้ขอความเห็นชอบนั้นไม่ประสงค์จะขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการยื่นคําขอความเห็นชอบครั้งนั้นอีกต่อไป ข้อ ๘ สํานักงานจะแจ้งผลการพิจารณาคําขอความเห็นชอบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สํานักงานมีหนังสือแจ้งการได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามที่สํานักงานกําหนด และในกรณีที่สํานักงานไม่ให้ความเห็นชอบ สํานักงานจะแจ้งเหตุผลไปพร้อมกันด้วย ในกรณีที่สํานักงานไม่ให้ความเห็นชอบเนื่องจากผู้ขอความเห็นชอบมีลักษณะไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5(3)(ก) (ข) หรือ (ค) หรือ (4)(ก) (ข) (ค) หรือ (ง) สํานักงานอาจกําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขในการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบของบุคคลรายนั้นในคราวต่อไป โดยคํานึงถึงความร้ายแรงของเหตุที่ทําให้มีลักษณะไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นรายกรณี ทั้งนี้ ในกรณีที่สํานักงานกําหนดระยะเวลาการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบ ระยะเวลาดังกล่าวจะไม่เกินห้าปีนับแต่วันพ้นโทษตามคําพิพากษาถึงที่สุด หรือนับแต่วันที่คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับมีคําสั่งเปรียบเทียบ แล้วแต่กรณี หรือนับแต่วันที่สํานักงานมีหนังสือแจ้งการไม่ให้ความเห็นชอบเนื่องจากเหตุตามข้อ 5(3)(ก) หรือ (ข) หรือ (4)(ก) (ข) หรือ (ค) หรือนับแต่วันที่ผู้ขอความเห็นชอบได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่สํานักงานกําหนดแล้ว เมื่อพ้นกําหนดระยะเวลาหรือเมื่อผู้ขอความเห็นชอบได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในวรรคสองแล้ว หากบุคคลนั้นประสงค์จะยื่นคําขอความเห็นชอบใหม่ สํานักงานจะไม่นําเหตุที่ทําให้สํานักงานไม่ให้ความเห็นชอบในครั้งก่อนมาประกอบการพิจารณาคําขอความเห็นชอบอีก ข้อ ๙ การให้ความเห็นชอบตามประกาศนี้ มีกําหนดระยะเวลาไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่สํานักงานกําหนดไว้ในหนังสือแจ้งการให้ความเห็นชอบ ในกรณีที่บุคคลที่ได้รับความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง ได้ยื่นคําขอความเห็นชอบเพื่อให้สามารถทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินได้อย่างต่อเนื่องต่อสํานักงานล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันสิ้นสุดระยะเวลาการให้ความเห็นชอบ และสํานักงานมีหนังสือแจ้งการได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามที่สํานักงานกําหนดอย่างน้อยสิบห้าวันก่อนวันสิ้นสุดระยะเวลาการให้ความเห็นชอบ หากสํานักงานไม่แจ้งผลการพิจารณาคําขอความเห็นชอบภายในวันสิ้นสุดระยะเวลาการให้ความเห็นชอบ ให้บุคคลนั้นปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินต่อไปได้จนกว่าสํานักงานมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณา ส่วนที่ 2 หลักเกณฑ์การทดสอบความรู้ของผู้ปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงิน -------------------------------------- ข้อ ๑๐ บุคคลใดที่ประสงค์จะยื่นคําขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาการเงินตามข้อ 4 ต้องยื่นคําขอให้มีการทดสอบความรู้ของผู้ปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินของบุคคลดังกล่าว เพื่อนําผลการทดสอบมาประกอบการยื่นคําขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ข้อ ๑๑ ในการทดสอบความรู้ประกอบการยื่นคําขอตามข้อ 10 สํานักงานจะประกาศกําหนดเวลาที่แน่นอนในการจัดการทดสอบภายในวันที่ 15 มกราคมของทุกปี เว้นแต่ในปีที่ประกาศมีผลใช้บังคับ สํานักงานจะประกาศกําหนดเวลาการทดสอบในแต่ละครั้งตามความเหมาะสม ข้อ ๑๒ การทดสอบความรู้ตามส่วนนี้ บุคคลตามข้อ 10 ต้องจัดให้ผู้ปฏิบัติงานเต็มเวลาในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินจํานวนหกคน เข้าทดสอบความรู้โดยผู้ปฏิบัติงานดังกล่าวต้องเป็นผู้ปฏิบัติงานในระดับหัวหน้างาน ในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานในระดับหัวหน้างานมีจํานวนไม่ถึงหกคน จะต้องจัดให้ผู้ปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติการเข้าทดสอบเพื่อให้มีจํานวนผู้ปฏิบัติงานที่เข้าทําการทดสอบครบหกคน หากสํานักงานเห็นว่า มีเหตุผลและความจําเป็น สํานักงานอาจพิจารณาผ่อนผันให้บุคคลตามข้อ 10 จัดให้ผู้ปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติงานทดสอบความรู้แทนผู้ปฏิบัติงานในระดับหัวหน้างานได้ ข้อ ๑๓ การทดสอบความรู้มีหลักเกณฑ์ในการทดสอบ ดังนี้ (1) คําถามที่ใช้ทดสอบจะจัดทําเป็นภาษาไทยและในการทําคําตอบต้องจัดทําเป็นภาษาไทยด้วย (2) กําหนดระยะเวลาที่ใช้ในการทดสอบสามชั่วโมง และอนุญาตให้ผู้เข้าทดสอบสามารถนําประกาศและเอกสารประกอบอื่น ๆ เข้าไประหว่างการทดสอบได้ (3) หัวข้อที่จะทดสอบความรู้ได้แก่(ก) กฎหมาย กฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติของสํานักงาน เกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน และหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงินในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกรณีดังกล่าว(การทดสอบกรณีนี้เฉพาะผู้ขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินประเภทหนึ่ง) (ข) กฎหมาย กฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติของสํานักงาน เกี่ยวกับการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ และหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงินในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกรณีดังกล่าว (ค) ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการรับและเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน และการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทจดทะเบียน และหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงินในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกรณีดังกล่าว (ง) ข้อกําหนดเกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของผู้ลงทุนและหน้าที่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์และผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัดและกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (จ) บัญชี (4) สํานักงานจะพิจารณาว่าผู้ปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินผ่านการทดสอบความรู้ หากปรากฏผลเป็นดังนี้ (ก) คะแนนเฉลี่ยของผู้เข้าทดสอบทั้งหกคน ไม่ต่ํากว่าร้อยละหกสิบของคะแนนเต็ม (ข) คะแนนของผู้เข้าทดสอบแต่ละคนอย่างน้อยสี่คน ไม่ต่ํากว่าร้อยละหกสิบของคะแนนเต็ม หมวด 2 หน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ----------------------------- ข้อ ๑๔ ที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานต้องถือปฏิบัติดังนี้ (1) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และความระมัดระวังในการปฏิบัติงานเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพเช่นนั้นจะพึงกระทํา และรักษาจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน (2) จัดทํากระดาษทําการ (working paper) เพื่อบันทึกและใช้เป็นหลักฐานในการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน และต้องเก็บรักษากระดาษทําการดังกล่าวไว้อย่างน้อยสามปี เพื่อให้สํานักงานสามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ (3) ในกรณีที่ประกาศที่เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์หรือการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ กําหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของที่ปรึกษาทางการเงินไว้เช่นใด ที่ปรึกษาทางการเงินดังกล่าวต้องปฏิบัติตามให้ถูกต้องและครบถ้วนตามที่ประกาศดังกล่าวกําหนดด้วย (4) ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินรายใดไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ หรือกิจการที่ถูกทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ หรือเห็นว่าข้อมูลที่แสดงในเอกสารต่าง ๆ ไม่เป็นไปตามตามที่กําหนดในส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 ของหมวดนี้ ที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้นต้องแจ้งรายละเอียดของการไม่ได้รับความร่วมมือดังกล่าว เป็นหนังสือไปยังสํานักงาน ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินมิได้แจ้งรายละเอียดดังกล่าว และหากข้อมูลที่เกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ ไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน สํานักงานจะถือว่าที่ปรึกษาทางการเงินนั้นปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง ไม่เหมาะสม หรือไม่ครบถ้วน เพราะที่ปรึกษาทางการเงินได้รับรองและร่วมรับผิดชอบกับข้อมูลดังกล่าวแล้ว (5) ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินรายใดไม่มีความเชี่ยวชาญในข้อมูลที่ต้องจัดเตรียมหรือร่วมจัดทําหรือให้ความเห็นในฐานะเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้นอาจนําข้อมูลจากบุคคลอื่นที่มีความเชี่ยวชาญในด้านนั้นมาอ้างอิงได้ ทั้งนี้ ที่ปรึกษาทางการเงินต้องตรวจสอบจนเชื่อได้ว่า ผู้เชี่ยวชาญรายนั้นเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในเรื่องนั้นเป็นอย่างดี (6) หากที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานรายใดไม่สามารถดํารงลักษณะให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 5(3)หรือ (4) หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินได้ตามความในหมวดนี้ ที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้นต้องแจ้งให้สํานักงานทราบ พร้อมแสดงเหตุที่ทําให้ไม่สามารถดํารงลักษณะหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวรวมทั้งมาตรการแก้ไขภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ไม่สามารถดํารงลักษณะหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่นั้นได้ ส่วนที่ 1 ที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ --------------------------------- ข้อ ๑๕ ที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) ร่วมกับผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์จัดเตรียมและยื่นแบบคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หรือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน รวมทั้งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ต่อสํานักงาน (2) ศึกษาข้อมูลของผู้ออกหลักทรัพย์ และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องจนเป็นที่เข้าใจและดําเนินการจนเชื่อมั่นว่า ข้อมูลในแบบคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หรือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน ถูกต้อง ครบถ้วน ไม่มีข้อมูลที่อาจมีผลกระทบต่อการพิจารณาของสํานักงานและต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนที่ยังมิได้เปิดเผย และถ้อยคําที่ใช้มีความกระชับรัดกุม และไม่มีลักษณะที่อาจทําให้ผู้ใช้ข้อมูลสําคัญผิด ทั้งนี้ ที่ปรึกษาทางการเงินต้องคํานึงถึงผลประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสําคัญ (3) ให้ความเห็นต่อสํานักงานว่าผู้ออกหลักทรัพย์มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะได้รับอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน และรับรองต่อสํานักงานถึงการที่ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ในการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หรือการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน (4) ให้ความรู้ คําแนะนํา หรือกระทําการใด ๆ เพื่อให้ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ได้ทราบถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ กฎเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเพื่อให้ผู้ออกหลักทรัพย์มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี (good corporate governance) มีการจัดการและการดําเนินการที่ตระหนักถึงความรับผิดชอบที่มีต่อผู้ถือหุ้นเป็นสําคัญ (5) ติดต่อประสานงานกับสํานักงาน และรับรองเป็นหนังสือถึงการปฏิบัติหน้าที่ตาม (2) (3) และ (4) (6) ดําเนินการตามสมควรเพื่อมิให้ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ หรือผู้บริหารของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์นั้นเผยแพร่หรือเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับหลักทรัพย์หรือผู้ออกหลักทรัพย์ โดยที่ไม่ปรากฏข้อมูลดังกล่าวในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์หรือร่างหนังสือชี้ชวน และข้อมูลนั้นอาจมีผลต่อการตัดสินใจจองซื้อหลักทรัพย์ของผู้ลงทุนหรือต่อการคาดการณ์เกี่ยวกับราคาหรือผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่เสนอขาย และหากการเผยแพร่ข้อมูลกระทําโดยการแจกจ่ายเอกสารหรือจัดสัมมนาเพื่อเผยแพร่ข้อมูล ที่ปรึกษาทางการเงินต้องดูแลให้เอกสารหรือการชี้แจงข้อมูลดังกล่าวมีสาระสําคัญของข้อมูลไม่ต่างจากแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์หรือร่างหนังสือชี้ชวน และต้องแจกจ่ายพร้อมกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์หรือร่างหนังสือชี้ชวน ทั้งนี้ ในช่วงระยะเวลาดังต่อไปนี้ (ก) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ (ในกรณีทั่วไป) (ข) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงวันที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินสามารถจัดหาหุ้นส่วนเกินได้ครบตามจํานวนที่มีหน้าที่ส่งมอบหรือส่งคืน (ในกรณีที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน) ข้อ ๑๖ เว้นแต่จะมีเหตุผลและความจําเป็นโดยได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ห้ามมิให้ที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์เผยแพร่บทความหรืองานวิจัยที่ได้จัดทําขึ้นโดยหรือในนามของตนเองหรือของบริษัทในกลุ่มอันเป็นบทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่ตนรับเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ และต้องดูแลมิให้ผู้บริหารของที่ปรึกษาทางการเงิน เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชน ทั้งนี้ ในช่วงระยะเวลาดังต่อไปนี้ (1) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายและร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ (ในกรณีทั่วไป) (2) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายและร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงวันที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินสามารถจัดหาหุ้นส่วนเกินได้ครบตามจํานวนที่มีหน้าที่ส่งมอบหรือส่งคืน (ในกรณีที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน) ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับหากบทความหรืองานวิจัยที่เผยแพร่นั้นเป็นบทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทที่มีหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือที่มีหลักทรัพย์ซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ และบทความหรืองานวิจัยนั้นมีลักษณะครบถ้วนตามเงื่อนไขต่อไปนี้ (1) เป็นบทความหรืองานวิจัยซึ่งได้แสดงอยู่ในเอกสารที่จัดทําและเผยแพร่ต่อสาธารณชนอยู่เป็นประจําในธุรกิจปกติ (2) ไม่มีเนื้อหาส่วนใดของบทความหรืองานวิจัยที่เน้นหรือให้ความสําคัญในหลักทรัพย์นั้นเป็นพิเศษกว่าครั้งก่อนหรือพิเศษกว่าหลักทรัพย์ประเภทเดียวกันของบริษัทอื่น ๆ ทั้งนี้ โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับบทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ดังกล่าวในครั้งก่อนหรือหลักทรัพย์ของบริษัทอื่นทั่วไปที่เคยจัดทําหรือเผยแพร่มาก่อน (3) เนื้อหาของบทความหรืองานวิจัยที่เผยแพร่เป็นการปรับปรุงหรือเพิ่มเติมข้อมูลที่เคยเผยแพร่มาก่อนหน้านั้นให้เป็นปัจจุบัน และ (4) ในบทความหรืองานวิจัยที่เผยแพร่ มีข้อความที่แสดงให้ผู้อ่านข้อมูลทราบว่าบทความหรืองานวิจัยดังกล่าวที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์นั้นเองเป็นผู้จัดทํา และในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินมีส่วนได้เสียอื่นเกี่ยวกับหลักทรัพย์นั้นหรือเกี่ยวกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์นั้นจะต้องระบุส่วนได้เสียนั้นด้วย ข้อ ๑๗ เมื่อพ้นระยะเวลาที่กําหนดตามข้อ 16 วรรคหนึ่งแล้ว หากที่ปรึกษาทางการเงินหรือบริษัทในกลุ่มประสงค์จะเผยแพร่บทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่ตนเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ที่ปรึกษาทางการเงินหรือบริษัทในกลุ่มนั้นต้องเปิดเผยถึงการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินหรือส่วนได้เสียในลักษณะอื่นในหลักทรัพย์นั้นไว้ในบทความหรืองานวิจัยดังกล่าวด้วย ทั้งนี้ ในช่วงระยะเวลาดังต่อไปนี้ (1) ตั้งแต่วันถัดจากวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์จนถึงสามสิบวันหลังจากวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าว ในกรณีที่หลักทรัพย์นั้นไม่ได้เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนหรือหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ (2) ตั้งแต่วันถัดจากวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์จนพ้นกําหนดสามสิบวันหลังจากวันแรกที่หลักทรัพย์นั้นซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ ในกรณีที่หลักทรัพย์นั้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนหรือหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ (3) ระหว่างสามสิบวันหลังจากวันที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินสามารถจัดหาหุ้นส่วนเกินได้ครบตามจํานวนที่มีหน้าที่ส่งมอบหรือส่งคืน (ในกรณีที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน) ข้อ ๑๘ เพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชน ให้ที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ร่วมกับผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ชี้แจงเป็นหนังสือต่อสํานักงานและต่อประชาชนโดยไม่ชักช้า เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ (1) ผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริง แตกต่างจากประมาณการงบการเงินอย่างมีนัยสําคัญ โดยเฉพาะความแตกต่างที่เกินร้อยละยี่สิบห้าของตัวเลขตามประมาณการในเรื่องรายได้ หรือกําไรสุทธิที่เกิดจากการดําเนินงานตามปกติ (2) ผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของผู้ออกหลักทรัพย์ได้กระทําการที่เป็นเหตุให้มีการเปลี่ยนแปลงการดําเนินงานของผู้ออกหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ เช่น การเปลี่ยนแปลงธุรกิจหลักของผู้ออกหลักทรัพย์ เป็นต้น (3) มีการใช้เงินที่ได้รับจากการเสนอขายหลักทรัพย์ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวนอย่างมีนัยสําคัญ เช่น มีการยกเลิก เลื่อนกําหนดเวลา หรือเปลี่ยนแปลงโครงการลงทุนในอนาคต เป็นต้น (4) ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ หรือผู้บริหารของบุคคลดังกล่าว ไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดตามความในมาตรา 81 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่สํานักงานกําหนดในการอนุญาต หรือไม่ปฏิบัติตามข้อผูกพันที่เปิดเผยไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และหนังสือชี้ชวน ที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์มีหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง (2) (3) หรือ (4) เฉพาะในกรณีที่เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นภายในหนึ่งปีนับจากวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับ ข้อ ๑๙ เว้นแต่กรณีเป็นหลักทรัพย์ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ ห้ามมิให้ที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ที่ปรึกษาทางการเงินถือหุ้นในผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นบริษัทที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ โดยจํานวนหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมดเกินร้อยละห้าของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์นั้น (2) ที่ปรึกษาทางการเงินถือหุ้นในผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นบริษัทที่ไม่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ เว้นแต่เป็นการถือหุ้นทั้งหมดมาเกินกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หรือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน หรือเป็นการถือหุ้นทั้งหมดมาไม่เกินกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หรือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน โดยจํานวนหุ้นส่วนที่ทําให้ถือมาไม่เกินกว่าสองปีดังกล่าวเป็นการได้มาเพิ่มเนื่องจากผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์เพิ่มทุนและให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นที่จะซื้อหุ้นตามส่วนที่ผู้ถือหุ้นแต่ละคนถืออยู่ (right issue) แต่ทั้งนี้การถือหุ้นที่ได้รับยกเว้นทั้งสองกรณีดังกล่าวต้องไม่เกินร้อยละห้าของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์นั้น (3) ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือกรรมการของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์แต่ละราย ถือหุ้นในที่ปรึกษาทางการเงินเกินร้อยละห้าของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของที่ปรึกษาทางการเงิน หรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวต่างถือหุ้นในที่ปรึกษาทางการเงิน การถือหุ้นของบุคคลเหล่านั้นในที่ปรึกษาทางการเงินรวมกันเกินร้อยละสิบของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของที่ปรึกษาทางการเงิน (4) ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์มีกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันเป็นบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกับกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้จัดการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงิน (5) ที่ปรึกษาทางการเงินเป็นเจ้าหนี้ของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ โดยมีวงเงินให้กู้ยืมถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักเกินสองร้อยล้านบาท และวงเงินให้กู้ยืมดังกล่าวมีจํานวนเกินร้อยละสามสิบของวงเงินกู้ยืมทั้งหมดถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ในขณะนั้น วงเงินให้กู้ยืมถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักหรือวงเงินกู้ยืมทั้งหมดถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักตามวรรคหนึ่ง หมายถึง วงเงินที่คํานวณโดยถ่วงน้ําหนักวงเงินสินเชื่อประเภทเงินกู้ระยะสั้น เงินกู้ระยะยาว และเงินเบิกเกินบัญชี เท่ากับหนึ่งเท่า และถ่วงน้ําหนักสินเชื่อประเภทเงินค้ําประกันกับทางราชการ อาวัลตั๋วแลกเงิน ขายลดตั๋วแลกเงิน เลตเตอร์ออฟเครดิต ทรัสต์รีซีท และแพคกิ้งเครดิต เท่ากับศูนย์จุดห้าเท่า (6) ที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ในลักษณะที่อาจทําให้ที่ปรึกษาทางการเงินขาดความเป็นอิสระในการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ปรึกษาทางการเงินตามวรรคหนึ่ง (1) (2) หรือ (6) ให้หมายความรวมถึง ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของที่ปรึกษาทางการเงิน หรือกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้จัดการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงิน และในการคํานวณจํานวนหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมดตาม (1) หรือ (2) ให้นับรวมจํานวนหุ้นของที่ปรึกษาทางการเงินและของบุคคลตามวรรคนี้เข้าด้วยกันด้วย ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง (6) ให้หมายความรวมถึงผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือกรรมการของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ ในการพิจารณาการถือหุ้นตามวรรคหนึ่ง (1) (2) หรือ (3) ให้นับรวมถึงการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่กล่าวไว้ในวรรคหนึ่ง (1) ถึง (3) ดังกล่าวและวรรคสองด้วย และให้นับรวมถึงหุ้นที่จะเกิดจากการใช้สิทธิของหุ้นกู้แปลงสภาพ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ด้วย ในการพิจารณาตามวรรคหนึ่ง (1) ถึง (6) มิให้นําการถือหุ้น การส่งตัวแทนเข้าไปเป็นกรรมการ หรือการมีส่วนได้ส่วนเสีย ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นที่มิใช่บริษัทที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระองค์ หรือบุคคลที่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน มาพิจารณารวมในกรณีดังกล่าว ส่วนที่ 2 ที่ปรึกษาทางการเงินในการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ ----------------------- ข้อ ๒๐ ผู้จัดเตรียมคําเสนอซื้อหลักทรัพย์มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) จัดทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์และเอกสารอื่นตามที่สํานักงานกําหนดร่วมกับผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ (2) ศึกษาข้อมูลของผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องจนเป็นที่เข้าใจ และดําเนินการจนเชื่อมั่นว่า ข้อมูลในคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ถูกต้อง ครบถ้วน ไม่มีข้อมูลที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อที่ยังมิได้เปิดเผย และถ้อยคําที่ใช้มีความกระชับรัดกุมและไม่มีลักษณะที่อาจทําให้ผู้ใช้ข้อมูลสําคัญผิด (3) ประเมินมูลค่าสิ่งตอบแทนที่ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์จ่ายไปเพื่อการได้หลักทรัพย์มาในระยะเวลาเก้าสิบวันก่อนวันที่สํานักงานรับคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ ในกรณีที่สิ่งตอบแทนนั้นมิใช่ตัวเงิน (4) ประเมินมูลค่าสิ่งตอบแทนอื่นที่มิใช่ตัวเงินในกรณีที่ราคาเสนอซื้อหลักทรัพย์มีสิ่งตอบแทนอื่นที่มิใช่ตัวเงิน (5) ให้ความเห็นต่อผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อว่าผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์จะสามารถทําตามข้อเสนอและนโยบายและแผนงานในอนาคตที่ระบุไว้ในคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ได้หรือไม่ และนโยบายและแผนงานดังกล่าวได้จัดทําขึ้นอย่างสมเหตุสมผลแล้วหรือไม่ อย่างไร โดยการให้ความเห็นดังกล่าวผู้จัดเตรียมคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ต้องใช้ข้อมูลของผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์อย่างน้อยดังต่อไปนี้มาประกอบการพิจารณา (ก) รายได้ ฐานะการเงิน และวัตถุประสงค์ของการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ (ข) ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการเข้าถือหลักทรัพย์ ประวัติการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงําที่ผ่านมา และประวัติการดําเนินกิจการภายหลังจากที่ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ได้เข้าครอบงําแล้ว (ค) ข้อมูลที่ได้จากการสอบถามผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ถึงสมมติฐานและเหตุผลประกอบสมมติฐานในการจัดทํานโยบายและแผนงานในอนาคตของกิจการที่ถูกเสนอซื้อ (6) ผู้จัดเตรียมคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ต้องไม่ร่วมกับผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ในการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการที่ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์เป็นตัวแทนของบุคคลอื่นในการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ (7) กระทําการใด ๆ เพื่อให้ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ทราบถึงหน้าที่และความรับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวกับการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศและหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๒๑ ที่ปรึกษาของผู้ถือหุ้นมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) ในการให้ความเห็นต่อผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อเกี่ยวกับการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ ในกรณีทั่วไป (ก) จัดทําความเห็นเกี่ยวกับคําเสนอซื้อหลักทรัพย์และเอกสารอื่นตามที่สํานักงานกําหนด (ข) วิเคราะห์และประเมินฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการเพื่อนําไปใช้ประกอบการให้ความเห็นต่อผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อว่าสมควรตอบรับหรือปฏิเสธคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ รวมทั้งวิเคราะห์และประเมินผลกระทบที่จะมีต่อผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อ พร้อมทั้งแสดงเหตุผลประกอบด้วย ทั้งนี้ ที่ปรึกษาของผู้ถือหุ้นต้องทําการวิเคราะห์และการประเมินดังกล่าวอย่างเพียงพอ ไม่ทําให้ผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อสําคัญผิด และจะต้องคํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหลักทรัพย์ของกิจการที่ถูกเสนอซื้อดังกล่าวเป็นสําคัญ (2) ในการให้ความเห็นต่อผู้ถือหุ้นของกิจการ เมื่อมีการขอผ่อนผันการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจการโดยอาศัยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของกิจการ (ก) จัดทําความเห็นต่อผู้ถือหุ้นเพื่อประกอบการขอผ่อนผันการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ดังกล่าวต่อสํานักงาน (ข) สอบถามผู้ขอผ่อนผันถึงสมมติฐานและเหตุผลประกอบสมมติฐานในการจัดทํานโยบายและแผนงานในอนาคตของผู้ขอผ่อนผันจนเข้าใจ และให้ความเห็นต่อผู้ถือหุ้นว่า นโยบายและแผนงานดังกล่าวได้จัดทําขึ้นอย่างสมเหตุสมผลและมีความเป็นไปได้เพียงใด (ค) วิเคราะห์และประเมินผลกระทบของการผ่อนผันดังกล่าวต่อสิทธิและประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ตลอดจนดําเนินการจนเชื่อมั่นได้ว่า ไม่มีข้อมูลสําคัญอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนที่ยังไม่ได้เปิดเผยไว้ในแบบหนังสือขอมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อให้ความเห็นชอบให้ได้มาซึ่งหลักทรัพย์ใหม่โดยไม่ต้องทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของกิจการ ข้อ ๒๒ ห้ามมิให้ที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ถือหุ้นตามข้อ 21 หรือเป็นที่ปรึกษาทางการเงินของผู้ขอผ่อนผัน ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินมีความเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับกิจการ ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ หรือผู้ขอผ่อนผัน ในลักษณะเดียวกับข้อ 19 โดยอนุโลม ทั้งนี้ ให้ใช้คําว่า "กิจการ" "ผู้ทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์" หรือ "ผู้ขอผ่อนผัน" แทนคําว่า "ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์" และคําว่า "วันที่กิจการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของผู้ถือหุ้น" หรือ "วันที่ผู้ขอผ่อนผันแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน" แทนคําว่า “วันที่ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หรือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน” หมวด 3 การดํารงลักษณะของที่ปรึกษาทางการเงินและมาตรการบังคับ -------------------------------------- ข้อ ๒๓ หากสํานักงานพบว่าที่ปรึกษาทางการเงินรายใดไม่สามารถดํารงลักษณะให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 5(3) หรือ (4) หรือปฏิบัติหน้าที่ตามหมวด 2 บกพร่อง ไม่เหมาะสม หรือไม่ครบถ้วน หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดตามประกาศนี้ สํานักงานอาจดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้มาชี้แจง หรือส่งเอกสาร หรือหลักฐานที่เกี่ยวข้อง (2) สั่งให้แก้ไขการกระทํา หรือสั่งให้กระทําหรืองดเว้นการกระทํา (3) สั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นระยะเวลาหรือตามเงื่อนไขที่กําหนดในกรณีที่ (ก) เหตุตามที่กําหนดไว้ข้างต้นมีลักษณะร้ายแรง (ข) มีเหตุตามที่กําหนดไว้ข้างต้นเกิดซ้ําอีกภายในช่วง 2 ปี ใด ๆ (ค) ที่ปรึกษาทางการเงินไม่ดําเนินการตามคําสั่งตาม (1) หรือ (2) (4) สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ ในกรณีที่สํานักงานเห็นว่าที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้นไม่สามารถดํารงลักษณะให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 5(3) หรือ (4) ในกรณีร้ายแรง ข้อ ๒๔ ในกรณีที่สํานักงานกําหนดระยะเวลาการสั่งพักการให้ความเห็นชอบตามข้อ 23(3) อันเป็นผลให้ที่ปรึกษาทางการเงินนั้นไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้อีกตลอดระยะเวลาการให้ความเห็นชอบที่ยังเหลืออยู่ หรือในกรณีที่สํานักงานสั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามข้อ 23(4) สํานักงานอาจกําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขในการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบของบุคคลนั้นในคราวต่อไปด้วยก็ได้ ข้อ ๒๕ เมื่อพ้นระยะเวลาที่สํานักงานสั่งพักการให้ความเห็นชอบตามข้อ 23(3) หรือเมื่อพ้นระยะเวลาการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบในคราวต่อไปตามข้อ 24 หรือเมื่อบุคคลที่ถูกสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่สํานักงานกําหนดตามข้อ 23(3) หรือข้อ 24 แล้ว สํานักงานจะไม่นําประวัติการกระทําที่เป็นเหตุให้สํานักงานสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบนั้นมาประกอบการพิจารณาการให้ความเห็นชอบอีก ข้อ ๒๖ ในกรณีที่ได้มีการยื่นและสํานักงานได้รับแบบคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่หรือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน หรือแบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพย์ หรือได้มีการแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาทางการเงินในกรณีอื่นใดนอกจากกรณีข้างต้น ก่อนวันที่ที่ปรึกษาทางการเงินที่ร่วมจัดทําแบบดังกล่าวหรือที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาทางการเงินนั้นถูกสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามข้อ 23 หรือก่อนวันสิ้นสุดการให้ความเห็นชอบตามกําหนดระยะเวลาในข้อ 9 วรรคหนึ่งของที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้น หรือก่อนการแจ้งผลการพิจารณาตามข้อ 9 วรรคสองในลักษณะที่ไม่ให้ความเห็นชอบ หากที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้นประสงค์ที่จะปฏิบัติหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในกรณีดังกล่าวต่อไปจนเสร็จสิ้น ที่ปรึกษาทางการเงินนั้นจะต้องยื่นคําขออนุญาตเพื่อขอปฏิบัติหน้าที่ต่อไป โดยสํานักงานจะอนุญาตก็ต่อเมื่อการถูกสั่งพักหรือเพิกถอนดังกล่าวมิได้เกิดจาก (1) ความผิดที่เกิดจากความไม่ซื่อสัตย์ การไม่มีจริยธรรม การไม่มีความรับผิดชอบต่อสาธารณชน หรือขาดจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ (2) การขาดคุณสมบัติตามข้อ 5(2) ที่สํานักงานเห็นว่ามีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษาทางการเงินต่อไป ที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ต้องปฏิบัติหน้าที่ตามหมวด 2 ต่อไปด้วย หากมิได้ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามหมวด 2 สํานักงานจะสั่งยกเลิกการอนุญาตเมื่อใดก็ได้ และอาจแก้ไขเพิ่มเติมการกําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขการสั่งพักหรือสั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามข้อ 23 หรือข้อ 24 หรือการพิจารณาคําขอความเห็นชอบของบุคคลรายนั้นในคราวต่อไปตามข้อ 8 วรรคสอง ด้วยก็ได้ หมวด 4 บทเฉพาะกาล ---------------------------- ข้อ ๒๗ บุคคลใดยื่นคําขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินตามประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 8/2540 ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2540 และสํานักงานมีหนังสือแจ้งการได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามที่สํานักงานกําหนดแล้ว แต่ยังมิได้แจ้งผลการพิจารณาก่อนวันที่ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ให้สํานักงานดําเนินการพิจารณาคําขอความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวต่อไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศดังกล่าว โดยให้ที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานในกรณีดังกล่าวอยู่ภายใต้บังคับหมวด 2 และหมวด 3 แห่งประกาศนี้และถือเป็นที่ปรึกษาทางการเงินประเภทหนึ่ง ข้อ ๒๘ ที่ปรึกษาทางการเงินใดได้จัดให้ผู้ปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินเข้าทดสอบและได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 8/2540 ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ให้ที่ปรึกษาทางการเงินดังกล่าวยื่นคําขอความเห็นชอบเพื่อให้สามารถทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินได้อย่างต่อเนื่องในครั้งต่อไปได้โดยไม่ต้องจัดให้ผู้ปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินเข้ารับการทดสอบความรู้ตามส่วนที่ 2 ของหมวด 1 อีก ข้อ ๒๙ ที่ปรึกษาทางการเงินใดได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 8/2540 ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2540 และระยะเวลาที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานสิ้นสุดลงในช่วงระยะเวลาสามสิบวันก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ จนถึงวันที่สํานักงานจัดให้มีการทดสอบความรู้ครั้งแรกสําหรับครึ่งปีหลังของปี พ.ศ. 2543 ให้ถือว่าที่ปรึกษาทางการเงินดังกล่าวได้รับความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินประเภทหนึ่งตามข้อ 4 วรรคสอง (1) ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานต่อไปได้จนถึงวันที่สํานักงานจัดให้มีการทดสอบสําหรับการทดสอบครั้งดังกล่าว และให้ที่ปรึกษาทางการเงินในกรณีดังกล่าวปฏิบัติและอยู่ภายใต้บังคับหมวด 2 และหมวด 3 แห่งประกาศนี้ด้วย ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,312
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 7/2544 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดำเนินงาน (ฉบับที่ 2)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 7/2544 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน (ฉบับที่ 2) ----------------------------- โดยที่เป็นการสมควรกําหนดให้ผู้ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้เป็นที่ปรึกษาทางการเงินสามารถทําหน้าที่ได้ทั้งการเป็น ที่ปรึกษาทางการเงินเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์และที่ปรึกษาทางการเงินเกี่ยวกับ การเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงํากิจการ รวมทั้งเห็นควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความรู้ ของผู้ปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงิน และหลักเกณฑ์อื่นที่จําเป็นบางประการให้มีความ เหมาะสมยิ่งขึ้น สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ จึงแก้ไขเพิ่มเติม ข้อกําหนดเกี่ยวกับการให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงานไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 4 และข้อ 5 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบ ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 4 ให้บุคคลที่ประสงค์จะเป็นที่ปรึกษาทางการเงินยื่นขอความเห็นชอบจาก สํานักงานตามแบบคําขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน แบบ FA-1 ท้ายประกาศนี้ พร้อมทั้ง ชําระค่าธรรมเนียมการขอความเห็นชอบตามประกาศว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่น แบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่างๆ ข้อ 5 ผู้ขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่ยื่นขอความเห็นชอบตาม ข้อ 4 จะได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เป็นสถาบันการเงิน หรือนิติบุคคลซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการประกอบ ธุรกิจเป็นที่ปรึกษาทางด้านการเงิน ที่ปรึกษาทางด้านการบัญชี หรือที่ปรึกษาทางด้านกฎหมาย (2) มีสายงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่ชัดเจน (3) มีหลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติงานเป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่ชัดเจนรัดกุม และเพียงพอ ทําให้เชื่อถือได้ว่าสามารถควบคุมให้การปฏิบัติงานเป็นที่ปรึกษาทางการเงินเป็นไปตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ และต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (ก) ขาดความรับผิดชอบหรือขาดจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพเยี่ยง ผู้มีวิชาชีพจะพึงกระทําในการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน หรือในการเป็นที่ปรึกษาใน ลักษณะอื่นใดที่ต้องใช้ความรู้และความรับผิดชอบในทํานองเดียวกับการเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน (ข) มีพฤติกรรมที่แสดงให้เห็นว่ามีเจตนาจัดทํางบการเงิน หรือรายงานอื่นใด ที่ต้องจัดส่งต่อสํานักงานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนในสาระสําคัญ ไม่ว่าพฤติกรรมนั้นจะเกิดขึ้น ในการทําหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินหรือไม่ (ค) มีประวัติถูกเปรียบเทียบหรือเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดในคดีอาญา เกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูล หรือเป็นการ กระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ หรือศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดในคดีแพ่ง ให้ต้องรับผิดเนื่องจากการบริหารงานในลักษณะดังกล่าว (ง) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษจากเจ้าพนักงานหรือหน่วยงานที่มีอํานาจตาม กฎหมายหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินคดีอาญาในชั้นศาล เกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการ หลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูล หรือเป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขาย หลักทรัพย์ (4) กรรมการผู้จัดการ ผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไป ที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงิน และผู้ควบคุมการปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษา ทางการเงินต้องมีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพที่ปรึกษาทางการเงิน มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความตั้งใจที่จะดําเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจและรับผิดชอบต่อสาธารณชน และ ไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (ก) มีประวัติเคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออก เนื่องจากการกระทําทุจริต (ข) มีประวัติการทํางานอันส่อไปในทางไม่สุจริต (ค) มีพฤติกรรมที่แสดงให้เห็นว่าขาดความรับผิดชอบหรือความระมัดระวัง หรือความซื่อสัตย์สุจริตในเรื่องเกี่ยวกับการจัดเตรียม การจัดการ หรือการเปิดเผยข้อมูลเพื่อ ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นโดยรวม ของบริษัทที่ตนเป็นหรือเคยเป็นผู้บริหาร หรือในการเป็นที่ปรึกษา ให้กับบุคคลอื่นอันทําให้บุคคลนั้นมีพฤติกรรมข้างต้น (ง) มีประวัติถูกเปรียบเทียบหรือเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดในคดีอาญา เกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการหลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูล หรือเป็นการ กระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ หรือศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดในคดีแพ่ง ให้ต้องรับผิดเนื่องจากการบริหารงานในลักษณะดังกล่าว (จ) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษจากเจ้าพนักงานหรือหน่วยงานที่มีอํานาจตาม กฎหมายหรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินคดีอาญาในชั้นศาล เกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะเป็นการ หลอกลวง ทุจริต เจตนาปกปิดข้อมูล หรือเป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขาย หลักทรัพย์ (ฉ) เป็นบุคคลที่เป็นเหตุให้ที่ปรึกษาทางการเงินอื่นถูกสํานักงานสั่งพักหรือ เพิกถอนการให้ความเห็นชอบ และที่ปรึกษาทางการเงินอื่นนั้นยังคงอยู่ในระหว่างระยะเวลาที่ สํานักงานสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ หรืออยู่ในระหว่างระยะเวลาที่ยังไม่อาจยื่น คําขอความเห็นชอบใหม่ (5) มีผู้ควบคุมการปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินอย่างน้อยหนึ่งคน ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ 14(6) และต้องมีลักษณะดังนี้ เวลา (ก) เป็นผู้ปฏิบัติงานเต็ม (ข) ผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่ชมรมกําหนดโดยความเห็นชอบของสํานักงาน (6) เป็นผู้มีรายชื่อจดทะเบียนกับชมรมในการประกอบธุรกิจที่ปรึกษาทางการเงิน ในกรณีที่ผู้ขอความเห็นชอบ กรรมการผู้จัดการ ผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่าย หรือเทียบเท่าขึ้นไปที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงิน หรือผู้ควบคุมการปฏิบัติงานในสายงาน ที่ปรึกษาทางการเงิน มีลักษณะไม่เป็นไปตาม (3) หรือ (4) แต่สํานักงานเห็นว่าเหตุหรือพฤติการณ์ ที่ทําให้มีลักษณะไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นเรื่องไม่ร้ายแรง หรือได้ดําเนินการแก้ไขแล้ว สํานักงานอาจไม่มีเหตุดังกล่าวมาใช้ประกอบการพิจารณาก็ได้” ข้อ 2 ให้ยกเลิกข้อ 6 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 8 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบ ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่สํานักงานไม่ให้ความเห็นชอบเนื่องจากผู้ขอความเห็นชอบมีลักษณะ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5(3) (ก) (ข) หรือ (ค) หรือ (4) (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) สํานักงานอาจ กําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขในการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบของบุคคลรายนั้นในคราวต่อไป โดยคํานึงถึงความร้ายแรงของเหตุที่ทําให้มีลักษณะไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นรายกรณี ทั้งนี้ ในกรณีที่สํานักงานกําหนดระยะเวลาการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบ ระยะเวลาดังกล่าว จะไม่เกินห้าปีนับแต่วันที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดในคดีแพ่ง หรือวันพ้นโทษตามคําพิพากษาถึงที่สุด หรือวันที่คณะกรรมการเปรียบเทียบปรับมีคําสั่งเปรียบเทียบ หรือวันที่สํานักงานมีหนังสือแจ้งการ ไม่ให้ความเห็นชอบเนื่องจากเหตุตามข้อ 5(3) (ก) หรือ (ข) หรือ (4) (ก) (ข) หรือ (ค) แล้วแต่กรณี ข้อ 4 ให้ยกเลิกส่วนที่ 2 ของหมวด 1 ข้อ 10 ถึงข้อ 13 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (6) ของข้อ 14 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบ ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(6) ดําเนินการให้ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินร่วมลงนาม ในหนังสือรับรองการปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการตรวจสอบหรือสอบทาน (การทํา due diligence) ความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลที่เปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขาย หลักทรัพย์ รายงานและเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่ยื่นต่อสํานักงาน โดยมีการปฏิบัติตามแนวทางหรือ มาตรฐานที่สํานักงานยอมรับหรือ กําหนด” ข้อ 6 ให้ยกเลิกความใน (6) ของข้อ 15 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบ ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(6) ดําเนินการตามสมควรเพื่อมิให้ผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ หรือผู้บริหาร ของผู้ออกหรือเสนอขายหลักทรัพย์ รวมทั้งผู้บริหาร ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานหรือผู้ปฏิบัติงาน ในสายงานที่ปรึกษาทางการเงินของที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์นั้น เผยแพร่หรือเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับหลักทรัพย์หรือผู้ออกหลักทรัพย์ โดยที่ไม่ปรากฏข้อมูลดังกล่าวใน แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์หรือร่างหนังสือชี้ชวน และข้อมูลนั้นอาจมีผลต่อ การตัดสินใจจองซื้อหลักทรัพย์ของผู้ลงทุนหรือต่อการคาดการณ์เกี่ยวกับราคาหรือผลตอบแทน ของหลักทรัพย์ที่เสนอขาย และหากการเผยแพร่ข้อมูลกระทําโดยการแจกจ่ายเอกสารหรือจัดสัมมนา เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ที่ปรึกษาทางการเงินต้องดูแลให้เอกสารหรือการชี้แจงข้อมูลดังกล่าวมีสาระสําคัญ ของข้อมูลไม่ต่างจากแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์หรือร่างหนังสือชี้ชวน และ ต้องแจกจ่ายพร้อมกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์หรือร่างหนังสือชี้ชวน ทั้งนี้ ในช่วงระยะเวลาดังต่อไปนี้ (ก) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และ ร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ (ในกรณีทั่วไป) (ข) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และ ร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงวันที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินสามารถจัดหาหุ้นส่วนเกินได้ครบตามจํานวนที่ มีหน้าที่ส่งมอบหรือส่งคืน (ในกรณีที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน)” ข้อ 7 ให้ยกเลิกความใน (1) และ (2) ของข้อ 17 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความ เห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) ตั้งแต่วันถัดจากวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์จนถึงสามสิบวันหลังจาก วันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าว (ในกรณีที่หลักทรัพย์นั้นมิใช่หลักทรัพย์ตาม (2) หรือ (3)) (2) ตั้งแต่วันถัดจากวันปิดการเสนอขายจนพ้นกําหนดเวลาสามสิบวันหลังจาก วันแรกที่มีการซื้อขายหลักทรัพย์นั้นในตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ (ในกรณีที่เป็น หลักทรัพย์ที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ได้ยื่นขอจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรือเป็นหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์เป็นครั้งแรก) ข้อ 8 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 17/1 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบ ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 “ข้อ 17/1 ในกรณีที่ผู้บริหาร ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานหรือผู้ปฏิบัติงานในสายงาน ที่ปรึกษาทางการเงินมีการจัดทําบทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่ปรึกษาทางการเงิน มีส่วนได้เสียตามข้อ 16 ให้ที่ปรึกษาทางการเงินดูแลให้บุคคลดังกล่าวปฏิบัติตามความในข้อ 16 และข้อ 17 ด้วย โดยอนุโลม ข้อ 9 ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ 26 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบ ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน (2) การมีสายงานที่รับผิดชอบการปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินไม่ชัดเจน ที่สํานักงานเห็นว่ามีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินต่อไป” ข้อ 10 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 26/1 ข้อ 26/2 และข้อ 26/3 แห่งประกาศ การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ เรื่อง 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 “ข้อ 26/1 เมื่อที่ปรึกษาทางการเงินมีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมบุคคลที่ดํารง ตําแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ ผู้ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไป ที่รับผิดชอบงานด้านที่ปรึกษาทางการเงิน หรือผู้ควบคุมการปฏิบัติงานในสายงานที่ปรึกษาทางการเงิน ที่จะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ 14(6) ให้ที่ปรึกษาทางการเงินแจ้งการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม ดังกล่าวต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมนั้น โดยใช้แบบ FA-2 ท้ายประกาศ ในกรณีที่เป็นการแจ้งเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมผู้ควบคุมการปฏิบัติงานในสายงาน ที่ปรึกษาทางการเงินที่จะเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ 14(6) หากสํานักงานมิได้มีหนังสือแจ้งทักท้วง คุณสมบัติหรือลักษณะต้องห้ามของผู้ควบคุมการปฏิบัติงานรายดังกล่าวภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ สํานักงานได้รับแจ้งจากที่ปรึกษาทางการเงิน ให้ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานรายนั้นสามารถเป็นผู้ปฏิบัติ หน้าที่ตามข้อ 14(6) ได้ตั้งแต่วันที่พ้นระยะเวลาทักท้วงดังกล่าวเป็นต้นไป ข้อ 26/2 หากที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานรายใด ไม่สามารถดํารงลักษณะให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5 หรือมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 5(3) หรือ (4) หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินได้ตามความในหมวด 2 ที่ปรึกษา ทางการเงินรายนั้นต้องแจ้งให้สํานักงานทราบ พร้อมแสดงเหตุที่ทําให้ไม่สามารถดํารงลักษณะ หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวรวมทั้งมาตรการแก้ไขภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ไม่สามารถ ดํารงลักษณะหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่นั้นได้ ข้อ 26/3 ในกรณีที่ที่ปรึกษาทางการเงินรายใดประสงค์จะระงับการปฏิบัติหน้าที่ เป็นที่ปรึกษาทางการเงินตามประกาศนี้ ให้ที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้นแจ้งเป็นหนังสือต่อสํานักงาน ล่วงหน้าหรือภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ระงับการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว พร้อมทั้งแสดงรายการของ งานที่ยังดําเนินการไม่แล้วเสร็จ (ถ้ามี) และการดําเนินการเพื่อบรรเทาผลกระทบที่อาจมีต่อลูกค้า ดังกล่าว ทั้งนี้ การระงับการปฏิบัติหน้าที่นั้นต้องมีระยะเวลาไม่เกินคราวละหนึ่งปี เมื่อที่ปรึกษาทางการเงินตามวรรคหนึ่งประสงค์จะกลับมาปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ทางการเงินต่อไปตามระยะเวลาการได้รับความเห็นชอบที่เหลืออยู่ ให้ที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้น แจ้งความประสงค์ดังกล่าวต่อสํานักงาน โดยแสดงรายละเอียดการแก้ไขเหตุแห่งการระงับการปฏิบัติ หน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน และข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของที่ปรึกษาทางการเงินเฉพาะส่วนที่ เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสําคัญจากข้อมูลที่เคยยื่นต่อสํานักงาน ทั้งนี้ หากสํานักงานไม่แจ้งทักท้วง ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานมีหนังสือแจ้งการได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วน ให้ที่ปรึกษาทางการเงินรายนั้นปฏิบัติหน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินได้ตั้งแต่วันที่พ้นระยะเวลา ทักท้วงดังกล่าวเป็นต้นไป” ข้อ 11 ให้ยกเลิกแบบคําขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินท้ายประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้แบบคําขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน แบบ FA-1 ท้ายประกาศนี้แทน ข้อ 12 ให้เพิ่มแบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมกรรมการหรือบุคลากรของ ที่ปรึกษาทางการเงิน แบบ FA-2 ท้ายประกาศนี้เป็นแบบท้ายประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบ ที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ด้วย ข้อ 13 ให้ที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานก่อนวันที่ ประกาศฉบับนี้มีผลใช้บังคับ ได้รับยกเว้นการดํารงคุณสมบัติตามข้อ 5(5) แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศฉบับนี้ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544 ข้อ 14 นับแต่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ให้ถือว่าผู้ที่ผ่านการทดสอบความรู้ที่ปรึกษาทางการเงินที่จัดทดสอบโดยสํานักงานตามส่วนที่ 2 ของหมวด 1 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ซึ่งถูกยกเลิกโดยประกาศฉบับนี้ เป็นผู้มีคุณสมบัติ ตามข้อ 5(5)(ข) แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการ ดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศฉบับนี้ ข้อ 15 ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2544 เป็นต้นไป เว้นแต่ข้อ 5 ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2544 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,313
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 6/2545 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดำเนินงาน (ฉบับที่ 3)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่อจ. 6/2545 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน (ฉบับที่ 3) ---------------------------------- โดยที่เป็นการสมควรกําหนดวิธีปฏิบัติเป็นการทั่วไปสําหรับที่ปรึกษาทางการเงินที่ประสงค์จะเผยแพร่บทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่ตนรับเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขาย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จึงแก้ไขเพิ่มเติมข้อกําหนดเกี่ยวกับการให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงานไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 16 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ถึงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 16 ภายในช่วงระยะเวลาที่กําหนดในวรรคสอง ในกรณีที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์หรือบริษัทในกลุ่ม ประสงค์จะเผยแพร่บทความหรืองานวิจัยที่ได้จัดทําขึ้นโดยหรือในนามของตนเองหรือของบริษัทในกลุ่ม อันเป็นบทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่ตนรับเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ปรึกษาทางการเงินและบริษัทในกลุ่ม ต้องถือปฏิบัติภายใต้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) บทความหรืองานวิจัยดังกล่าวต้องจัดทําโดยสายงานการทําวิจัยที่จัดทําเป็นปกติอยู่แล้ว และเป็นสายงานอิสระที่แยกต่างหากจากสายงานที่ปรึกษาทางการเงินและการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างชัดเจน (2) จัดทําบทความหรืองานวิจัยบนพื้นฐานข้อมูลที่ปรากฎอยู่ในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนเว้นแต่เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นภายหลังจากวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ (3) จัดทําบทความหรืองานวิจัยด้วยความระมัดระวัง และรักษาความเป็นกลางในการให้ความเห็นเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพพึงกระทํา (4) เปิดเผยความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในฐานะเป็นที่ปรึกษาทางการเงินหรือส่วนได้เสียในลักษณะอื่นในหลักทรัพย์นั้นให้ชัดเจนในบทความหรืองานวิจัยดังกล่าว และในกรณีที่เป็นการเผยแพร่บทความหรืองานวิจัยก่อนวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ ต้องมีคําเตือนให้ผู้ลงทุนอ่านรายละเอียดในหนังสือชี้ชวนก่อนตัดสินใจลงทุนในหลักทรัพย์ โดยตัวอักษรของข้อความต้องมีความคมชัด อ่านได้ชัดเจน และมีขนาดไม่เล็กกว่าตัวอักษรปกติที่ใช้ในการจัดทําบทความหรืองานวิจัยนั้น (5) จัดส่งสําเนาบทความหรืองานวิจัยดังกล่าวต่อสํานักงาน จํานวนหนึ่งชุดภายในวันทําการถัดจากวันที่ได้เผยแพร่บทความหรืองานวิจัยต่อสาธารณชน การเผยแพร่บทความหรืองานวิจัยที่ต้องปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ได้แก่การเผยแพร่ในระหว่างช่วงระยะเวลาดังต่อไปนี้ (1) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงสามสิบวันหลังจากวันปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ (ในกรณีที่หลักทรัพย์นี้มิใช่หลักทรัพย์ตามวรรคสอง (2) หรือ (3)) (2) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงสามสิบวันหลังจากวันแรกที่มีการซื้อขายหลักทรัพย์นั้นในตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ (ในกรณีที่เป็นหลักทรัพย์ที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ได้ยื่นขอจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือเป็นหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์เป็นครั้งแรก) (3) ตั้งแต่วันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์เละร่างหนังสือชี้ชวนจนถึงสามสิบวันหลังจากวันที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินสามารถจัดหาหุ้นส่วนเกินได้ครบตามจํานวนที่มีหน้าที่ส่งมอบหรือส่งคืน (ในกรณีที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน) ในกรณีที่ผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานเต็มเวลาของที่ปรึกษาทางการเงิน มีการจัดทําบทความหรืองานวิจัยเกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามวรรคหนึ่งโดยมิได้เผยแพร่ในนามของที่ปรึกษาทางการเงิน บุคคลดังกล่าวต้องมิใช่บุคคลในสายงานที่ปรึกษาทางการเงิน โดยที่ปรึกษาทางการเงินต้องดูแลให้บุคคลดังกล่าวปฏิบัติตามความในข้อนี้ด้วย โดยอนุโลม ความในข้อนี้มิได้มีผลเป็นการยกเว้นหน้าที่ของที่ปรึกษาทางการเงินในการปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ซึ่งใช้บังคับเมื่อที่ปรึกษาทางการเงินได้รับเป็นผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ดังกล่าวด้วย" ข้อ 2 ให้ยกเลิกข้อ 17 และข้อ 17/1 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ที่ อจ. 4/2543 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 7/2544 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2544 ข้อ 3 ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2545 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,314
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 14/2546 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดำเนินงาน (ฉบับที่ 4)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 14/2546 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงิน และขอบเขตการดําเนินงาน (ฉบับที่ 4) -------------------------------- โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ขอความเห็นชอบเป็นที่ปรึกษาทางการเงินให้มีความชัดเจน สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์จึงออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (1) ของวรรคหนึ่งในข้อ 5 แห่งประกาศ ที่ อจ. 4/2543 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 7/2544 เรื่อง การให้ความเห็นชอบที่ปรึกษาทางการเงินและขอบเขตการดําเนินงาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2544 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) เป็นสถาบันการเงิน หรือนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักในการประกอบธุรกิจเป็นที่ปรึกษาทางค้านการเงิน ที่ปรึกษาทางด้านการบัญชี หรือที่ปรึกษาทางด้านกฎหมาย” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2547 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 25 ธันวาคม ห.ศ. 2546 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,315
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 18/2565 เรื่อง การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ในกรณีที่บริษัทมหาชนจำกัดทำการจำหน่ายหุ้นที่บริษัทซื้อคืน
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 18/2565 เรื่อง การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ ในกรณีที่บริษัทมหาชนจํากัดทําการจําหน่ายหุ้นที่บริษัทซื้อคืน -------------------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 วรรคหนึ่ง ( 1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และมาตรา 63(5) และมาตรา 64 วรรคหนึ่ง (3) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ให้นําบทนิยามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์มาใช้กับประกาศนี้ และให้มีบทนิยามเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ "การเสนอขายหุ้นในราคาต่ํา" หมายความว่า การเสนอชายหุ้นที่กําหนดราคาเสนอขายไว้ต่ํากว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาด โดยมีราคาเสนอขายและราคาตลาดเป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการคํานวณราคาเสนอขายหลักทรัพย์และการกําหนดราคาตลาดเพื่อการพิจารณาการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ในราคาต่ําโดยอนุโลม ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายหุ้นที่บริษัทมหาชนจํากัดซื้อคืนตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด หมวด ๑ หลักทรัพย์ที่ได้รับการยกเว้น ----------------------- ข้อ ๔ มิให้นําบทบัญญัติในหมวด 3 การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาใช้บังคับกับหุ้นที่บริษัทมหาชนจํากัดเสนอขายต่อผู้ถือหุ้นตามสัดส่วนการถือหุ้น ซึ่งหุ้นดังกล่าวเป็นหุ้นที่บริษัทซื้อคืนตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด หมวด ๒ ลักษณะการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ได้รับการยกเว้น ---------------------------- ข้อ ๕ ให้บริษัทมหาชนจํากัดที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ ซึ่งจําหน่ายหุ้นที่ซื้อคืนตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัดโดยการเสนอขายต่อกรรมการหรือหนักงานของบริษัทตนเองได้รับยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงานเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในส่วนที่ 1 ถึงส่วนที่ 4 ตามแต่กรณี (1) บริษัทจดทะเบียน (2) บริษัทมหาชนจํากัดที่มีหน้าที่จัดทําและส่งงบการเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทตามมาตรา 56 ไม่ว่าหน้าที่นั้นจะเกิดจากการเสนอขายหุ้นโดยบริษัทมหาชนจํากัดเองหรือโดยผู้ถือหุ้นของบริษัทมหาชนจํากัดก็ตาม (3) บริษัทมหาชนจํากัดที่มิใช่บริษัทตาม (1) หรือ (2) แต่เป็นบริษัทย่อยของบริษัทตาม (1) หรือ (2) (4) บริษัทมหาชนจํากัดอื่นใดที่ไม่ใช่บริษัทตาม (1) (2) (3) ส่วน ๑ การเสนอขายหุ้นในราคาต่ําโดยบริษัทตามข้อ 5(1) ถึง (3) -------------------------- ข้อ ๖ การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ซื้อคืนต่อกรรมการหรือพนักงานของบริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) ซึ่งมีลักษณะเป็นการเสนอขายหุ้นในราคาต่ําให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) บริษัทได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้เสนอขายหุ้นในราคาต่ําต่อกรรมการหรือพนักงานด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และไม่มีผู้ถือหุ้นจํานวนรวมกันเกินกว่าร้อยละ 10 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง คัดค้านการเสนอขายหุ้นนั้น (2) บริษัทต้องจัดส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นตาม (1) ล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน ก่อนวันประชุม โดยหนังสือนัดประชุมดังกล่าวต้องมีข้อมูลอันเป็นสาระสําคัญต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น และมีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้ (ก) วัตถุประสงค์ในการเสนอขายหุ้นต่อกรรมการหรือพนักงาน (ข) เหตุผลหรือที่มาของการกําหนดราคาเสนอขายหุ้นต่อกรรมการหรือพนักงานในราคาต่ํา (ค) ความจําเป็นของการเสนอขายหุ้นต่อกรรมการหรือพนักงานโดยกําหนดราคาเสนอขายในราคาต่ํา ต่อการดํารงอยู่ของบริษัท หรือความคุ้มค่าของประโยชน์ที่บริษัทจะได้รับเมื่อเทียบกับผลประโยชน์ที่กรรมการหรือหนักงานจะได้รับจากการเสนอขายหุ้นดังกล่าว (ง) รายละเอียดเกี่ยวกับหุ้นที่เสนอขาย ได้แก่ จํานวน มูลค่าการเสนอขายราคาเสนอขาย ราคาตลาดที่ใช้เปรียบเทียบกับราคาเสนอขายและวิธีการคํานวณ รวมทั้งที่มา เหตุผลและความเหมาะสมของการกําหนดราคาเสนอขายและราคาตลาดดังกล่าว ทั้งนี้ หุ้นที่จะเสนอขายต่อกรรมการต้องมีราคาเสนอขายที่ไม่ดีไปกว่าหุ้นที่ซื้อคืนที่จะเสนอขายต่อพนักงาน ในกรณีที่ไม่สามารถระบุราคาเสนอขายเป็นตัวเลขที่แน่นอน ให้ระบุเป็นสัดส่วนโดยอิงราคาในตลาดที่อ้างอิงได้ โดยต้องระบุส่วนลดสูงสุดที่แน่นอนด้วย (จ) รายชื่อกรรมการทุกรายที่จะได้รับจัดสรรหุ้นไม่ว่าจํานวนเท่าใด และรายชื่อพนักงานทุกรายที่จะได้รับจัดสรรหันเกินกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนหุ้นทั้งหมดที่ขออนุมัติ รวมทั้งจํานวนหุ้นที่กรรมการและพนักงานดังกล่าวแต่ละรายจะได้รับการจัดสรร เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นต่อกรรมการหรือหนักงานในลักษณะที่มีการทยอยเสนอขายตาม (3) (ฉ) ผลกระทบที่จะมีต่อผู้ถือหุ้นจากการเสนอขายหุ้นที่ขออนุมัติ โดยอย่างน้อยต้องระบุผลกระทบต่อราคาตลาดของหุ้น (price dilution) เมื่อมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นของกรรมการหรือพนักงาน (ช) หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขายหุ้นที่ซื้อคืน เช่น หลักเกณฑ์การจัดสรร การเสนอขายผ่านบุคคลอื่นและรายชื่อบุคคลดังกล่าว (ถ้ามี) และคุณสมบัติของกรรมการหรือพนักงานที่มีสิทธิจะซื้อหุ้น เป็นต้น (ซ) สิทธิของผู้ถือหุ้นในการคัดค้านการเสนอขายหุ้นต่อกรรมการหรือพนักงานตาม (1) (ฌ) ข้อมูลอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อมูลที่เปิดเผยไว้ในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นตามวรรคหนึ่งต้องไม่มีลักษณะเป็นการมอบอํานาจให้บุคคลอื่นใดเป็นผู้กําหนดรายละเอียดตาม (ง) และ (ซ) แทนที่ประชุมผู้ถือหุ้น (3) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นต่อกรรมการหรือพนักงานในลักษณะที่มีการทยอยเสนอขาย และไม่สามารถระบุข้อมูลตาม (2) (จ) ทั้งหมดในปีแรกที่ขออนุมัติโครงการ บริษัทได้ระบุข้อจํากัดดังกล่าวให้ผู้ถือหุ้นทราบ และปฏิบัติตามเงื่อนไขเกี่ยวกับมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นตามที่กําหนดไว้ใน (1) และ (2) ก่อนดําเนินการจัดสรรหุ้น (4) การเสนอขายหุ้นดังกล่าวได้ดําเนินการจนแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น แต่ต้องไม่เกินกว่าระยะเวลาดังนี้ (ก) 1 ปีนับแต่วันที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติ (ข) 3 ปีนับแต่การซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหรือพนักงานในลักษณะที่มีการทยอยเสนอขาย ข้อ ๗ การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ซื้อคืนต่อกรรมการหรือพนักงานของบริษัทตามข้อ 5(3) ซึ่งมีลักษณะเป็นการเสนอขายหุ้นในราคาต่ําให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) บริษัทได้ดําเนินการให้บริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) แล้วแต่กรณี ปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขเกี่ยวกับหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นที่กําหนดในข้อ 6 โดยอนุโลม (2) การเสนอขายหุ้นดังกล่าวได้ดําเนินการจนแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) แต่ต้องไม่เกินกว่าระยะเวลาดังนี้ (ก) 1 ปีนับแต่วันที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติ (ข) 3 ปีนับแต่การซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อกรรมการหรือพนักงานในลักษณะที่มีการทยอยเสนอขาย ส่วน ๒ การเสนอขายต่อกรรมการหรือหนักงานรายใดเกินกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนหุ้นที่เสนอขายในแต่ละครั้ง โดยบริษัทตามข้อ 5(1) ถึง (3) -------------------------------------- ข้อ ๘ การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ซื้อคืนต่อกรรมการหรือพนักงานของบริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) หากมีการเสนอขายต่อกรรมการหรือพนักงานรายใดเกินกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนหุ้นที่เสนอขายในแต่ละครั้ง ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) บริษัทได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้เสนอชายหุ้นต่อกรรมการหรือพนักงานเป็นรายบุคคล โดยมติอนุมัติสําหรับแต่ละบุคคลต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และไม่มีผู้ถือหุ้นจํานวนรวมกันเกินกว่าร้อยละ 5ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง คัดค้านการเสนอขายหุ้นนั้น (2) บริษัทต้องจัดส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นตาม (1) ล่วงหน้าอย่างน้อย 14 วัน ก่อนวันประชุม โดยหนังสือนัดประชุมดังกล่าวมีข้อมูลอย่างน้อยเป็นไปตามข้อ 6(2) และ (3)และข้อมูลเพิ่มเติมดังนี้ (ก) ผลประโยชน์ที่กรรมการหรือพนักงานแต่ละรายดังกล่าวจะได้รับจากการเสนอขายหุ้นเมื่อคํานวณเป็นตัวเงิน โดยคํานวณจากผลต่างของราคาเสนอขายและราคาตลาด (ข) ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน(ถ้ามี) ที่แสดงถึงเหตุผล ความจําเป็น และประโยชน์ที่บริษัทจะได้รับจากการจัดสรรหุ้นที่ให้แก่กรรมการหรือหนักงานแต่ละรายดังกล่าว (ค) ในกรณีเป็นกรรมการ ให้ระบุจํานวนครั้งที่กรรมการแต่ละรายดังกล่าวเข้าประชุมและขาดประชุมในช่วงระยะเวลาหนึ่งปีที่ผ่านมา (ง) จํานวนและลักษณะผลตอบแทนทั้งหมดของปีล่าสุดที่ได้รับจากบริษัทในฐานะกรรมการหรือหนักงาน เฉพาะกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นในราคาต่ํา (3) การเสนอขายหุ้นดังกล่าวได้ดําเนินการจนแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น แต่ต้องไม่เกินกว่าระยะเวลาดังนี้ (ก) 1 ปีนับแต่วันที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติ (ข) 3 ปีนับแต่การซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อกรรมการหรือพนักงานในลักษณะที่มีการทยอยเสนอขาย ข้อ ๙ การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ซื้อคืนต่อกรรมการหรือพนักงานของบริษัทตามข้อ 5(3) ที่มีการเสนอขายต่อกรรมการหรือหนักงานรายใดเกินกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนหุ้นที่เสนอขายในแต่ละครั้ง ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขเพิ่มเดิมดังต่อไปนี้ (1) บริษัทได้ดําเนินการให้บริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) แล้วแต่กรณี ปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขเกี่ยวกับหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นที่กําหนดในข้อ 8 โดยอนุโลม (2) การเสนอายหุ้นดังกล่าวได้ดําเนินการเสนอขายจนแล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) แต่ต้องไม่เกินกว่าระยะเวลาดังนี้ (ก) 1 ปีนับแต่วันที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติ (ข) 3 ปีนับแต่การซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อกรรมการหรือหนักงานในลักษณะที่มีการทยอยเสนอขาย ส่วน ๓ การเสนอขายหุ้นที่ไม่เข้าลักษณะตามส่วนที่ 1 หรือส่วนที่ 2 โดยบริษัทตามข้อ 5(1) ถึง (3) ----------------------------- ข้อ ๑๐ การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ซื้อคืนต่อกรรมการหรือพนักงานของบริษัทตามข้อ 5(1) ถึง (3) ซึ่งไม่เข้าลักษณะตามส่วนที่ 1 หรือส่วนที่ 2 ของหมวดนี้ ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่เป็นบริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) การเสนอขายดังกล่าวต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท (2) กรณีที่เป็นบริษัทตามข้อ 5(3) การเสนอขายดังกล่าวต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมภารของบริษัทตามข้อ 5(1) หรือ (2) แล้วแต่กรณี (3) การเสนอขายหุ้นดังกล่าวได้ดําเนินการจนแล้วเสร็จภายใน 3 ปีนับแต่การซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น ส่วน ๔ การเสนอขายหุ้นโดยบริษัทมหาชนจํากัดตามข้อ 5(4) ----------------------------- ข้อ ๑๑ การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ซื้อคืนต่อกรรมการหรือพนักงานของบริษัทตามข้อ 5(4) ต้องเป็นการเสนอขายภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในการซื้อหุ้นคืน แต่ต้องไม่เกินกว่าระยะเวลาดังต่อไปนี้ (1) 1 ปีนับแต่การซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น (2) 3 ปีนับแต่การซื้อหุ้นคืนเสร็จสิ้น ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อกรรมการหรือพนักงานในลักษณะที่มีการทยอยเสนอขาย หมวด ๓ รายงานผลการขายหุ้น -------------------------- ข้อ ๑๒ ให้บริษัทมหาชนจํากัดที่เสนอขายหุ้นที่ซื้อคืนต่อกรรมการหรือพนักงานตามหมวด 2 รายงานผลการขายหุ้นต่อสํานักงานตามแนวทางที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันปิดการเสนอขาย โดยให้แสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ (1) ชื่อ สถานที่ติดต่อ และหมายเลขโทรศัพท์ ของผู้รายงานผลการขาย (2) วันที่เสนอขายหุ้น (3) ประเภท ลักษณะ และชื่อเฉพาะของหุ้น (ถ้ามี) (4) ข้อมูลที่แสดงลักษณะของการเสนอขายที่ได้รับยกเว้นดังต่อไปนี้ (ก) จํานวนและมูลค่าหุ้นที่เสนอขายทั้งหมด รวมทั้งจํานวนและมูลค่าของหุ้นที่ขายได้ทั้งหมด (ข) ราคาของหุ้นที่เสนอขาย (ค) ลักษณะหรือประเภทของผู้ซื้อหุ้น ข้อ ๑๓ วันปิดการเสนอขายตามข้อ 12 ให้พิจารณาจากวันปิดการเสนอขายหุ้นในแต่ละครั้ง หรือในกรณีที่มีการกําหนดช่วงเวลาเสนอขาย ให้พิจารณาวันสุดท้ายของช่วงเวลาดังกล่าวเป็นวันปิดการเสนอขาย และให้วันปิดการเสนอขายหมายความรวมถึงวันดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่กรรมการหรือพนักงานสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นได้เฉพาะตามระยะเวลาที่กําหนดไว้เป็นรอบ ๆ ให้ถือว่าวันสุดท้ายของระยะเวลาที่กําหนดในแต่ละรอบนั้นเป็นวันปิดการเสนอขาย (2) กรณีที่กรรมการหรือพนักงานสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นได้ในวันใด ๆ ในรอบปีปฏิทินปีหนึ่งปีปฏิทินใด ให้ถือว่าวันสิ้นปีปฏิทินของแต่ละปีปฏิทินนั้นเป็นวันปิดการเสนอขาย ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,316
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 32/2565 เรื่อง การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกโดยบริษัทจำกัด
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 32/2565 เรื่อง การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขาย หุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกโดยบริษัทจํากัด \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 64 วรรคหนึ่ง (2) และ (3) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 3/2563 เรื่อง การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกโดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เป็นบริษัทจํากัด ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2563 ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “แบบแสดงรายการข้อมูล” หมายความว่า แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพ “วิสาหกิจขนาดใหญ่” หมายความว่า บริษัทจํากัดที่มีจํานวนการจ้างงานหรือมีรายได้ต่อปีมากกว่าวิสาหกิจขนาดกลางและวิสาหกิจขนาดย่อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม “วิสาหกิจขนาดกลาง” หมายความว่า บริษัทจํากัดที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการระดมทุนผ่านตลาดทุนที่จัดตั้งขึ้นตามความร่วมมือระหว่างสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกับสํานักงาน “วิสาหกิจขนาดย่อม” หมายความว่า บริษัทจํากัดที่เป็นวิสาหกิจขนาดย่อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการระดมทุนผ่านตลาดทุนที่จัดตั้งขึ้นตามความร่วมมือระหว่างสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกับสํานักงาน “บริษัทย่อย” หมายความว่า บริษัทที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) บริษัทที่ผู้ออกหลักทรัพย์มีอํานาจควบคุมกิจการ (2) บริษัทที่บริษัทตาม (1) มีอํานาจควบคุมกิจการ (3) บริษัทที่อยู่ภายใต้อํานาจควบคุมกิจการของบริษัทตาม (2) ต่อไปเป็นทอด ๆ โดยเริ่มจากการอยู่ภายใต้อํานาจควบคุมกิจการของบริษัทตาม (2) “อํานาจควบคุมกิจการ” หมายความว่า การมีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (1) การถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น (2) การมีอํานาจควบคุมคะแนนเสียงส่วนใหญ่ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือไม่ว่าเพราะเหตุอื่นใด (3) การมีอํานาจควบคุมการแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการตั้งแต่กึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม “ผู้ลงทุนสถาบัน” หมายความว่า ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ “พนักงาน” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงทํางานให้แก่บริษัทเนื่องจากการจ้างแรงงานโดยได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง หรือสิ่งของอื่นใดเป็นการตอบแทนการทํางาน ข้อ ๓ ให้การเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกโดยบริษัทจํากัดที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ ได้รับยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน (1) การเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกใหม่โดยวิสาหกิจขนาดใหญ่ วิสาหกิจขนาดกลาง หรือวิสาหกิจขนาดย่อม ซึ่งไม่ขัดกับข้อจํากัดการโอนที่ได้ยื่นไว้ต่อสํานักงาน ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน (ข) การเสนอขายต่อกรรมการหรือพนักงานของบริษัทย่อยของบริษัทจํากัดที่ออกหลักทรัพย์ดังกล่าว (ค) การเสนอขายต่อบุคคลใด ๆ เพื่อให้กรรมการหรือพนักงานที่เป็นผู้ลงทุนสถาบันตาม (ก) หรือกรรมการหรือพนักงานของบริษัทย่อยตาม (ข) ได้รับประโยชน์จากการเสนอขายนั้นในที่สุด (ง) การเสนอขายโดยวิสาหกิจขนาดใหญ่ หรือวิสาหกิจขนาดกลางต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจง ซึ่งมีจํานวนผู้ลงทุนไม่เกิน 10 ราย และมีมูลค่ารวมกันทั้งสิ้นไม่เกิน 50 ล้านบาท ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ทั้งนี้ การคํานวณมูลค่าการเสนอขาย ให้ถือเอาราคาเสนอขายหลักทรัพย์นั้นเป็นเกณฑ์ การนับจํานวนผู้ลงทุนและมูลค่าการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพตามวรรคหนึ่ง (ง) ให้นับรวมหุ้นกู้แปลงสภาพที่เสนอขายก่อนหน้าการเสนอขายครั้งนี้และยังไม่ครบอายุ แต่ไม่นับรวมส่วนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนตามวรรคหนึ่ง (ก) (ข) และ (ค) ไม่ว่าการเสนอขายดังกล่าวจะกระทําในเวลาเดียวกันหรือต่างเวลากัน (2) การเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพในทอดต่อ ๆ ไป ซึ่งไม่ขัดกับข้อจํากัดการโอนที่ได้ยื่นไว้ต่อสํานักงาน ข้อ ๔ การยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงานตามประกาศนี้ ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) ผู้เสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพต้องไม่โฆษณาการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพเป็นการทั่วไป (2) การให้ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นกู้แปลงสภาพที่จะเสนอขายหรืออยู่ระหว่างเสนอขายผู้เสนอขายต้องให้ข้อมูลกับบุคคลโดยเฉพาะเจาะจงเท่านั้น ข้อ ๕ ให้ผู้เสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพตามประกาศนี้ รายงานผลการขายหุ้นกู้แปลงสภาพต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันปิดการเสนอขาย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2565 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,317
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 26/2565 เรื่อง การกำหนดลักษณะการให้บริการที่ไม่ถือเป็นการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 26/2565 เรื่อง การกําหนดลักษณะการให้บริการที่ไม่ถือเป็น การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภท ผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในข้อ 3/1 วรรคสอง แห่งประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดกิจการอื่นที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลให้เป็นธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลเพิ่มเติม พ.ศ. 2563 ลงวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง กําหนดกิจการอื่นที่เกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัลให้เป็นธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ลงวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2565 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล” หมายความว่า การให้บริการลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (1) การรับฝากหรือเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล หรือ (2) การบริหารจัดการกุญแจเข้ารหัส (cryptographic key) หรือสิ่งอื่นใดที่ต้องเก็บรักษาเป็นความลับ เพื่อใช้อนุมัติการโอนหรือการทําธุรกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล โดยมีอํานาจเบ็ดเสร็จหรือบางส่วน ข้อ ๒ การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังต่อไปนี้ ไม่ถือเป็นการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล (1) การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลโดยผู้ให้บริการที่อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของหน่วยงานกํากับดูแลในต่างประเทศ (2) การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลที่จํากัดเฉพาะสกุลเงินดิจิทัลที่ออกโดยธนาคารแห่งประเทศไทย (Central Bank Digital Currency หรือ CBDC) (3) การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัลที่จํากัดเฉพาะสินทรัพย์ดิจิทัลที่ออกโดยกระทรวงการคลัง ซึ่งมีการกําหนดมูลค่าไว้กับสกุลเงินบาทในอัตราคงที่และมีกลไกที่ชัดเจนในการคงมูลค่าที่กําหนดไว้ดังกล่าว ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,318
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (ฉบับประมวล)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (ฉบับประมวล) -------------------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 มาตรา 11 วรรคสอง มาตรา 12(3) มาตรา 13 วรรคหนึ่ง มาตรา 37(4) มาตรา 38 มาตรา 57(7) และมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนดังต่อไปนี้ (1) การก่อตั้งทรัสต์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด 1 (2) การทําหน้าที่ของทรัสต์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด 2 ข้อ ๓ ในประกาศนี้ 1ยกเลิก 1ยกเลิก “ทรัสต์เพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน”1 หมายความว่า ทรัสต์เพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้ “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า บุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังต่อไปนี้ (1) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (2) นิติบุคคล และผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนของนิติบุคคลนั้นซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคลดังกล่าวไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมด (3) กองทุนส่วนบุคคลของบุคคลตาม (1) หรือ (2) แต่ทั้งนี้ มิให้รวมถึงกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ “ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ”1 หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ 1ยกเลิก ข้อ ๔ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดแนวทาง (guideline) การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากผู้ก่อตั้งทรัสต์ หรือทรัสต์ แล้วแต่กรณี ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าผู้ก่อตั้งทรัสต์ หรือทรัสต์ แล้วแต่กรณี มีการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ในเรื่องที่มีการออกแนวทางนั้น หมวด 1 การก่อตั้งทรัสต์ --------------------------------- ข้อ ๕ ให้บุคคลดังต่อไปนี้เป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนได้ (1) ทรัสต์ของทรัสต์นั้น (2) ผู้ที่จะเข้าเป็นผู้จัดการทรัสต์ของทรัสต์นั้น ข้อ ๖ ในกรณีผู้ก่อตั้งทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนเป็นบุคคลเดียวกันกับทรัสต์ ให้บุคคลดังกล่าวยื่นคู่ฉบับของหนังสือแสดงเจตนาก่อตั้งทรัสต์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนการเสนอขายใบทรัสต์ หรือก่อนสิทธิของผู้รับผลประโยชน์ตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์จะมีผลบังคับ ข้อ ๗ ห้ามมิให้ทรัสต์ก่อตั้งหรือรับเป็นทรัสต์ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) มีผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษเป็นผู้รับประโยชน์เกินสิบราย (2) มีทรัพย์สินเริ่มแรกเป็นอย่างอื่นที่มิใช่เงิน ข้อ ๘ ผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือทรัสต์จะมีส่วนได้เสียในการรับประโยชน์จากทรัสต์ที่ตนเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือเป็นทรัสต์ได้ไม่เกินร้อยละห้าสิบของผลประโยชน์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการจัดการทรัสต์ การคํานวณส่วนได้เสียในการรับประโยชน์ตามวรรคหนึ่ง ให้นับรวมส่วนได้เสียของกลุ่มบุคคลเดียวกันกับผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือทรัสต์ด้วย หมวด 2 การทําหน้าที่ของทรัสต์ --------------------------- ข้อ ๙ ทรัสต์ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวดนี้ และหลักเกณฑ์ขั้นต่ําตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยระบบงาน การติดต่อผู้ลงทุน และการประกอบธุรกิจโดยทั่วไปของทรัสต์ ในกรณีที่หลักเกณฑ์ขั้นต่ําตามวรรคหนึ่งมีสาระที่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ในประกาศนี้ ให้ทรัสต์ปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้เป็นสําคัญ ข้อ ๑๐ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและถ่วงดุลการจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ให้ทรัสต์มอบหมายให้บุคคลอื่นเป็นผู้จัดการทรัสต์ เพื่อดูแลจัดการทรัสต์ในส่วนที่เป็นการดําเนินงานทางธุรกิจ โดยทรัสต์ต้องสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระในการติดตาม ดูแล และตรวจสอบให้ผู้จัดการทรัสต์ดังกล่าว ดูแลจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนให้เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ และพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ และคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ข้อ ๑๑ ในกรณีที่ไม่มีผู้จัดการทรัสต์ หรือผู้จัดการทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายตามข้อ 10ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ทรัสต์เข้าจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนตามความจําเป็นเพื่อป้องกัน ยับยั้ง หรือจํากัดมิให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์ของทรัสต์หรือผู้รับประโยชน์ทั้งปวง และดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ที่ระบุไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์และพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ในการจัดให้มีผู้จัดการทรัสต์รายใหม่ ทรัสต์ที่เข้าจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนตามวรรคหนึ่งจะมอบหมายให้บุคคลอื่นจัดการทรัสต์แทนในระหว่างนั้นก็ได้ ทั้งนี้ ภายในขอบเขต หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ได้ระบุไว้ ข้อ ๑๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ของทรัสต์ ให้ทรัสต์ดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (1) ดูแลหรือดําเนินการให้สัญญาก่อตั้งทรัสต์มีสาระเป็นไปตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ และคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว (2) ดูแลหรือดําเนินการให้การจัดการทรัสต์มีลักษณะเป็นการประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนตลอดอายุของทรัสต์ (3) ในกรณีที่ทรัสต์มีผู้รับประโยชน์เป็นผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ ต้องดูแลหรือดําเนินการให้มีผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ ณ ขณะใดขณะหนึ่งไม่เกินสิบราย เว้นแต่เป็นการได้มาทางมรดก ข้อ ๑๓ ให้ทรัสต์จัดทําและส่งรายงานการลงทุนของทรัสต์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 5 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ตามแบบ PE Trust-1 ที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ข้อ ๑๔ ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (นายอัชพร จารุจินดา) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,319
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 มาตรา 11 วรรคสอง มาตรา 12(3) มาตรา 13 วรรคหนึ่ง มาตรา 37(4) มาตรา 38 มาตรา 57(7) และมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนดังต่อไปนี้ (1) การก่อตั้งทรัสต์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด 1 (2) การทําหน้าที่ของทรัสต์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด 2 ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “ทรัสต์” หมายความว่า ทรัสต์ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน “กิจการเงินร่วมลงทุน” หมายความว่า กิจการเงินร่วมลงทุนที่มีลักษณะตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร.7/2557 เรื่อง การกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้ (ฉบับที่ 2 ) ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า บุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังต่อไปนี้ (1) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (2) นิติบุคคล และผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนของนิติบุคคลนั้นซึ่งถือหุ้นหรือ เป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคลดังกล่าวไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมด (3) กองทุนส่วนบุคคลของบุคคลตาม (1) หรือ (2) แต่ทั้งนี้ มิให้รวมถึงกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ “ผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ข้อ ๔ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดแนวทาง (guideline) การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากผู้ก่อตั้งทรัสต์ หรือทรัสต์ แล้วแต่กรณี ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าผู้ก่อตั้งทรัสต์ หรือทรัสต์ แล้วแต่กรณี มีการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ในเรื่องที่มีการออกแนวทางนั้น หมวด 1 การก่อตั้งทรัสต์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕ ให้บุคคลดังต่อไปนี้เป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนได้ (1) ทรัสต์ของทรัสต์นั้น (2) ผู้ที่จะเข้าเป็นผู้จัดการทรัสต์ของทรัสต์นั้น ข้อ ๖ ในกรณีผู้ก่อตั้งทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนเป็นบุคคลเดียวกันกับทรัสต์ ให้บุคคลดังกล่าวยื่นคู่ฉบับของหนังสือแสดงเจตนาก่อตั้งทรัสต์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนการเสนอขายใบทรัสต์ หรือก่อนสิทธิของผู้รับผลประโยชน์ตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์จะมีผลบังคับ ข้อ ๗ ห้ามมิให้ทรัสต์ก่อตั้งหรือรับเป็นทรัสต์ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) มีผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นผู้รับประโยชน์เกินสิบราย (2) มีทรัพย์สินเริ่มแรกเป็นอย่างอื่นที่มิใช่เงิน ข้อ ๘ ผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือทรัสต์จะมีส่วนได้เสียในการรับประโยชน์จากทรัสต์ที่ตนเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือเป็นทรัสต์ได้ไม่เกินร้อยละห้าสิบของผลประโยชน์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการจัดการทรัสต์ การคํานวณส่วนได้เสียในการรับประโยชน์ตามวรรคหนึ่ง ให้นับรวมส่วนได้เสียของกลุ่มบุคคลเดียวกันกับผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือทรัสต์ด้วย หมวด 2 การทําหน้าที่ของทรัสต์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๙ ทรัสต์ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวดนี้ และหลักเกณฑ์ขั้นต่ําตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยระบบงาน การติดต่อผู้ลงทุน และการประกอบธุรกิจโดยทั่วไปของทรัสต์ ในกรณีที่หลักเกณฑ์ขั้นต่ําตามวรรคหนึ่งมีสาระที่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ในประกาศนี้ ให้ทรัสต์ปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้เป็นสําคัญ ข้อ ๑๐ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและถ่วงดุลการจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ให้ทรัสต์มอบหมายให้บุคคลอื่นเป็นผู้จัดการทรัสต์ เพื่อดูแลจัดการทรัสต์ในส่วนที่เป็นการดําเนินงานทางธุรกิจ โดยทรัสต์ต้องสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระในการติดตาม ดูแล และตรวจสอบให้ผู้จัดการทรัสต์ดังกล่าว ดูแลจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนให้เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ และพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ และคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ข้อ ๑๑ ในกรณีที่ไม่มีผู้จัดการทรัสต์ หรือผู้จัดการทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายตามข้อ 10ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ทรัสต์เข้าจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนตามความจําเป็นเพื่อป้องกัน ยับยั้ง หรือจํากัดมิให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์ของทรัสต์หรือผู้รับประโยชน์ทั้งปวง และดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ที่ระบุไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์และพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ในการจัดให้มีผู้จัดการทรัสต์รายใหม่ ทรัสต์ที่เข้าจัดการทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนตามวรรคหนึ่งจะมอบหมายให้บุคคลอื่นจัดการทรัสต์แทนในระหว่างนั้นก็ได้ ทั้งนี้ ภายในขอบเขต หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ได้ระบุไว้ ข้อ ๑๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ของทรัสต์ ให้ทรัสต์ดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (1) ดูแลหรือดําเนินการให้สัญญาก่อตั้งทรัสต์มีสาระเป็นไปตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ และคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว (2) ดูแลหรือดําเนินการให้การจัดการทรัสต์มีลักษณะเป็นการประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนตลอดอายุของทรัสต์ (3) ในกรณีที่ทรัสต์มีผู้รับประโยชน์เป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ ต้องดูแลหรือดําเนินการให้มีผู้ลงทุนรายใหญ่ ณ ขณะใดขณะหนึ่งไม่เกินสิบราย เว้นแต่การเกินจํานวนดังกล่าวเกิดจากการได้มาทางมรดก ข้อ ๑๓ ให้ทรัสต์จัดทําและส่งรายงานการลงทุนของทรัสต์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายในสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีของทรัสต์ ตามแบบ PE Trust-1 ที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (นายอัชพร จารุจินดา) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,320
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่กร. 17/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (ฉบับที่ 2 )
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่กร. 17/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสตี ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (ฉบับที่ 2 ) ------------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8(1) และมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกบทนิยามคําว่า "ทรัสต์" "กิจการเงินร่วมลงทุน" และ "ผู้ลงทุนรายใหญ่"ในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ข้อ 2 ให้เพิ่มบทหนิยามคําว่า "ทรัสต์เพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน" ก่อนบทนิยามคําว่า "กลุ่มบุคคลเดียวกัน" ในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 "ทรัสต์เพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุน" หมายความว่า ทรัสต์เพื่อประกอบกิจการเงินร่วมลงทุนตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้" ข้อ 3 ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า "ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ" ต่อจากบทนิยามคําว่า "กลุ่มบุคคลเดียวกัน" ในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 "ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ" หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ข้อ 4 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 7 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(1) มีผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษเป็นผู้รับประโยชน์เกินสิบราย" ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 12 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(3) ในกรณีที่ทรัสต์มีผู้รับประโยชน์เป็นผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ ต้องดูแลหรือดําเนินการให้มีผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ ณ ขณะใดขณะหนึ่งไม่เกินสิบราย เว้นแต่เป็นการได้มาทางมรดก" ข้อ 6 ในกรณีของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนที่จัดตั้งขึ้นก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับและมีผู้ลงทุนไม่เป็นไปตามข้อ 7(1) แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ ทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนนั้นยังคงมีผู้ลงทุนรายใหญ่ดังกล่าวต่อไปได้ แต่ทั้งนี้ ทรัสตีต้องดูแลมีให้ผู้ลงทุนดังกล่าวลงทุนในทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนนั้นเพิ่มเติมหรือโอนให้ผู้รับประโยชน์รายอื่นที่มีใช่ผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดก ข้อ 7 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2565 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,321
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 33/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (ฉบับที่ 3 )
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 33/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (ฉบับที่ 3 ) ------------------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8(1) และมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 13 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นทรัสต์ของทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุนลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 13 ให้ทรัสต์จัดทําและส่งรายงานการลงทุนของทรัสต์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ภายใน 5 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ตามแบบ PE Trust-1 ที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ส.ต." ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,322
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 6/2543 เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี (ฉบับที่ 2)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี (ฉบับที่ 2) ที่อจ. 6 /2543 ---------------------------------- โดยที่ตามบทบัญญัติในมาตรา 61 มาตรา 89 มาตรา 106 มาตรา 199 และมาตรา 217 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามที่ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งออกตามความในมาตรา 35 เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการอนุญาต ได้กําหนดให้สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีที่ลงลายมือชื่อในรายงานการตรวจสอบงบการเงินของนิติบุคคลใด ๆ ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ได้กําหนดแนวทางการให้ความเห็นชอบและขอบเขตการดําเนินงานไว้ตามประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี ที่ อจ. 6/2540 ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2540 แล้ว นั้น เพื่อให้ผู้สอบบัญชีที่อายุการให้ความเห็นชอบสิ้นสุดลงยังคงปฏิบัติหน้าที่การเป็นผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบต่อไปได้เท่าที่จําเป็น สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ จึงกําหนดแนวทางต่อเรื่องดังกล่าวไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 9 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี ที่ อจ. 62540 ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2540 "ผู้สอบบัญชีรายใดที่อายุการให้ความเห็นชอบตามวรรคหนึ่งสิ้นสุดลง ให้ผู้สอบบัญชีรายนั้นสามารถสอบบัญชีและลงลายมือชื่อเพื่อแสดงความเห็นในการสอบบัญชีต่อไปได้เฉพาะของบริษัทตามข้อ 3 ที่ผู้สอบบัญชีได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทดังกล่าวเรียบร้อยแล้วก่อนวันสิ้นสุดระยะเวลาการให้ความเห็นชอบตามวรรกหนึ่ง ทั้งนี้ ผู้สอบบัญชีจะสามารถลงลายมือชื่อเพื่อแสดงความเห็นในการสอบบัญชีได้ไม่เกินสามเดือนนับแต่วันที่สิ้นสุดอายุการให้ความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง หากผู้สอบบัญชีราชนั้นได้ยื่นคําขอกลั่นกรองคุณสมบัติของผู้สอบบัญชีพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนต่อสมาคมล่วงหน้าอย่างน้อยสี่เดือนก่อนสิ้นสุดระยะเวลาที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ" ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2543 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,323
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 15/2544 เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี (ฉบับที่ 3)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ละตลาดหลักทรัพย์ ที่ อจ. 15/2544 เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี (ฉบับที่ 3) ----------------------- โดยที่เป็นการสมควรขยายระยะเวลาการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี ที่ อจ. 6/2540 ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2540 จากเดิมที่กําหนดไว้คราวละไม่เกินสองปีออกไปเป็นคราวละไม่เกินห้าปี อันจะเป็นการผ่อนคลายภาระของผู้สอบบัญชีในการขอต่ออายุการให้ความเห็นชอบสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ จึงปรับปรุงแนวทางการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 9 แห่งประกาศ เรื่อง การให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชี ที่ อจ. 62540 ลงวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2540 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 9 การให้ความเห็นชอบบุคคลที่ยื่นคําขอความเห็นชอบตามประกาศนี้ มีกําหนดระยะเวลาคราวละไม่เกินห้าปี" ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคม 2544 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,324
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อส/น. 12/2542 เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบ การแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์
ประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบ การแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ ที่ อส/น. 12/2542 ---------------------- โดยที่มาตรา 104 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 บัญญัติว่า การแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์จะกระทําได้ต่อ เมื่อบริษัทหลักทรัพย์ไห้รับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์แล้ว และโดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงแนวปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและ การให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จึงกําหนดแนวปฏิบัติ ไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (1) หนังสือเวียนสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลต.ก.(ว) 395/2535 เรื่อง การขอความเห็นชอบแต่งตั้งผู้บริหาร ลงวันที่ 10 กันยายน 2535 (2) ประกาศวิธีปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบผู้บริหารของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ พ.ศ. 2537 ถึงวันที่ 7 มกราคม พ.ศ.2537 (3) หนังสือเวียนสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลค.ก.(ว) 28/2537 เรื่อง การยกเลิกการให้ความเห็นชอบแต่งตั้งผู้บริหาร ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2537 (4) หนังสือเวียนสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลต.ก.(ว) 4/2338 เรื่อง การขอความร่วมมือในการจัดส่งข้อมูลทางแผ่น Diskette ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2538 (5) ข้อ 1 ของหนังสือเวียนสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลต.ก.(ว) 192538 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2538 (6) หนังสือเวียนสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลต.ธ.(ว) 122541 เรื่อง การขอความเห็นชอบเปลี่ยนแปลงตําแหน่งผู้บริหาร ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2541 ข้อ ๒ "บริษัทหลักทรัพย์" หมายความว่า บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึงสถาบันการเงินที่จัดตั้งตามกฎหมายอื่นและได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ในภายหลัง "ผู้บริหาร" หมายความว่า บุคคลที่บริษัทหลักทรัพย์ตั้งหรือยอมให้เป็นหรือ ทําหน้าที่กรรมการหรือผู้จัดการ "ผู้จัดการ" หมายความว่า บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานของบริษัท ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างใดก็ตาม "สํานักงาน" หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ ๓ ในการขอรับความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลเป็น ผู้บริหารของบริษัทหลักทรัพย์ สํานักงานกําหนดแนวปฏิบัติไว้ดังนี้ (1) กรณีทั่วไป กรณีที่บริษัทหลักทรัพย์แต่งตั้งบุคคลใหม่เป็นผู้บริหารของบริษัทหรือกรณีอื่นนอกจากที่กําหนดใน (2) ให้บริษัทหลักทรัพย์ยื่นคําขอรับความเห็นชอบตามแบบ 104-3 ที่แนบท้ายประกาศนี้ พร้อมเอกสารหลักฐานต่อไปนี้ ต่อสํานักงาน (ก) โครงสร้างการจัดองค์กรของบริษัท (ข) รายละเอียดของขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของตําแหน่งที่ขอรับความเห็นชอบ (ค) ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่ขอรับความเห็นชอบเป็นผู้บริหาร ซึ่งได้แก่ สําเนาบัตรประจําตัวที่ออกให้โดยส่วนราชก การหรือองค์การของรัฐหรือสําเนาหนังสือเดินทาง สําเนาทะเบียนบ้านที่ปรากฏชื่อบุคคลที่ขอรับความเห็นชอบ และสําเนาคุณวุฒิทางการศึกษา (ง) แบบรับรองประวัติบุคคลตามแบบ 104-4 ที่แนบท้ายประกาศนี้ และเอกสารเพิ่มเติมประกอบหนังสือรับรองประวัติบุคคล (ถ้ํามี) สํานักงานจะแจ้งผลการพิจารณาคําขอให้บริษัทหลักทรัพย์ทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานจากบริษัทหลักทรัพย์ครบถ้วน เว้นแต่ (ก) เป็นกรณีการขอรับความเห็นชอบซึ่งเข้าเกณฑ์ตามแนวปฏิบัติตามประกาศสํานักงาน ที่ อธ. 22342 ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 ให้การมีผลของการให้ความเห็นชอบเป็นไปตามข้อ 3 ของแนวปฏิบัติตามประกาศฉบับดังกล่าว หรือ (ข) เป็นกรณีมีเหตุจําเป็นต้องตรวจสอบข้อเท็จจริงเพิ่มเติมและสํานักงานได้แจ้งเหตุจําเป็นดังกล่าวให้บริษัทหลักทรัพย์ทราบก่อนสิ้นสุดระยะเวลาสามสิบวันดังกล่าวแล้ว (2) กรณีเปลี่ยนตําแหน่งหรืออํานาจในการจัดการของผู้บริหารที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานไปแล้ว กรณีที่บริษัทหลักทรัพย์เปลี่ยนตําแหน่งหรืออํานาจในการจัดการของบุคคลที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานไปแล้ว จากตําแหน่งผู้จัดการเป็นตําแหน่งกรรมการ หรือจากตําแหน่งกรรมการที่มีอํานาจในการจัดการเป็นตําแหน่งกรรมการที่ไม่มีอํานาจในการขัดการหากบริษัทหลักทรัพย์ตรวจสอบแล้วเห็นว่าบุคคลดังกล่าวมีคุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้ามในการเป็นผู้บริหาร ให้บริษัทหลักทรัพย์มีหนังสือแจ้งการเปลี่ยนตําแหน่งหรืออํานาจของบุคคลดังกล่าวตามแบบ 104-5 ที่แนบท้ายประกาศนี้ พร้อมแบบรับรองประวัติบุคคลตามแบบ 104-4 ต่อสํานักงานไม่น้อยกว่าสิบห้าวันก่อนวันที่การเปลี่ยนแปลงนั้นจะมีผลบังคับ และหากสํานักงานไม่มีหนังสือหักท้วงภายในสิบวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับหนังสือแจ้งจากบริษัทหลักทรัพย์ให้ถือว่าสํานักงานให้ความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์ในตําแหน่งหรืออํานาจที่เปลี่ยนแปลงใหม่ โดยมีผลตั้งแต่วันที่บริษัทหลักทรัพย์ระบุในหนังสือแจ้ง ข้อ ๔ เมื่อบริษัทหลักทรัพย์ได้รับหรือถือว่าได้รับความเห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลใดเป็นผู้บริหารของบริษัทแล้ว ให้บริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการดังนี้ (1) หากตําแหน่งของบุคคลดังกล่าวเป็นตําแหน่งที่ต้องมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกับนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท กระทรวงพาณิชย์ ให้บริษัทหลักทรัพย์ส่งสําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนั้นต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่นายทะเบียนรับจดทะเบียนแล้วเสร็จ (2) หากตําแหน่งของบุคคลดังกล่าวเป็นตําแหน่งที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทยด้วย ให้บริษัทหลักทรัพย์ส่งสําเนาหนังสือให้ความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือหลักฐานที่แสดงว่าธนาคารแห่งประเทศไทยรับทราบหรือไม่ทักท้วงการดํารงตําแหน่งของบุคคลดังกล่าวแล้วแต่กรณี ต่อสํานักงานภายในสืบห้าวันนับแต่วันที่บริษัทหลักทรัพย์ได้รับหนังสือหรือมีหลักฐานดังกล่าว ข้อ ๕ ความเห็นชอบของสํานักงานให้บุคคลใดเป็นผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์ย่อมสิ้นสุดลงตามเงื่อนไขต่อไปนี้ (1) กรณีที่ความเห็นชอบของสํานักงานเป็นแบบมีกําหนดระยะเวลา ให้ความเห็นชอบของสํานักงานสิ้นสุดลงเมื่อพื้นระยะเวลากําหนดนั้น (2) กรณีที่บุคคลนั้นหันจากตําแหน่งผู้บริหารที่ได้รับความเห็นชอบด้วยเหตุอื่นที่มิใช่เพราะเหตุที่ถูกสํานักงานหรือธนาคารแห่งประเทศไทยเพิกถอนความเห็นชอบ เช่น การพันจาก ตําแหน่งตามวาระ หรือการลาออกจากตําแหน่ง เป็นต้น ให้ความเห็นชอบของสํานักงานสิ้นสุดลง ในวันที่การพ้นจาตําแหน่งของบุคคลนั้นมีผลบังคับ (3) กรณีที่บุคคลนั้นถูกสํานักงานหรือธนาคารแห่งประเทศไทยเพิกถอนความเห็นชอบเพราะเหตุที่บุคคลนั้นขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม ให้ความเห็นชอบของสํานักงานสิ้นสุดลงในวันที่การเพิกถอนความเห็นชอบของสํานักงานหรือธนาคารแห่งประเทศไทยมีผลบังคับ ข้อ ๖ เมื่อความเห็นชอบของสํานักงานให้บุคคลใดเป็นผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์สิ้นสุดลงเพราะเหตุตามข้อ 5(3) บริษัทหลักทรัพย์ต้องดําเนินการให้ผู้บริหารรายนั้นพ้นจากตําแหน่งหรือหน้าที่ในบริษัทหลักทรัพย์ภายในระยะเวลาที่จําเป็นและสมควร โดยไม่ชักช้า ข้อ ๗ เมื่อความเห็นชอบของสํานักงานให้บุคคลใดเป็นผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์สิ้นสุดลง ให้บริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการดังนี้ (1) หากตําแหน่งของบุคคลดังกล่าวเป็นตําแหน่งที่ต้องมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงกับนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท กระทรวงพาณิชย์ ให้บริษัทหลักทรัพย์ส่งสําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนั้นต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่นายทะเบียนรับจดทะเบียนแล้วเสร็จ (2) หากตําแหน่งของบุคคลดังกล่าวเป็นตําแหน่งที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากธนาคารแห่งประเทศไทยด้วย และบุคคลดังกล่าวถูกธนาคารแห่งประเทศไทยเพิกถอนความเห็นชอบให้บริษัทหลักทรัพย์ส่งสําเนาหนังสือเพิกถอนความเห็นชอบของธนาคารแห่งประเทศไทยต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่บริษัทหลักทรัพย์ได้รับหนังสือดังกล่าว ข้อ ๘ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกมาเป็นตันไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2542 (นายปกรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,325
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อธ/น. 26/2543 เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบ การแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อธ/น. 26 /2543 เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบ การแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) --------------------- โดยที่มาตรา 104 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.253 บัญญัติว่า การแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์จะกระทําได้ ต่อเมื่อบริษัทหลักทรัพย์ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์แล้ว และโดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงแนวปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและ การให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ให้มีความเหมาะสม ยิ่งขึ้น สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จึงกําหนดแนวปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ 3 แห่งประกาศ เรื่อง แนวปฏิบัติในการขอความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลเป็นกรรมการหรือผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ ที่ อธ/น. 12/2542 ลงวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2542 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "(2) กรณีเปลี่ยนตําแหน่งหรืออํานาจในการจัดการของผู้บริหารที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานไปแล้ว กรณีที่บริษัทหลักทรัพย์เปลี่ยนตําแหน่งหรืออํานาจในการจัดการของบุคคล ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานไปแล้ว จากตําแหน่งผู้จัดการเป็นตําแหน่งกรรมการ หรือจากตําแหน่งกรรมการที่มีอํานาจในการจัดการเป็นตําแหน่งกรรมการที่ไม่มีอํานาจในการขัดการ ให้ถือว่าสํานักงานให้ความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวเป็นผู้บริหารบริษัทหลักทรัพย์ในตําแหน่งหรืออํานาจที่เปลี่ยนแปลงใหม่ ทั้งนี้ ให้บริษัทหลักทรัพย์มีหนังสือแจ้งการเปลี่ยนตําแหน่งหรืออํานาจของบุคคลดังกล่าวต่อสํานักงานภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่การเปลี่ยนแปลงนั้นมีผลบังคับ พร้อมทั้งระบุวันที่การเปลี่ยนแปลงนั้นมีผาบังคับไว้ในหนังสือที่แจ้งด้วย" ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2543 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,326
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 25/2544 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 25/2544 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ------------------- โดย คณะกรรมการ ก.ล.ต. ได้มีนโยบายให้สํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จัดให้มีมาตรการให้ความคุ้มครองสิทธิของผู้ลงทุนในตลาดทุนซึ่ง เป็นลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ เนื่องจากมีผู้ลงทุน ได้รับความเสียหายจากการที่ผู้ประกอบการดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และการที่ ผู้ลงทุนจะได้รับการชดเชยความเสียหายดังกล่าวอาจมีภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากจนไม่คุ้มกับความเสียหาย ที่ได้รับ หรืออาจต้องใช้ระยะเวลานานในการดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทั่วไป จึงเห็นควรจัด ให้มีทางเลือกในการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการระหว่างผู้ลงทุนกับผู้ประกอบการดังกล่าว ที่สะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม และประหยัดค่าใช้จ่ายแก่ผู้ลงทุน สํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จึงออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “ผู้ถูกร้อง” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม ผู้รับฝากทรัพย์สินของกองทุนส่วนบุคคล ตัวแทนสนับสนุน และตัวแทนจําหน่ายหุ้น “บริษัทหลักทรัพย์" หมายความว่า บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ประเภท การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล การให้สินเชื่อเพื่อ ธุรกิจหลักทรัพย์ และกิจการการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ “ตัวแทนสนับสนุน” หมายความว่า บุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวมตั้งให้เป็นตัวแทนในการขายหรือ รับซื้อคืนหน่วยลงทุน “ตัวแทนจําหน่ายหุ้น” หมายความว่า บุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาต ให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ตั้งให้เป็นตัวแทนในการจําหน่ายหุ้นในประเทศ “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย “สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หมวด 1 บททั่วไป ------------------- ข้อ ๓ การดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการให้เป็นไปตามประกาศนี้ การใด ที่มิได้ระบุไว้ ให้ดําเนินการไปตามความตกลงของคู่กรณี หรือตามที่อนุญาโตตุลาการเห็นสมควร หรือตามกฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ แล้วแต่กรณี ข้อ ๔ ในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ สํานักงานจะมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ของ สํานักงานเป็นเจ้าหน้าที่ในงานธุรการให้กับอนุญาโตตุลาการ หมวด 2 การรับคําร้องเสนอข้อพิพาท ------------------- ข้อ ๕ ข้อพิพาทที่ผู้ร้องอาจเสนอเข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) เป็นข้อพิพาทอันเนื่องมาจากการที่ผู้ถูกร้องไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ หรือกฎเกณฑ์ที่ออกโดยคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือสํานักงาน หรือคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์ (2) เป็นข้อพิพาทที่เกิดขึ้นแล้วไม่เกินหกเดือนนับแต่วันที่ผู้ร้องรู้หรือควรรู้ ถึงเหตุแห่งข้อพิพาทนั้น เว้นแต่สํานักงานเห็นว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร (3) เป็นข้อพิพาทที่ผู้ร้องแต่ละรายเรียกร้องค่าเสียหายไม่เกินหนึ่งล้านบาท (4) เป็นข้อพิพาทที่ผู้ร้องได้ยื่นข้อร้องเรียนผ่านระบบการรับข้อร้องเรียนตามที่ กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เกี่ยวกับการรับข้อร้องเรียนของลูกค้า แล้วแต่กรณีแล้ว และปรากฏว่า (ก) ผู้ร้องไม่ได้รับการติดต่อจากผู้มีหน้าที่แก้ไขข้อร้องเรียนตามที่ประกาศ ดังกล่าวกําหนดภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ผู้ร้องยื่นข้อร้องเรียน (ข) ผู้ร้องไม่ได้รับการแก้ไขข้อร้องเรียนให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวัน นับแต่วันที่ผู้ร้องยื่นข้อร้องเรียน เว้นแต่ผู้ร้องตกลงขยายระยะเวลาดังกล่าว หรือ (ค) ผู้ร้องไม่ได้รับการแก้ไขข้อร้องเรียนให้เป็นที่พอใจ และ (5) เป็นข้อพิพาทระหว่างผู้ร้องที่เป็นบุคคลธรรมดา ที่ตกลงรับ เข้ารับ หรือใช้บริการ หรือเข้าทําสัญญากับผู้ถูกร้องเกี่ยวกับหลักทรัพย์หรือธุรกิจหลักทรัพย์ หรือเป็น ข้อพิพาทระหว่างสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพกับผู้ถูกร้อง โดยผู้ร้องต้องแสดงหลักฐานเป็น หนังสือหรือข้อสัญญาที่แสดงให้เห็นว่าผู้ถูกร้องตกลงยินยอมให้มีการเสนอข้อพิพาทเข้าสู่ กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ข้อ ๖ การยื่นคําร้องเสนอข้อพิพาทต่อสํานักงาน ให้ยืนตามแบบ อญ. 1 พร้อมแนบเอกสารหลักฐานประกอบตามที่ระบุในแบบดังกล่าวท้ายประกาศนี้ ทั้งนี้ ผู้ร้อง อาจแสดงความประสงค์ขอให้สํานักงานไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนเริ่มกระบวนการ อนุญาโตตุลาการก็ได้ ข้อ ๗ กลุ่มผู้ร้องที่มีสิทธิเรียกร้องต่อผู้ถูกร้องเป็นแบบเดียวกันอันเนื่องมาจาก ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายเดียวกัน และผู้ร้องแต่ละรายมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายเพียงไม่เกิน รายละหนึ่งล้านบาท หากประสงค์จะร่วมกันยื่นคําร้องเสนอข้อพิพาทต่อสํานักงาน ให้ทํา หนังสือแต่งตั้งตัวแทนเพื่อดําเนินกระบวนการพิจารณาตามแบบ อญ 2 ท้ายประกาศนี้ เพื่อดําเนินการใด ๆ ในกระบวนการอนุญาโตตุลาการแทนผู้ร้องทุกราย พร้อมทั้งระบุจํานวน อนุญาโตตุลาการกรณีที่เข้าสู่กระบวนการอนุญาโตตุลาการ มาพร้อมกับการยื่นคําร้องเสนอ ข้อพิพาทด้วย ข้อ ๘ เมื่อสํานักงานลงทะเบียนรับคําร้องเสนอข้อพิพาทและตรวจคําร้อง เสนอข้อพิพาทดังกล่าวแล้วพบว่า คําร้องเสนอข้อพิพาทไม่ครบถ้วนหรือไม่ชัดเจน ให้ผู้ร้องแก้ไข เพิ่มเติมให้เรียบร้อยภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากสํานักงาน ในกรณีที่ผู้ร้องไม่ ดําเนินการภายในเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ร้องไม่ประสงค์จะดําเนินการต่อไป และสํานักงาน จะยุติการดําเนินการสําหรับคําร้องเสนอข้อพิพาทนั้น หากสํานักงานเห็นว่าคําร้องเสนอข้อพิพาทเป็นไปตามที่กําหนดในข้อ 5 สํานักงานจะส่งสําเนาคําร้องเสนอข้อพิพาทดังกล่าวไปยังผู้ถูกร้องตามที่อยู่ที่ระบุไว้ในคําร้อง เสนอข้อพิพาท โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ในกรณีที่คําร้องเสนอข้อพิพาทไม่เป็นไปตามที่กําหนดในข้อ 5 สํานักงาน จะแจ้งการไม่รับคําร้องเสนอข้อพิพาทนั้นไปยังผู้ร้องภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับ คําร้องเสนอข้อพิพาท ข้อ ๙ เมื่อผู้ถูกร้องได้รับสําเนาคําร้องเสนอข้อพิพาทแล้ว อาจยื่นคําคัดค้าน ข้อพิพาทตามแบบ อญ. 3 ท้ายประกาศนี้ ต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับสําเนา คําร้องเสนอข้อพิพาท ข้อ ๑๐ ในกรณีที่คู่กรณีประสงค์จะแต่งตั้งบุคคลใดเป็นตัวแทนในการดําเนินการ ใดๆ ในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ หรือประสงค์จะแต่งตั้งบุคคลใดเพื่อช่วยเหลือในการดําเนิน กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ให้แจ้งชื่อและที่อยู่ของบุคคลดังกล่าวโดยทําเป็นหนังสือและยื่นต่อ สํานักงาน หมวด 3 การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ------------------- ข้อ ๑๑ ในกรณีที่ผู้ร้องแสดงความประสงค์ขอให้สํานักงานไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ก่อนเริ่มกระบวนการอนุญาโตตุลาการ สํานักงานจะแจ้งให้ผู้ถูกร้องทราบความประสงค์ดังกล่าว ไปพร้อมกับการส่งสําเนาคําร้องเสนอข้อพิพาทให้ผู้ถูกร้อง เมื่อผู้ถูกร้องได้รับสําเนาคําร้องเสนอข้อพิพาทที่ผู้ร้องประสงค์จะไกล่เกลี่ย ให้ผู้ถูกร้องแจ้งให้สํานักงานทราบเป็นหนังสือว่าประสงค์จะไกล่เกลี่ยหรือไม่ ภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับสําเนาคําร้องเสนอข้อพิพาท และหากผู้ถูกร้องไม่แจ้งภายในเวลาดังกล่าว ให้ ถือว่าผู้ถูกร้องไม่ประสงค์จะไกล่เกลี่ย ทั้งนี้ ผู้ถูกร้องอาจยื่นคําคัดค้านข้อพิพาทมาพร้อมกับหนังสือ แจ้งความประสงค์เรื่องการไกล่เกลี่ยข้างต้นได้ ข้อ ๑๒ ในกรณีที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นผลสําเร็จ ให้คู่กรณีทําสัญญา ประนีประนอมตามแบบ อญ 4 ท้ายประกาศนี้ หากการไกล่เกลี่ยไม่สําเร็จ ไม่ว่าจะเกิดจากคู่กรณี ตกลงกันไม่ได้หรือสํานักงานเห็นว่าไม่มีประโยชน์ที่จะไกล่เกลี่ยต่อไป ให้คู่กรณีแจ้งต่อสํานักงาน เพื่อขอยุติการไกล่เกลี่ย หรือสํานักงานสั่งให้ยุติการไกล่เกลี่ยดังกล่าว แล้วแต่กรณี และเข้าสู่ กระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไป หมวด 4 การตั้งอนุญาโตตุลาการ ------------------- ข้อ ๑๓ ในการดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ให้มีอนุญาโตตุลาการจํานวนหนึ่งคนเป็นผู้ชี้ขาด เว้นแต่เป็นกรณีตามข้อ 14 ทั้งนี้ ให้คู่กรณีเลือกรายชื่ออนุญาโตตุลาการ จากทะเบียนรายชื่ออนุญาโตตุลาการของสํานักงานด้วยวิธีดังต่อไปนี้ (1) ให้ผู้ร้องเลือกรายชื่ออนุญาโตตุลาการโดยเรียงตามลําดับความพอใจ สามลําดับ และแจ้งรายชื่อดังกล่าวให้สํานักงานทราบเป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ ยื่นคําร้องเสนอข้อพิพาท หรือวันที่สิ้นสุดการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเนื่องจากการไกล่เกลี่ยไม่เป็น ผลสําเร็จ แล้วแต่กรณี หากผู้ร้องไม่แจ้งรายชื่อภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ร้องไม่ประสงค์จะดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไปและสํานักงานจะยุติการดําเนินการ สําหรับคําร้องเสนอข้อนั้นพิพาทเว้นแต่สํานักงานเห็นว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร (2) เมื่อสํานักงานจัดส่งรายชื่ออนุญาโตตุลาการที่ผู้ร้องเลือกไว้สามชื่อให้แก่ ผู้ถูกร้องแล้ว ให้ผู้ถูกร้องเลือกอนุญาโตตุลาการหนึ่งคนจากรายชื่อทั้งสาม และแจ้งต่อสํานักงาน ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ผู้ถูกร้องได้รับรายชื่อนั้น หากผู้ถูกร้องไม่แจ้งรายชื่ออนุญาโตตุลาการที่ คนเลือกไว้หนึ่งรายชื่อภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ถูกร้องประสงค์จะตั้งอนุญาโตตุลาการ ตามรายชื่อลําดับที่หนึ่งที่ผู้ร้องเลือกไว้ (3) ในกรณีที่ผู้ถูกร้องประสงค์จะคัดค้านรายชื่อทั้งสามที่ผู้ร้องเลือกไว้เนื่องจาก มีเหตุอันควรสงสัยถึงความเป็นอิสระหรือความเป็นกลางของอนุญาโตตุลาการนั้น ให้ยื่นหนังสือ คัดค้านการตั้งอนุญาโตตุลาการพร้อมด้วยเหตุผลของการคัดค้าน ตามแบบ อญ 6 ท้ายประกาศนี้ ต่อสํานักงานภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ผู้ถูกร้องได้รับรายชื่อนั้น หากสํานักงานเห็นว่าการคัดค้าน ดังกล่าวมีเหตุที่อาจกล่าวอ้างเพื่อคัดค้านอนุญาโตตุลาการได้ ให้ดําเนินการตาม (1) และ (2) โดยอนุโลม จนกว่าจะไม่สามารถเลือกอนุญาโตตุลาการจากรายชื่ออนุญาโตตุลาการของสํานักงานได้ (4) หากคู่กรณีไม่สามารถเลือกอนุญาโตตุลาการจากทะเบียนรายชื่อ อนุญาโตตุลาการของสํานักงานได้ หรือไม่สามารถเลือกอนุญาโตตุลาการให้แล้วเสร็จภายใน หกสิบวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําร้องเสนอข้อพิพาทที่ครบถ้วนตามเงื่อนไขการรับข้อพิพาท หรือวันที่สิ้นสุดการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเนื่องจากการไกล่เกลี่ยไม่เป็นผลสําเร็จ ให้ถือว่าคู่กรณี ไม่ประสงค์จะดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไป และสํานักงานจะยุติการดําเนินการ สําหรับคําร้องเสนอข้อพิพาทนั้น เว้นแต่สํานักงานเห็นว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร ข้อ ๑๔ ในกรณีที่มีผู้ร้องร่วมกันยื่นคําร้องเสนอข้อพิพาทตามข้อ 7 และมีการ เรียกร้องค่าเสียหายรวมกันเกินกว่าหนึ่งล้านบาท ผู้ร้องอาจแสดงความประสงค์ขอให้มี อนุญาโตตุลาการจํานวนสามคนได้ โดยให้แสดงความประสงค์เช่นนั้นมาในคําร้องเสนอข้อพิพาทและผู้ถูกร้องอาจแสดงเจตนาว่าตกลงจะมีอนุญาโตตุลาการจํานวนสามคนหรือไม่ มาในคําคัดค้าน ตามข้อ 9 หากคู่กรณีตกลงจะมีอนุญาโตตุลาการจํานวนสามคน ให้มีการเลือกอนุญาโตตุลาการ จากทะเบียนรายชื่ออนุญาโตตุลาการของสํานักงานด้วยวิธีดังต่อไปนี้ (1) ให้ผู้ร้องเลือกอนุญาโตตุลาการหนึ่งคนโดยแจ้งรายชื่อให้สํานักงานทราบ เป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่สิ้นสุดระยะเวลาการยื่นคําคัดค้านของผู้ถูกร้องหรือวันที่ สิ้นสุดการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเนื่องจากการไกล่เกลี่ยไม่เป็นผลสําเร็จ แล้วแต่กรณี หากผู้ร้อง ไม่แจ้งรายชื่ออนุญาโตตุลาการภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ร้องไม่ประสงค์จะดําเนิน กระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อไปและสํานักงานจะยุติการดําเนินการสําหรับคําร้องเสนอ ข้อพิพาทนั้น เว้นแต่สํานักงานเห็นว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร (2) ให้ผู้ถูกร้องเลือกอนุญาโตตุลาการหนึ่งคนโดยแจ้งรายชื่อให้สํานักงานทราบ เป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่สิ้นสุดระยะเวลาการยื่นคําคัดค้านหรือวันที่สิ้นสุดการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทเนื่องจากการไกล่เกลี่ยไม่เป็นผลสําเร็จ หากผู้ถูกร้องไม่แจ้งรายชื่ออนุญาโตตุลาการ ภายในกําหนดเวลาดังกล่าว สํานักงานจะเป็นผู้เลือกอนุญาโตตุลาการให้ผู้ถูกร้องแทน (3) ให้อนุญาโตตุลาการที่ได้รับเลือกตาม (1) และ (2) ร่วมกันเลือกอนุญาโตตุลาการ อีกหนึ่งคนเพื่อทําหน้าที่เป็นประธานอนุญาโตตุลาการ หากผู้ถูกร้องปฏิเสธการมีอนุญาโตตุลาการจํานวนสามคน หรือผู้ถูกร้องไม่แสดง เจตนาว่าตกลงจะมีอนุญาโตตุลาการสามคนหรือไม่ภายในกําหนดเวลา ให้ถือว่าผู้ถูกร้องประสงค์ จะมีอนุญาโตตุลาการจํานวนหนึ่งคน และให้ผู้ร้องเลือกรายชื่ออนุญาโตตุลาการ โดยเรียงลําดับ ความพอใจสามลําดับ และแจ้งรายชื่อดังกล่าวให้สํานักงานทราบเป็นหนังสือภายในสิบห้าวันนับแต่ วันที่สํานักงานแจ้งให้ผู้ร้องทราบถึงการปฏิเสธหรือการไม่แสดงเจตนาของผู้ถูกร้อง หากผู้ร้อง ไม่แจ้งรายชื่อภายในกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ร้องไม่ประสงค์จะดําเนินกระบวนการ อนุญาโตตุลาการต่อไป และสํานักงานจะยุติการดําเนินการสําหรับคําร้องเสนอข้อพิพาทนั้น เว้นแต่สํานักงานเห็นว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร ทั้งนี้ให้นําความในข้อ 13 (2) (3) และ (4) มาใช้ บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๑๕ เมื่อมีการเลือกอนุญาโตตุลาการตามข้อ 13 หรือข้อ 14 แล้ว ให้คู่กรณี ตั้งอนุญาโตตุลาการตามแบบ อญ 5 หรือแบบ อญ 5-1 ท้ายประกาศนี้ แล้วแต่กรณี ข้อ ๑๖ อนุญาโตตุลาการที่ได้รับการแต่งตั้งต้องเปิดเผยให้คู่กรณีทราบถึง ข้อเท็จจริงที่อาจเป็นเหตุให้สงสัยในความเป็นอิสระและความเป็นกลางในการปฏิบัติหน้าที่เป็น อนุญาโตตุลาการ (ถ้ามี) ข้อ ๑๗ หากปรากฏข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุอันควรสงสัยในความเป็นอิสระหรือ ความเป็นกลางของอนุญาโตตุลาการรายใด คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจยื่นหนังสือคัดค้านการตั้ง อนุญาโตตุลาการรายนั้นพร้อมด้วยเหตุผลของการคัดค้าน ตามแบบ อญ.6 ท้ายประกาศนี้ ต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุนั้น ทั้งนี้ ต้องกระทําก่อนวันที่ อนุญาโตตุลาการสั่งปิดการพิจารณาข้อพิพาท หากสํานักงานเห็นชอบกับการคัดค้าน ให้ดําเนินการเลือกอนุญาโตตุลาการ โดยนําความในข้อ 13 หรือข้อ 14 มาใช้บังคับโดยอนุโลม กรณีการคัดค้านไม่เป็นผลให้ดําเนิน กระบวนพิจารณาต่อไป ทั้งนี้ การที่อนุญาโตตุลาการถูกคัดค้าน หรืออนุญาโตตุลาการขอถอนตัว มิได้หมายถึงการยอมรับถึงความถูกต้องแห่งเหตุคัดค้าน หมวด 5 กระบวนพิจารณาอนุญาโตตุลาการ ------------------- ข้อ ๑๘ กระบวนพิจารณาอนุญาโตตุลาการให้กําหนดเป็นภาษาไทย และไม่ว่า การพิจารณาของอนุญาโตตุลาการจะได้ดําเนินไปแล้วเพียงใด หากอนุญาโตตุลาการเห็นสมควร อนุญาโตตุลาการอาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นก็ได้ ข้อ ๑๙ การสืบพยานจะต้องดําเนินกระบวนพิจารณาโดยเปิดเผย เว้นแต่คู่กรณี จะตกลงกันเป็นอย่างอื่น และให้เป็นไปตามวิธีการต่อไปนี้ (1) ให้คู่กรณีทั้งสองฝ่ายยื่นเสนอพยานเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนข้ออ้างของตน ต่ออนุญาโตตุลาการในวันนัดพิจารณาครั้งแรก ในกรณีที่อนุญาโตตุลาการเห็นสมควร อนุญาโตตุลาการอาจสั่งให้คู่กรณีส่งเอกสารใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อพิพาทเพิ่มเติมก็ได้ (2) ในการสืบพยานบุคคล ให้อนุญาโตตุลาการบันทึกคําพยานโดยย่อเพื่ออ่าน และให้พยานลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานและรวบรวมไว้ในสํานวน ข้อ ๒๐ หากอนุญาโตตุลาการเห็นว่าจําเป็นและสมควร อาจขอความเห็นเกี่ยวกับ ข้อพิพาทจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรืออาจขอความเห็นชอบจากคู่กรณีให้มีผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ ความเห็นที่เกี่ยวข้องในข้อพิพาทได้ ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญต้องมีความเป็นอิสระ และไม่มีส่วนได้เสีย กับคู่กรณีอันอาจทําให้ไม่สามารถให้ความเห็นได้อย่างเป็นกลาง และยุติธรรม ให้อนุญาโตตุลาการเป็นผู้กําหนดค่าตอบแทนผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินคนละ ห้าหมื่นบาทต่อข้อพิพาท และค่าตอบแทนดังกล่าวถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ในการดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการตามข้อ 32 ข้อ ๒๑ ถ้าผู้ร้องไม่มาตามกําหนดนัดพิจารณานัดแรก และมิได้แจ้งเหตุขัดข้อง เป็นลายลักษณ์อักษรก่อนเริ่มพิจารณา อนุญาโตตุลาการอาจสั่งจําหน่ายคําร้องเสนอข้อพิพาทเสีย หรือหากอนุญาโตตุลาการเห็นสมควร อาจดําเนินกระบวนพิจารณาไปแต่ฝ่ายเดียว ในกรณีที่คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่มาตามกําหนดนัดพิจารณานัดอื่นใดที่มิใช่ กําหนดนัดพิจารณานัดแรก และมิได้ยื่นคําร้องขอเลื่อนกระบวนพิจารณาหรือมิได้แจ้งเหตุขัดข้อง เป็นลายลักษณ์อักษรก่อนเริ่มพิจารณา หากอนุญาโตตุลาการเห็นสมควรก็ให้ดําเนินกระบวน พิจารณาไปแต่ฝ่ายเดียว กรณีผู้ถูกร้องขอเลื่อนกําหนดนัดพิจารณาและอนุญาโตตุลาการเห็นสมควร ให้เลื่อนกระบวนพิจารณาได้แต่ไม่เกินสองนัด โดยอนุญาโตตุลาการอาจคิดค่าใช้จ่ายจากผู้ถูกร้อง ตามความเป็นจริง (ถ้ามี) เพื่อจ่ายให้กับผู้ร้องก็ได้ ข้อ ๒๒ ถ้าคู่กรณีไม่มีพยานหลักฐานอื่นใดมาเสนอต่ออนุญาโตตุลาการอีก ให้อนุญาโตตุลาการสั่งปิดการพิจารณา หมวด 6 คําชี้ขาด ------------------- ข้อ ๒๓ การทําคําชี้ขาดต้องให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ตั้ง อนุญาโตตุลาการ เว้นแต่มีเหตุจําเป็นและสมควรให้เป็นดุลยพินิจของอนุญาโตตุลาการที่จะ ขยายระยะเวลาออกไปได้อีกแต่ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ตั้งอนุญาโตตุลาการ เว้นแต่คู่กรณีจะตกลงขยายระยะเวลาเป็นอย่างอื่น ข้อ ๒๔ ในกรณีที่เป็นข้อพิพาทที่มีอนุญาโตตุลาการสามคนเป็นผู้ชี้ขาดข้อพิพาท ให้อนุญาโตตุลาการมีคะแนนเสียงคนละหนึ่งเสียง และการทําคําชี้ขาดให้เป็นไปตามเสียงข้างมาก ในกรณีที่ไม่สามารถทําคําชี้ขาดเนื่องจากไม่อาจหาเสียงข้างมากได้ อนุญาโตตุลาการ อาจมีคําสั่งยุติการดําเนินกระบวนการทั้งปวงและสั่งจําหน่ายคําร้องเสนอข้อพิพาทนั้นโดยไม่รับ ค่าป่วยการ ข้อ ๒๕ คําชี้ขาดจะต้องทําตามแบบ อญ.7 ท้ายประกาศนี้ โดยสํานักงานจะ ส่งสําเนาคําชี้ขาดไปยังคู่กรณีภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่อนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาด ข้อ ๒๖ สํานักงานอาจเปิดเผยคําชี้ขาดต่อสาธารณชนโดยไม่เปิดเผยชื่อจริง ของคู่กรณี เว้นแต่คู่กรณียินยอม ข้อ ๒๗ ในกรณีที่คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อความในคําชี้ขาด คู่กรณีฝ่ายนั้นอาจยื่นคําร้องต่ออนุญาโตตุลาการเพื่อให้อนุญาโตตุลาการตีความข้อความดังกล่าว โดยยื่นผ่านสํานักงานภายในสามสิบวันนับแต่วันที่คู่กรณีฝ่ายนั้นได้รับสําเนาคําชี้ขาด ทั้งนี้ ให้ถือว่า การตีความเป็นส่วนหนึ่งของคําชี้ขาดดังกล่าว ข้อ ๒๘ ในกรณีที่อนุญาโตตุลาการมิได้ชี้ขาดในประเด็นที่เป็นสาระสําคัญใด คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจยื่นคําร้องต่ออนุญาโตตุลาการเพื่อให้อนุญาโตตุลาการทําคําชี้ขาดเพิ่มเติม ในประเด็นนั้น โดยยื่นผ่านสํานักงานภายในสามสิบวันนับแต่วันที่คู่กรณีฝ่ายนั้นได้รับสําเนาคําชี้ขาด ในกรณีที่อนุญาโตตุลาการเห็นว่าประเด็นนั้นเป็นสาระสําคัญและยังมิได้ชี้ขาดไว้ ให้ทําคําชี้ขาดในประเด็นนั้นให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคําร้อง หากอนุญาโตตุลาการเห็นว่าการทําคําชี้ขาดเพิ่มเติมนั้นไม่อาจกระทําได้ นอกจากจะต้องรับฟังข้อเท็จจริงนั้นเพิ่มเติม อนุญาโตตุลาการอาจสั่งให้คู่กรณีนําพยานหลักฐาน มาสืบได้ ทั้งนี้ อนุญาโตตุลาการจะต้องทําคําชี้ขาดเพิ่มเติมดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับคําร้อง เว้นแต่มีเหตุจําเป็นให้เป็นดุลยพินิจของอนุญาโตตุลาการที่จะขยายเวลา ออกไปได้อีกตามสมควร ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ได้รับคําร้อง ข้อ ๒๙ ให้อนุญาโตตุลาการส่งมอบสํานวนความและเอกสารที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อให้สํานักงานจัดเก็บ หมวด 7 ค่าป่วยการอนุญาโตตุลาการ และค่าใช้จ่ายอื่น ------------------------------------------------------ ข้อ ๓๐ ค่าป่วยการอนุญาโตตุลาการให้คิดในอัตราร้อยละสองของค่าเสียหาย ที่เรียกร้อง ทั้งนี้ ต้องไม่ต่ํากว่าห้าพันบาท โดยอนุญาโตตุลาการจะกําหนดผู้มีหน้าที่ในการชําระ ค่าป่วยการดังกล่าว ในกรณีการร่วมกันยื่นคําร้องเสนอข้อพิพาทตามข้อ 7 ให้คิดค่าป่วยการ อนุญาโตตุลาการตามอัตราในวรรคหนึ่งจากค่าเสียหายที่เรียกร้องรวมกันทั้งหมด แต่ค่าป่วยการ ดังกล่าวไม่เกินหนึ่งแสนบาทต่อข้อพิพาท และในกรณีที่มีการตั้งอนุญาโตตุลาการสามคน ให้คิด ค่าป่วยการตามอัตราดังกล่าว และอนุญาโตตุลาการแต่ละรายจะได้รับค่าป่วยการไม่เกินหนึ่งแสนบาท ต่อข้อพิพาท ข้อ ๓๑ อนุญาโตตุลาการที่ได้รับการแต่งตั้งจากคู่กรณีให้เป็นผู้ชี้ขาดข้อพิพาท มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนจากสํานักงานในการพิจารณาข้อพิพาทครั้งละ 2,000 บาท แต่ทั้งนี้ต้อง ไม่เกิน 20,000 บาท ในแต่ละข้อพิพาท ข้อ ๓๒ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ให้คู่กรณี รับภาระฝ่ายละกึ่งหนึ่งของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมด ทั้งนี้ สํานักงานจะรับภาระค่าใช้จ่ายในส่วน ของผู้ร้องตามที่สํานักงานเห็นสมควร เพื่อประโยชน์ในการคํานวณค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง สํานักงานจะถือว่ากระบวนการ อนุญาโตตุลาการเริ่มตั้งแต่วันแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการ ข้อ ๓๓ ให้คู่กรณีแต่ละฝ่ายวางเงินประกันค่าป่วยการอนุญาโตตุลาการตาม อัตราที่กําหนดไว้ในข้อ 30 ภายในวันแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการ หากคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมิได้ วางเงินประกันค่าป่วยการตามที่กําหนด ให้ถือว่าคู่กรณีไม่ประสงค์จะดําเนินกระบวนการ อนุญาโตตุลาการต่อไป เว้นแต่คู่กรณีดังกล่าวจะได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานให้ขยาย ระยะเวลาหากมีเหตุผลจําเป็นและสมควร ข้อ ๓๔ ในกรณีที่มีการยุติกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ไม่ว่ากรณีใด หากอนุญาโตตุลาการมีคําสั่งให้คู่กรณีฝ่ายใดเป็นผู้มีหน้าที่ชําระค่าป่วยการ สํานักงานจะคืน เงินประกันค่าป่วยการ โดยไม่มีดอกเบี้ยให้แก่คู่กรณีที่วางเงินประกันไว้เกิน ภายในเจ็ดวันนับแต่ วันที่อนุญาโตตุลาการมีคําสั่งเช่นว่านั้น ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,327
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 22/2545 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ (ฉบับที่ 2)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 22/2545 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ (ฉบับที่ 2) --------------------- โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกระบวนการอนุญาโตตุลาการให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. จึงออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ ร แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 25/2544 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(2) เป็นข้อพิพาทที่เกิดขึ้นแล้วไม่เกินหกเดือนนับแต่วันที่ผู้ร้องรู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งข้อพิพาทนั้น แต่ทั้งนี้ไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันเกิดเหตุที่ใช้เป็นข้ออ้างในการเรียกร้องสิทธิ เว้นแต่ สํานักงานเห็นว่ามีเหตุงําเป็นและสมควร" ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 19 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 25/2544 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 19 การสืบพยานจะต้องดําเนินกระบวนพิจารณาโดยลับ เว้นแต่คู่กรณีจะตกลงเป็นอย่างอื่น และให้อนุญาโตตุลาการเป็นผู้กําหนดว่าจะสืบพยานหรือฟังคําแถลงการณ์ด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือ หรือจะดําเนินกระบวนพิจารณาโดยรับฟังเพียงพยานเอกสารหรือพยานหลักฐานอื่นใดก็ได้" ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 24 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 25/2544 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 24 ในกรณีที่เป็นข้อพิพาทที่มีอนุญาโตตุลาการสามคนเป็นผู้ชี้ขาดข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการมีคะแนนเสียงคนละหนึ่งเสียง และการทําคําชี้ขาดให้เป็นไปตามเสียงข้างมากและในกรณีที่ไม่สามารถทําชี้ขาดเนื่องจากไม่อาจทาเสียงข้างมากได้ ให้ประธานอนุญาโตตุลาการ เป็นผู้ทําคําชี้ขาดเพียงผู้เดียว" ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,328
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 7/2547 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ (ฉบับที่ 3)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 7/2547 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ (ฉบับที่ 3) ------------------------- โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกระบวนการอนุญาโตตุลาการให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. จึงออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 33 และข้อ 34 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 25/2544 เรื่อง กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 33 ให้คู่กรณีแต่ละฝ่าขวางเงินประกันค่าป่วยการอนุญาโตตุลาการตามอัตราที่กําหนดไว้ในข้อ 30 ต่ออนุญาตโตตุลาการภายในวันแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการ หากคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมิได้วางเงินประกันค่าป่วยการตามที่กําหนด ให้ถือว่าคู่กรณีไม่ประสงค์จะดําเนินกระบวนการอนุญาโตตุลาการต่อ ไป เว้นแต่คู่กรณีดังกล่าวจะได้รับความเห็นชอบจากอนุญาตโตตุลาการให้ขยายระยะเวลาหากมีเหตุผลจําเป็นและสมควร ข้อ 34 ในกรณีที่มีการยุติกระบวนการอนุญาโตตุลาการไม่ว่ากรณีใดหากอนุญาตใดตุลาการมีคําสั่งให้ดูกรณีฝ่ายใดเป็นผู้มีหน้าที่ชําระต่ําป่วยการ อนุญาโตตุลาการจะคืนเงินประกันค่าป่วยการโดยไม่มีดอกเบี้ยให้แก่คู่กรณีตามจํานวนที่คู่กรณีไม่มีหน้าที่ต้องง่ายเงินค่าป่วยการ ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่อนุญาโตตุลาการมีคําสั่งเช่นว่านั้น" ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2547 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2547 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
10,329
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 24/2545 เรื่อง การอนุญาตให้บริษัทที่ปรึกษาการลงทุนตั้งผู้ให้คำแนะนำ (ฉบับที่ 2 )
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 24/2545 เรื่อง การอนุญาตให้บริษัทที่ปรึกษาการลงทุนตั้งผู้ให้คําแนะนํา (ฉบับที่ 2 ) ---------------------------- ตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ได้กําหนดหลักเกณฑ์การอนุญาตให้บริษัทที่ปรึกษาการลงทุนตั้งผู้ให้คําแนะนําตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ อน. 2/2545 เรื่อง การอนุญาตให้บริษัทที่ปรึกษาการลงทุนตั้งผู้ให้คําแนะนํา ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2545 พร้อมทั้งกําหนดเรื่องการผ่อนผันไม่นําคุณสมบัติเรื่องผ่านการทดสอบความรู้เกี่ยวกับการเป็นที่ปรึกษาการลงทุนมาใช้ในการพิจารณาอนุญาตจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2545 นั้น เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้บริษัทที่ปรึกษาการลงทุนที่ประสงค์จะขออนุญาตตั้งผู้ให้คําแนะนําได้เตรียมความพร้อมเกี่ยวกับการจัดให้บุคคลดังกล่าวเข้าทดสอบความรู้เกี่ยวกับการเป็นที่ปรึกษาการลงทุน อาศัยอํานาจตามมาตรา 100 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบกับข้อ 6 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 23/2344เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเป็นที่ปรึกษาการลงทุนและการตั้งตัวแทนที่ปรึกษาการลงทุน ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2544 สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จึงออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ขยายระยะเวลาการผ่อนผันไม่นําคุณสมบัติตามข้อ 4(2) แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ อน. 2/2545 เรื่อง การอนุญาตให้บริษัทที่ปรึกษาการลงทุนตั้งผู้ให้คําแนะนํา ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2545 มาใช้บังคับในการพิจารณาอนุญาตให้บริษัทที่ปรึกษาการลงทุนตั้งผู้ให้คําแนะนําออกไปอีกหนึ่งปี จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2545 (นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ละตลาดหลักทรัพย์
10,330
พระราชบัญญัติยกเว้นการนําระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา 61 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. 2548
พระราชบัญญัติ ยกเว้นการนําระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. ๒๕๔๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นปีที่ ๖๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการยกเว้นการนําระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติยกเว้นการนําระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. ๒๕๔๘” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “กรณีธรณีพิบัติ” หมายความว่า เหตุการณ์คลื่นยักษ์ที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่ฝั่งทะเลอันดามันของจังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง และจังหวัดสตูล เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ “ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ” หมายความว่า ผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติที่กระทรวงยุติธรรมประกาศตามมาตรา ๕ มาตรา ๔ ให้ยกเว้นการนําระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัตินั้นเป็นคนสาบสูญก็ได้ บุคคลซึ่งศาลได้มีคําสั่งให้เป็นคนสาบสูญตามวรรคสอง ให้ถือว่าถึงแก่ความตายตามมาตรา ๖๒ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อเวลาที่เริ่มเกิดกรณีธรณีพิบัติ เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าบุคคลนั้นสูญหายไปในเวลาอื่นหลังจากเวลาที่เริ่มเกิดกรณีธรณีพิบัติ ก็ให้ถือว่าถึงแก่ความตายในเวลานั้น มาตรา ๕ ให้กระทรวงยุติธรรมนําบัญชีรายชื่อผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย มาประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ การแก้ไขเพิ่มเติมบัญชีรายชื่อตามวรรคหนึ่ง ให้กระทรวงยุติธรรมประกาศในราชกิจจานุเบกษาภายในสิบห้าวันนับแต่วันได้รับแจ้งจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ . พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ สืบเนื่องจากที่ได้มีเหตุการณ์ธรณีพิบัติจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์ เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามันของจังหวัดภาคใต้ฝั่งตะวันตกรวม ๖ จังหวัด อันได้แก่ จังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง ตรัง และสตูล เป็นเหตุการณ์รุนแรงที่เกิดขึ้นและก่อให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นอย่างมาก ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการจัดการกิจการต่างๆ และเพื่อให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่ของทายาทและผู้มีส่วนได้เสียต่อสิทธิตามกฎหมายของบุคคลผู้มีรายชื่อในบัญชีผู้สูญหายที่ไม่พบศพ จากกรณีธรณีพิบัติเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทยสมควรให้ทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสียของบุคคลผู้สูญหายสามารถร้องขอต่อศาลเพื่อให้บุคคลดังกล่าวเป็นคนสาบสูญ โดยไม่ต้องรอระยะเวลาตามหลักทั่วไปในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัติฉบับนี้
10,331
พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดทางวินัยของข้าราชการซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยความผิดทางวินัยของข้าราชการซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ ในหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ พ.ศ. 2534 --------------------- ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 เป็นปีที่ 46 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยความผิดทางวินัยของข้าราชการซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดทางวินัยของข้าราชการซึ่งไปปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ พ.ศ. 2534” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ข้าราชการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรม ทุกแห่ง และให้หมายความรวมถึงบุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในราชการบริหารส่วนท้องถิ่นทุกแห่งด้วย “หน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ” หมายความว่าองค์การของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานที่กระทรวง ทบวง กรมร่วมทุนหรือให้เงินอุดหนุนหรือดําเนินกิจการไม่ว่าจะมีกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานนั้นหรือไม่ มาตรา ๔ เพื่อประโยชน์ในการดําเนินการทางวินัย ข้าราชการผู้ใดได้รับแต่งตั้งหรือได้รับมอบหมายโดยกฎหมายหรือโดยมติคณะรัฐมนตรี หรือโดยคําสั่งของผู้บังคับบัญชา ให้เป็นประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการหรือเป็นกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการหรือที่ปรึกษา เลขานุการหรือผู้ช่วยเลขานุการของคณะกรรมการ หรือได้รับแต่งตั้งหรือได้รับมอบหมายให้ไปปฏิบัติหน้าที่อื่นใดในหน่วยงานที่มิใช่ส่วนราชการ ให้ถือว่าการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับแต่งตั้งหรือตามที่ได้รับมอบหมายนั้น เป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับแต่งตั้งหรือตามที่ได้รับมอบหมายดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ถ้าข้าราชการผู้นั้นกระทําการอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามวินัยข้าราชการ ให้ถือว่าเป็นการกระทําความผิดวินัยในหน้าที่ราชการ จักต้องได้รับโทษทางวินัยตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการหรือตามกฎหมายว่าด้วยวินัยสําหรับข้าราชการนั้น ๆ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ . อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปรากฎว่ามีการแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ “ข้าราชการ” ซึ่งได้แก่บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในกระทรวง ทบวง กรม และบุคคลซึ่งปฏิบัติหน้าที่โดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ไปดํารงตําแหน่งกรรมการ หรือตําแหน่งอื่นในองค์การของรัฐหรือวิสาหกิจ หรือให้ปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานที่กระทรวง ทบวง กรมร่วมทุนหรือให้เงินอุดหนุนหรือดําเนินกิจการ แต่ยังไม่มีกฎหมายกําหนดมาตรการที่จะดําเนินการลงโทษทางวินัยแก่ข้าราชการดังกล่าว ซึ่งได้กระทําผิดวินัยขึ้น สมควรกําหนดให้การปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการดังกล่าวเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ และถ้าข้าราชผุ้นั้นกระทําการอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามวินัยข้าราชการให้ถือว่าเป็นการกระทําความผิดวินัยในหน้าที่ราชการ จักต้องได้รับโทษทางวินัยตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการหรือตามกฎหมายว่าด้วยวินัยสําหรับข้าราชการนั้น ๆ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัติฉบับนี้
10,332
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นปีที่ ๕๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ข้อสัญญา” หมายความว่า ข้อตกลง ความตกลง และความยินยอมรวมทั้งประกาศ และคําแจ้งความเพื่อยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดด้วย "ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้เข้าทําสัญญาในฐานะผู้ซื้อ ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อ ผู้กู้ ผู้เอาประกันภัย หรือผู้เข้าทําสัญญาอื่นใดเพื่อให้ได้มา ซึ่งทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดโดยมีค่าตอบแทน ทั้งนี้ การเข้าทําสัญญานั้นต้องเป็นไปโดยมิใช่เพื่อการค้า ทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดนั้น และให้หมายความรวมถึงผู้เข้าทําสัญญาในฐานะผู้ค้ําประกันของบุคคลดังกล่าวซึ่งมิได้กระทําเพื่อการค้าด้วย “ผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพ” หมายความว่า ผู้เข้าทําสัญญาในฐานะผู้ขาย ผู้ให้เช่า ผู้ให้เช่าซื้อ ผู้ให้กู้ ผู้รับประกันภัย หรือผู้เข้าทําสัญญาอื่นใดเพื่อจัดให้ซึ่งทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใด ทั้งนี้ การเข้าทําสัญญานั้นต้องเป็นไปเพื่อการค้า ทรัพย์สิน บริการ หรือประโยชน์อื่นใดนั้นเป็นทางค้าปกติของตน “สัญญาสําเร็จรูป” หมายความว่า สัญญาที่ทําเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีการกําหนดข้อสัญญาที่เป็นสาระสําคัญไว้ล่วงหน้า ไม่ว่าจะทําในรูปแบบใด ซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดนํามาใช้ในการประกอบกิจการของตน มาตรา ๔ ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญาสําเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทําให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กําหนดสัญญาสําเร็จรูป หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม และให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น ในกรณีที่มีข้อสงสัย ให้ตีความสัญญาสําเร็จรูปไปในทางที่เป็นคุณแก่ฝ่ายซึ่งมิได้เป็นผู้กําหนดสัญญาสําเร็จรูปนั้น ข้อตกลงที่มีลักษณะหรือมีผลให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติหรือรับภาระเกินกว่าที่วิญญูชนจะพึงคาดหมายได้ตามปกติ เป็นข้อตกลงที่อาจถือได้ว่าทําให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น (๑) ข้อตกลงยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดที่เกิดจากการผิดสัญญา (๒) ข้อตกลงให้ต้องรับผิดหรือรับภาระมากกว่าที่กฎหมายกําหนด (๓) ข้อตกลงให้สัญญาสิ้นสุดลงโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือให้สิทธิบอกเลิกสัญญาได้โดยอีกฝ่ายหนึ่งมิได้ผิดสัญญาในข้อสาระสําคัญ (๔) ข้อตกลงให้สิทธิที่จะไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใด หรือปฏิบัติตามสัญญาในระยะเวลาที่ล่าช้าได้โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (๕) ข้อตกลงให้สิทธิคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเรียกร้องหรือกําหนดให้อีกฝ่ายหนึ่งต้องรับภาระเพิ่มขึ้นมากกว่าภาระที่เป็นอยู่ในเวลาทําสัญญา (๖) ข้อตกลงในสัญญาขายฝากที่ผู้ซื้อฝากกําหนดราคาสินไถ่สูงกว่าราคาขายบวกอัตราดอกเบี้ยเกินกว่าร้อยละสิบห้าต่อปี (๗) ข้อตกลงในสัญญาเช่าซื้อที่กําหนดราคาค่าเช่าซื้อ หรือกําหนดให้ผู้เช่าซื้อต้องรับภาระสูงเกินกว่าที่ควร (๘) ข้อตกลงในสัญญาบัตรเครดิตที่กําหนดให้ผู้บริโภคต้องชําระดอกเบี้ย เบี้ยปรับ ค่าใช้จ่ายหรือประโยชน์อื่นใดสูงเกินกว่าที่ควรในกรณีที่ผิดนัดหรือที่เกี่ยวเนื่องกับการผิดนัดชําระหนี้ (๙) ข้อตกลงที่กําหนดวิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นที่ทําให้ผู้บริโภคต้องรับภาระสูงเกินกว่าที่ควร ในการพิจารณาข้อตกลงที่ทําให้ได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งตามวรรคสาม จะเป็นการได้เปรียบเกินสมควรหรือไม่ ให้นํามาตรา ๑๐ มาใช้โดยอนุโลม มาตรา ๕ ข้อตกลงจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพในการประกอบอาชีพการงาน หรือการทํานิติกรรมที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพซึ่งไม่เป็นโมฆะ แต่เป็นข้อตกลงที่ทําให้ผู้ถูกจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพต้องรับภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้ตามปกติ ให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น ในการวินิจฉัยว่าข้อตกลงตามวรรคหนึ่งทําให้ผู้ถูกจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพต้องรับภาระมากกว่าที่จะพึงคาดหมายได้หรือไม่ ให้พิเคราะห์ถึงขอบเขตในด้านพื้นที่และระยะเวลาของการจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพ รวมทั้งความสามารถและโอกาสในการประกอบอาชีพการงานหรือการทํานิติกรรมในรูปแบบอื่นหรือกับบุคคลอื่นของผู้ถูกจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพ ประกอบกับทางได้เสียทุกอย่างอันชอบด้วยกฎหมายของคู่สัญญาด้วย มาตรา ๖ สัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพที่มีการชําระหนี้ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้บริโภค จะมีข้อตกลงยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดของผู้ประกอบธุรกิจการค้าหรือวิชาชีพเพื่อความชํารุดบกพร่องหรือเพื่อการรอนสิทธิไม่ได้ เว้นแต่ผู้บริโภคได้รู้ถึงความชํารุดบกพร่องหรือเหตุแห่งการรอนสิทธิอยู่แล้วในขณะทําสัญญา ในกรณีนี้ให้ข้อตกลงยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดนั้นมีผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น มาตรา ๗ ในสัญญาที่มีการให้สิ่งใดไว้เป็นมัดจํา หากมีกรณีที่จะต้องริบมัดจําถ้ามัดจํานั้นสูงเกินส่วน ศาลจะลดลงให้ริบได้เพียงเท่าความเสียหายที่แท้จริงก็ได้ มาตรา ๘ ข้อตกลง ประกาศ หรือคําแจ้งความที่ได้ทําไว้ล่วงหน้า เพื่อยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดเพื่อละเมิดหรือผิดสัญญาในความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัยของผู้อื่น อันเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อของผู้ตกลง ผู้ประกาศ ผู้แจ้งความ หรือของบุคคลอื่นซึ่งผู้ตกลง ผู้ประกาศ หรือผู้แจ้งความต้องรับผิดด้วย จะนํามาอ้างเป็นข้อยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดไม่ได้ ข้อตกลง ประกาศ หรือคําแจ้งความที่ได้ทําไว้ล่วงหน้าเพื่อยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดในกรณีอื่นนอกจากที่กล่าวในวรรคหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นโมฆะ ให้มีผลบังคับได้เพียงเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณีเท่านั้น มาตรา ๙ ความตกลงหรือความยินยอมของผู้เสียหายสําหรับการกระทําที่ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน จะนํามาอ้างเป็นเหตุยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดเพื่อละเมิดมิได้ มาตรา ๑๐ ในการวินิจฉัยว่าข้อสัญญาจะมีผลบังคับเพียงใดจึงจะเป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณี ให้พิเคราะห์ถึงพฤติการณ์ทั้งปวง รวมทั้ง (๑) ความสุจริต อํานาจต่อรอง ฐานะทางเศรษฐกิจ ความรู้ความเข้าใจ ความสันทัดจัดเจน ความคาดหมาย แนวทางที่เคยปฏิบัติ ทางเลือกอย่างอื่น และทางได้เสียทุกอย่างของคู่สัญญาตามสภาพที่เป็นจริง (๒) ปกติประเพณีของสัญญาชนิดนั้น (๓) เวลาและสถานที่ในการทําสัญญาหรือในการปฏิบัติตามสัญญา (๔) การรับภาระที่หนักกว่ามากของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง มาตรา ๑๑ ข้อสัญญาใดที่มิให้นําบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ไปใช้บังคับไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ข้อสัญญานั้นเป็นโมฆะ มาตรา ๑๒ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่นิติกรรมหรือสัญญาที่ทําขึ้นก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๑๓ ในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีตามพระราชบัญญัตินี้เมื่อคู่ความร้องขอ หรือศาลเห็นสมควร ศาลอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญมาให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาพิพากษาได้ มาตรา ๑๔ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญที่ศาลขอให้มาให้ความเห็นได้รับค่าป่วยการ ค่าพาหนะเดินทาง และค่าเช่าที่พักตามระเบียบที่กระทรวงยุติธรรมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง มาตรา ๑๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ . พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากหลักกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมหรือสัญญาที่ใช้บังคับอยู่มีพื้นฐานมาจากเสรีภาพของบุคคล ตามหลักของความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนา รัฐจะไม่เข้าแทรกแซงแม้ว่าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง เว้นแต่จะเป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมายหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน แต่ในปัจจุบัน สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไป ทําให้ผู้ซึ่งมีอํานาจต่อรองทางเศรษฐกิจเหนือกว่าถือโอกาสอาศัยหลักดังกล่าวเอาเปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งมีอํานาจต่อรองทางเศรษฐกิจด้อยกว่าอย่างมาก ซึ่งทําให้เกิดความไม่เป็นธรรมและไม่สงบสุขในสังคม สมควรที่รัฐจะกําหนดกรอบของการใช้หลักความศักดิ์สิทธิ์ของการแสดงเจตนาและเสรีภาพของบุคคล เพื่อแก้ไขความไม่เป็นธรรมและความไม่สงบสุขในสังคมดังกล่าว โดยกําหนดแนวทางให้แก่ศาลเพื่อใช้ในการพิจารณาว่าข้อสัญญาหรือข้อตกลงใดที่ไม่เป็นธรรม และให้อํานาจแก่ศาลที่จะสั่งให้ข้อสัญญาหรือข้อตกลงที่ไม่เป็นธรรมนั้นมีผลใช้บังคับเท่าที่เป็นธรรมและพอสมควรแก่กรณี จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,333
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองนครสวรรค์ พ.ศ. 2555
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๕๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นปีที่ ๖๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดนครสวรรค์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองนครสวรรค์ พ.ศ. ๒๕๕๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้จัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดนครสวรรค์ เรียกว่า “ศาลปกครองนครสวรรค์” และจะเปิดทําการเมื่อใด ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๔ ให้ศาลปกครองนครสวรรค์มีเขตตลอดท้องที่จังหวัดชัยนาท จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุทัยธานี ในระหว่างที่ยังไม่ได้เปิดทําการศาลปกครองนครสวรรค์ตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๓ ให้ศาลปกครองกลางมีเขตอํานาจตลอดถึงเขตศาลปกครองนครสวรรค์ในท้องที่จังหวัดชัยนาท และจังหวัดอุทัยธานีและให้ศาลปกครองพิษณุโลกมีเขตอํานาจตลอดถึงเขตศาลปกครองนครสวรรค์ในท้องที่จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ด้วย บรรดาคดีของเขตท้องที่จังหวัดที่ระบุในวรรคหนึ่ง ซึ่งค้างพิจารณาอยู่ในศาลปกครองกลางหรือศาลปกครองพิษณุโลกในวันเปิดทําการศาลปกครองนครสวรรค์ตามมาตรา ๓ ให้คงพิจารณาพิพากษาในศาลปกครองกลางหรือศาลปกครองพิษณุโลก แล้วแต่กรณี มาตรา ๕ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดนครสวรรค์ ให้มีเขตตลอดท้องที่จังหวัดชัยนาท จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดอุทัยธานี เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน หน่วยงานทางปกครอง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในท้องที่จังหวัดดังกล่าว และโดยที่มาตรา ๑๙๘ วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติว่า บรรดาศาลทั้งหลายจะตั้งขึ้นได้ ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ ประกอบกับมาตรา ๘ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติว่า การจัดตั้งและการกําหนดเขตอํานาจของศาลปกครองในภูมิภาค ให้กระทําโดยพระราชบัญญัติ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,334
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองเพชรบุรี พ.ศ. 2555
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองเพชรบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นปีที่ ๖๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดเพชรบุรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองเพชรบุรี พ.ศ. ๒๕๕๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้จัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดเพชรบุรี เรียกว่า “ศาลปกครองเพชรบุรี” และจะเปิดทําการเมื่อใด ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๔ ให้ศาลปกครองเพชรบุรีมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม ในระหว่างที่ยังไม่ได้เปิดทําการศาลปกครองเพชรบุรีตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๓ ให้ศาลปกครองกลางมีเขตอํานาจตลอดถึงเขตศาลปกครองเพชรบุรีด้วย บรรดาคดีของเขตท้องที่จังหวัดที่ระบุในวรรคหนึ่ง ซึ่งค้างพิจารณาอยู่ในศาลปกครองกลางในวันเปิดทําการศาลปกครองเพชรบุรีตามมาตรา ๓ ให้คงพิจารณาพิพากษาในศาลปกครองกลาง มาตรา ๕ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดเพชรบุรี ให้มีเขตตลอดท้องที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน หน่วยงานทางปกครอง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในท้องที่จังหวัดดังกล่าว และโดยที่มาตรา ๑๙๘ วรรคหนึ่ง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติว่า บรรดาศาลทั้งหลายจะตั้งขึ้นได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ ประกอบกับมาตรา ๘ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติว่า การจัดตั้งและการกําหนดเขตอํานาจของศาลปกครองในภูมิภาค ให้กระทําโดยพระราชบัญญัติ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,335
พระราชบัญญัติว่าด้วยการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ไปร่วมชันสูตรพลิกศพตามมาตรา 148 (3) (4) และ (5) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ไปร่วมชันสูตรพลิกศพ ตามมาตรา ๑๔๘ (๓) (๔) และ (๕) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๕๕๐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ไปร่วมชันสูตรพลิกศพตามมาตรา ๑๔๘ (๓) (๔) และ (๕) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ไปร่วมชันสูตรพลิกศพตามมาตรา ๑๔๘ (๓) (๔) และ (๕) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ขยายระยะเวลาการใช้บังคับมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๒ ออกไปอีกเป็นระยะเวลาตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๔ ให้นําความในมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ในกรณีที่ต้องชันสูตรพลิกศพตามมาตรา ๑๔๘ (๕) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาตั้งแต่วันถัดจากวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาจนถึงกําหนดเวลาตามที่กําหนดตามมาตรา ๓ มาตรา ๕ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ . พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๑) พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติให้ ภายในห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับ ในกรณีที่ต้องชันสูตรพลิกศพตามมาตรา ๑๔๘ (๓) และ (๔) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แพทย์ตามมาตรา ๑๕๐ วรรคหนึ่ง แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อาจมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลหรือเจ้าหน้าที่ในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ผ่านการอบรมทางนิติเวชศาสตร์ไปร่วมชันสูตรพลิกศพในที่เกิดเหตุแทนได้ แต่เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาที่กําหนดแล้ว ยังคงมีข้อจํากัดเกี่ยวกับจํานวนแพทย์ จึงสมควรขยายระยะเวลาดังกล่าวออกไปจากเดิมอีกตามความจําเป็นและโดยที่ยังข้อจํากัดเกี่ยวกับจํานวนแพทย์ดังกล่าว จึงสมควรกําหนดให้มีการมอบหมายการชันสูตรพลิกศพในกรณีการตายโดยยังมิปรากฏตามมาตรา ๑๔๘ (๕) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๑๙) พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๑๒ บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมายและพระราชกฤษฎีกาที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับในส่วนที่กําหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นผู้รักษาการหรือเป็นผู้รักษาการร่วม ให้เปลี่ยนเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเป็นผู้รักษาการหรือเป็นผู้รักษาการร่วม ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในบัญชี ๑ ท้ายพระราชบัญญัตินี้ บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมายและพระราชกฤษฎีกาที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับในส่วนที่กําหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาการหรือเป็นผู้รักษาการร่วม หากเป็นกิจการที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เปลี่ยนเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเป็นผู้รักษาการหรือเป็นผู้รักษาการร่วม บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับในส่วนที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เพิ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเป็นผู้รักษาการร่วม ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในบัญชี ๒ ท้ายพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๗ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสําคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญเติบโตอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สมควรจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมขึ้น เพื่อให้มีการบูรณาการ การเรียนการสอน การวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่นเข้าด้วยกัน และให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยในทิศทางที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผน และนโยบายในการพัฒนาประเทศ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,336
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่าพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “หน่วยงานทางปกครอง” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย ให้ใช้อํานาจทางปกครองหรือให้ดําเนินกิจการทางปกครอง “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า (๑) ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล หรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง (๒) คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการหรือบุคคลซึ่งมีกฎหมายให้อํานาจในการออกกฎ คําสั่ง หรือมติใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อบุคคล และ (๓) บุคคลที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือในกํากับดูแลของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตาม (๑) หรือ (๒) “คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท” หมายความว่า คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองค์กรและวิธีพิจารณาสําหรับการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย “ตุลาการศาลปกครอง” หมายความว่า ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น “ก.ศป.” หมายความว่า คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง “ก.บ.ศป.”หมายความว่า คณะกรรมการบริหารศาลปกครอง “ก.ขป.” หมายความว่า คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง “คู่กรณี” หมายความว่า ผู้ฟ้องคดี ผู้ถูกฟ้องคดี และให้หมายความรวมถึงบุคคล หน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งเข้ามาเป็นคู่กรณีด้วยการร้องสอด ไม่ว่าจะโดยความสมัครใจเอง หรือโดยถูกคําสั่งศาลปกครองเรียกเข้ามาในคดี ทั้งนี้ เนื่องจากเป็นผู้มีส่วนได้เสีย หรืออาจถูกกระทบจากผลแห่งคดีนั้นและเพื่อประโยชน์แห่งการดําเนินกระบวนพิจารณา ให้รวมถึงผู้มีสิทธิกระทําการแทนด้วย “คําฟ้อง” หมายความว่า การเสนอข้อหาต่อศาลไม่ว่าจะได้เสนอต่อศาลปกครองชั้นต้นหรือศาลปกครองสูงสุด ไม่ว่าจะได้เสนอในขณะที่เริ่มคดีโดยคําฟ้องหรือคําร้องขอ หรือเสนอในภายหลัง โดยคําฟ้องเพิ่มเติมหรือแก้ไข หรือฟ้องแย้ง หรือโดยสอดเข้ามาในคดีไม่ว่าด้วยความสมัครใจ หรือถูกบังคับ หรือโดยมีคําขอให้พิจารณาใหม่ “กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ “สัญญาทางปกครอง” หมายความรวมถึง สัญญาที่คู่สัญญาอย่างน้อยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นหน่วยงานทางปกครองหรือเป็นบุคคลซึ่งกระทําการแทนรัฐ และมีลักษณะเป็นสัญญาสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทําบริการสาธารณะหรือจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภคหรือแสวงประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ “ประโยชน์แก่ส่วนรวม” หมายความว่า ประโยชน์ต่อสาธารณะหรือประโยชน์อันเกิดแก่การจัดทําบริการสาธารณะหรือการจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค หรือประโยชน์อื่นใดที่เกิดจากการดําเนินการหรือการกระทําที่มีลักษณะเป็นการส่งเสริมหรือสนับสนุนแก่ประชาชนเป็นส่วนรวมหรือประชาชนส่วนรวมจะได้รับประโยชน์จากการดําเนินการหรือการกระทํานั้น มาตรา ๔ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศที่ออกโดยที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือโดย ก.ศป. หรือโดย ก.ศป. โดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือโดย ก.บ.ศป. หรือโดย ก.ขป. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๖ ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๖ มาตรา ๖๐/๑ มาตรา ๖๖ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๕/๑ มาตรา ๗๕/๒ และมาตรา ๗๕/๔ ต้องส่งให้สภาผู้แทนราษฎรในวันที่ออกระเบียบดังกล่าว เพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบได้ถ้าต่อมามีการเสนอญัตติและสภาผู้แทนราษฎรมีมติภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ส่งระเบียบดังกล่าวให้สภาผู้แทนราษฎรด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ให้ยกเลิกระเบียบใดไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ให้ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดดําเนินการ ให้เป็นไปตามนั้น กําหนดวันตามวรรคหนึ่งให้หมายถึงวันในสมัยประชุม หมวด ๑ การจัดตั้งและเขตอํานาจศาลปกครอง มาตรา ๗ ศาลปกครองแบ่งออกเป็นสองชั้น คือ (๑) ศาลปกครองสูงสุด (๒) ศาลปกครองชั้นต้น ได้แก่ (ก) ศาลปกครองกลาง (ข) ศาลปกครองในภูมิภาค ศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้นอาจแบ่งเป็นแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นและจะให้มีอํานาจในคดีประเภทใดหรือคดีในท้องที่ใดซึ่งอยู่ในเขตอํานาจของแต่ละศาลนั้น แยกต่างหากโดยเฉพาะก็ได้ ทั้งนี้ ให้ออกเป็นประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.บ.ศป. ประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดตามวรรคสอง เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๗/๑ ในกรณีที่มีการจัดตั้งแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นขึ้นในศาลปกครองสูงสุดหรือศาลปกครองชั้นต้นใด ให้มีตุลาการหัวหน้าแผนกหรือตุลาการหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นนั้นแผนกหรือหน่วยงานละหนึ่งคนเพื่อรับผิดชอบงานของแผนกหรือหน่วยงานดังกล่าว ทั้งนี้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.บ.ศป. กําหนด มาตรา ๘ ให้จัดตั้งศาลปกครองสูงสุดขึ้นมีที่ตั้งในกรุงเทพมหานครหรือในจังหวัดใกล้เคียง ให้จัดตั้งศาลปกครองกลางขึ้นมีที่ตั้งในกรุงเทพมหานครหรือในจังหวัดใกล้เคียงโดยมีเขตตลอดท้องที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดราชบุรี จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร ในระหว่างที่ศาลปกครองในภูมิภาคยังมิได้มีเขตอํานาจในท้องที่ใดให้ศาลปกครองกลางมีเขตอํานาจในท้องที่นั้นด้วย บรรดาคดีที่เกิดขึ้นนอกเขตอํานาจศาลปกครองกลางตามวรรคสองและวรรคสาม จะยื่นฟ้องต่อศาลปกครองกลางก็ได้ ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลพินิจของศาลนั้นที่จะไม่รับพิจารณาพิพากษาคดีที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นได้ เว้นแต่คดีที่โอนมาตามหลักเกณฑ์ของการพิจารณาคดีปกครอง การจัดตั้งและการกําหนดเขตอํานาจของศาลปกครองในภูมิภาค ให้กระทําโดยพระราชบัญญัติ โดยคํานึงถึงปริมาณคดีและการบริหารบุคลากรของศาลปกครองโดยจะกําหนดให้เขตอํานาจศาลปกครองในภูมิภาคครอบคลุมเขตการปกครองหลายจังหวัดก็ได้ ศาลปกครองสูงสุด ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองในภูมิภาคจะเปิดทําการเมื่อใดให้ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.บ.ศป. ประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดวันเปิดทําการของศาลปกครอง มาตรา ๘/๑ การเปลี่ยนแปลงเขตท้องที่ที่ศาลปกครองชั้นต้นมีเขตอํานาจ ในกรณีที่มีความจําเป็นเพื่อประโยชน์ในการอํานวยความยุติธรรมแก่ประชาชน โดยคํานึงถึงสิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การบริหารจัดการคดี และระยะเวลาพิจารณาพิพากษาคดี ให้กระทําโดยข้อเสนอของ ก.บ.ศป. และตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๙ ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทําการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายไม่ว่าจะเป็นการออกกฎ คําสั่งหรือการกระทําอื่นใดเนื่องจากกระทําโดยไม่มีอํานาจหรือนอกเหนืออํานาจหน้าที่หรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือโดยไม่ถูกต้องตามรูปแบบขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระสําคัญที่กําหนดไว้สําหรับการกระทํานั้น หรือโดยไม่สุจริต หรือมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม หรือมีลักษณะเป็นการสร้างขั้นตอนโดยไม่จําเป็นหรือสร้างภาระให้เกิดกับประชาชนเกินสมควร หรือเป็นการใช้ดุลพินิจโดยมิชอบ (๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกําหนดให้ต้องปฏิบัติ หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร (๓) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจากการใช้อํานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ คําสั่งทางปกครอง หรือคําสั่งอื่น หรือจากการละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกําหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร (๔) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง (๕) คดีที่มีกฎหมายกําหนดให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐฟ้องคดีต่อศาลเพื่อบังคับให้บุคคล ต้องกระทํา หรือละเว้นกระทําอย่างหนึ่งอย่างใด (๖) คดีพิพาทเกี่ยวกับเรื่องที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในเขตอํานาจศาลปกครอง เรื่องดังต่อไปนี้ไม่อยู่ในอํานาจศาลปกครอง (๑) การดําเนินการเกี่ยวกับวินัยทหาร (๒) การดําเนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการ (๓) คดีที่อยู่ในอํานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ศาลล้มละลาย หรือศาลชํานัญพิเศษอื่น มาตรา ๑๐ ศาลปกครองชั้นต้นมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อยู่ในอํานาจศาลปกครองเว้นแต่คดีที่อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๑๑ ศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดี ดังต่อไปนี้ (๑)คดีพิพาทเกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทตามที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดประกาศกําหนด (๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับความชอบด้วยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา หรือกฎที่ออกโดยคณะรัฐมนตรี หรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (๓) คดีที่มีกฎหมายกําหนดให้อยู่ในอํานาจศาลปกครองสูงสุด (๔) คดีที่อุทธรณ์คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองชั้นต้น หมวด ๒ ตุลาการศาลปกครอง มาตรา ๑๑/๑ ข้าราชการศาลปกครอง มีดังนี้ (๑) ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง คือ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๒ ตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๑๗ และตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๑๙ (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง คือ ข้าราชการในสํานักงานศาลปกครองซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามมาตรา ๗๘ หรือมาตรา ๗๘/๑ หรือได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามมาตรา ๘๗ มาตรา ๑๒ ในศาลปกครองสูงสุด ให้มีตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ดังต่อไปนี้ (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุด (๒) รองประธานศาลปกครองสูงสุด (๓) ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด (๔) ตุลาการศาลปกครองสูงสุด (๕) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด ทั้งนี้ ตามจํานวนที่ ก.ศป. กําหนด การกําหนดตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง (๕) ให้ ก.ศป. กําหนดว่าจะให้เทียบเท่ากับตําแหน่งใดตามวรรคหนึ่ง (๒) (๓) หรือ (๔) ไว้ในประกาศดังกล่าวด้วย และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๑๓ ผู้ที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการในศาลปกครองสูงสุดต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสี่สิบห้าปี (๓) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือในการบริหารราชการแผ่นดิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ศป. กําหนด และ (๔) มีคุณสมบัติอื่นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (ก) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการร่างกฎหมาย กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ หรือกรรมการกฤษฎีกา (ข) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น (ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้พิพากษาศาลฎีกาหรือเทียบเท่า หรือตุลาการพระธรรมนูญศาลทหารสูงสุด (ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าอัยการพิเศษประจําเขตหรือเทียบเท่า (จ) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าอธิบดีหรือเทียบเท่าหรือตําแหน่งอื่นในหน่วยงานของรัฐที่เทียบเท่าตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด (ฉ) เป็นหรือเคยเป็นผู้สอนวิชาในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือวิชาที่เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินในสถาบันอุดมศึกษาและดํารงตําแหน่งหรือเคยดํารงตําแหน่งศาสตราจารย์หรือศาสตราจารย์พิเศษ (ช) เป็นหรือเคยเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่น้อยกว่ายี่สิบปี และมีประสบการณ์ในคดีปกครองตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด มาตรา ๑๔ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามในขณะดํารงตําแหน่ง ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นข้าราชการอื่นซึ่งมีตําแหน่งหรือเงินเดือนประจํา (๒) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐหรือบุคคลใด (๓) เป็นผู้ดํารงตําแหน่งในทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (๔) เป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจ (๕) เป็นกรรมการในหน่วยงานของรัฐ เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจาก ก.ศป. (๖) เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือที่ปรึกษา หรือดํารงตําแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายกันในห้างหุ้นส่วนบริษัท (๗) เป็นทนายความหรือประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอย่างอื่นหรือดํารงตําแหน่งหรือประกอบการใด ๆ อันขัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนด มาตรา ๑๕ การแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด ก.ศป. อาจดําเนินการได้โดยวิธีการดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณาเลื่อนตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นซึ่งดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น โดยคํานึงถึงหลักอาวุโส ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ ความเหมาะสม ประวัติและผลงานการปฏิบัติราชการ (๒) พิจารณาคัดเลือกบุคคลซึ่งมิได้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองในขณะนั้น โดยมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๓ และมีความเหมาะสมที่จะแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด การแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุดตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงสัดส่วนของผู้ที่ได้รับการคัดเลือกตามวรรคหนึ่ง (๒) โดยให้มีจํานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทั้งหมด ให้ ก.ศป. เสนอรายชื่อผู้ได้รับการเลื่อนตามวรรคหนึ่ง (๑) หรือได้รับการคัดเลือกตามวรรคหนึ่ง (๒) ต่อนายกรัฐมนตรี และให้นายกรัฐมนตรีนํารายชื่อดังกล่าวเสนอขอความเห็นชอบต่อวุฒิสภาภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับรายชื่อ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๑๕/๑ ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคนหนึ่งเป็นประธานศาลปกครองสูงสุด แล้วเสนอชื่อต่อนายกรัฐมนตรี และให้นายกรัฐมนตรีนําเสนอขอความเห็นชอบต่อวุฒิสภาภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอชื่อ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง การแต่งตั้งและการเลื่อนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดให้ดํารงตําแหน่งรองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด และตุลาการศาลปกครองสูงสุด หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกแล้วเสนอรายชื่อต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง วิธีการคัดเลือกประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด และตุลาการศาลปกครองสูงสุด หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๑๕/๒ ประธานศาลปกครองสูงสุดมีวาระการดํารงตําแหน่งสี่ปี นับแต่วันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง และให้ดํารงตําแหน่งได้เพียงวาระเดียว ในกรณีที่ประธานศาลปกครองสูงสุดดํารงตําแหน่งครบวาระ และยังไม่พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ (๓) ให้แต่งตั้งผู้นั้นดํารงตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในตําแหน่งอื่นตามที่ ก.ศป. กําหนด โดยให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งในอัตราที่ไม่ต่ํากว่าเดิม ในกรณีที่ประธานศาลปกครองสูงสุดลาออกจากตําแหน่งก่อนครบวาระตามวรรคหนึ่งและยังไม่พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ (๓) ก.ศป. อาจแต่งตั้งผู้นั้นให้ดํารงตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดในตําแหน่งอื่น โดยให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งในอัตราที่ ก.ศป. กําหนดก็ได้ มาตรา ๑๖ ผู้ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภาให้ดํารงตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดผู้ใดมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๔ ต้องลาออกจากการที่เป็นบุคคลซึ่งมีลักษณะต้องห้ามหรือแสดงหลักฐานให้เป็นที่เชื่อได้ว่าตนได้เลิกประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือการใด ๆ อันมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวแล้วต่อนายกรัฐมนตรีภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่วุฒิสภาให้ความเห็นชอบ มาตรา ๑๗ ในศาลปกครองชั้นต้นแต่ละศาล ให้มีตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ดังต่อไปนี้ (๑) อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น (๒) รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น (๓) ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น (๔) ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น (๕) ตุลาการศาลปกครองชั้นต้นที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด ทั้งนี้ ตามจํานวนที่ ก.ศป. กําหนด การกําหนดตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง (๕) ให้ ก.ศป. กําหนดว่าจะให้เทียบเท่ากับตําแหน่งใดตามวรรคหนึ่งไว้ในประกาศดังกล่าวด้วย และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ มาตรา ๑๘ ผู้ที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสามสิบห้าปี (๓) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือในการบริหารราชการแผ่นดิน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ศป. กําหนด และ (๔) มีคุณสมบัติอื่นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (ก)(ยกเลิก) (ข) รับราชการหรือเคยรับราชการไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งพนักงานคดีปกครองในระดับที่ ก.ศป. กําหนด (ค) รับราชการหรือเคยรับราชการไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้พิพากษาศาลชั้นต้นหรือเทียบเท่า ซึ่งได้รับเงินเดือนในชั้น ๓ หรือตุลาการพระธรรมนูญศาลทหารกลาง (ง) รับราชการหรือเคยรับราชการไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งอัยการจังหวัดหรือเทียบเท่า (จ) รับราชการหรือเคยรับราชการไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าข้าราชการพลเรือนระดับ ๘ หรือข้าราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ประเภทอํานวยการ หรือประเภทบริหาร หรือปฏิบัติงานหรือเคยปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งที่เทียบเท่าตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด ในหน่วยงานของรัฐ องค์การมหาชน หรือรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา (ฉ) เป็นหรือเคยเป็นผู้สอนวิชาในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือวิชาที่เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินในสถาบันอุดมศึกษา และดํารงตําแหน่งหรือเคยดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่ารองศาสตราจารย์หรือรองศาสตราจารย์พิเศษไม่น้อยกว่าสามปี (ช) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกด้านนิติศาสตร์สาขากฎหมายมหาชนและรับราชการในหน่วยงานของรัฐหรือปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ องค์การมหาชน หรือรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบปีนับแต่สําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท หรือไม่น้อยกว่าหกปีนับแต่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก (ซ) เป็นหรือเคยเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทนายความไม่น้อยกว่าสิบสองปี และมีประสบการณ์ในคดีปกครองตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด ให้นําความในมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับแก่ตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นโดยอนุโลม มาตรา ๑๙ ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ และมีความเหมาะสมที่จะแต่งตั้งเป็นตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้น โดยวิธีการสอบคัดเลือก การทดสอบความรู้ หรือการคัดเลือก ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด การฝึกอบรมและการปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนด ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นซึ่งผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่ ก.ศป. กําหนด และผลการฝึกอบรมเป็นไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. ว่าเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ และความประพฤติเหมาะสมที่จะเป็นตุลาการศาลปกครอง เพื่อแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น แล้วเสนอรายชื่อต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นผู้ใดไม่เหมาะสมที่จะเป็นตุลาการศาลปกครองชั้นต้นหรือผลการฝึกอบรมไม่เป็นไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. มีอํานาจสั่งให้ออกจากราชการ หรือดําเนินการเพื่อให้มีการโอนไปเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองได้ ให้นําความในมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๖ มาใช้บังคับกับตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นโดยอนุโลม มาตรา ๑๙/๑ การย้ายและการเลื่อนตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นให้ดํารงตําแหน่งอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดี ศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น และตุลาการศาลปกครองชั้นต้น หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือก แล้วเสนอรายชื่อต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง วิธีการคัดเลือกอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น และตุลาการศาลปกครองชั้นต้น หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๒๐ ก่อนเข้ารับหน้าที่ตุลาการศาลปกครองครั้งแรก ตุลาการศาลปกครองต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคําดังต่อไปนี้ “ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้า จะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ในพระปรมาภิไธยด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยปราศจากอคติทั้งปวง เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน และความสงบสุขแห่งราชอาณาจักร ทั้งจะรักษาไว้และปฏิบัติตาม ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและกฎหมายทุกประการ” มาตรา ๒๑ ตุลาการศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) สิ้นปีงบประมาณที่ตุลาการศาลปกครองผู้นั้นมีอายุครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ เว้นแต่ จะผ่านการประเมินสมรรถภาพให้ดํารงตําแหน่งต่อไปตามมาตรา ๓๑ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๘ (๕) เป็นบุคคลล้มละลาย (๖) เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ (๗) เป็นโรคหรือมีกายหรือจิตใจไม่เหมาะสมที่จะเป็นตุลาการศาลปกครองตามที่ระบุไว้ในประกาศที่ ก.ศป. กําหนดโดยได้รับความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (๘) ถูกสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา ๒๒ (๙) ถูกไล่ออกตามมาตรา ๒๓ (๑๐)โอนไปรับราชการเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองหรือข้าราชการฝ่ายอื่น การพ้นจากตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง ให้นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พ้นจากตําแหน่ง เว้นแต่การพ้นจากตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง (๑) (๓) (๘) และ (๙) ให้นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ มาตรา ๒๒ ตุลาการศาลปกครองต้องประพฤติตนตามวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครองตามที่ ก.ศป. กําหนด ก.ศป. อาจมีมติให้ตุลาการศาลปกครองผู้ใดออกจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ แล้วแต่กรณี ได้ในกรณีที่กฎหมายดังกล่าวบัญญัติให้ผู้ถูกสั่งให้ออกมีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญ แต่การให้ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนให้ทําได้ในกรณีดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ปฏิบัติหน้าที่บกพร่องอย่างร้ายแรงหรือประพฤติตนไม่สมควรตามที่กําหนดในวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครอง (๒) หย่อนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือเจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการได้โดยสม่ําเสมอแต่ไม่ถึงเหตุทุพพลภาพ (๓) ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดอันได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ในกรณีที่ ก.ศป. มีมติให้ตุลาการศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งตามมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) ให้มีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ แล้วแต่กรณี ด้วย มาตรา ๒๓ ก.ศป. อาจมีมติไล่ตุลาการศาลปกครองออกได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ (๒) กระทําผิดวินัยอย่างร้ายแรงตามที่กําหนดในวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครอง (๓) ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ มาตรา ๒๓/๑ ในกรณีที่ข้าราชการตุลาการศาลปกครองกระทําผิดวินัยไม่ถึงขั้นที่จะต้องให้ออกหรือไล่ออก ก.ศป. อาจมีมติให้ลงโทษงดเลื่อนตําแหน่ง หรืองดเลื่อนเงินเดือนเป็นเวลาไม่เกินสามปีหรือถ้ามีเหตุสมควรปรานีจะสั่งลงโทษเพียงภาคทัณฑ์และจะให้ทําทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือนด้วยก็ได้ การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน วิธีการสอบสวน และสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๒๔ ในการพิจารณาให้ข้าราชการตุลาการศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งโดยถูกสั่งให้ออกจากราชการตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๑) หรือ (๒) หรือตามมาตรา ๒๒ วรรคสาม ประกอบกับมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๔) หรือ (๗) หรือโดยถูกไล่ออกตามมาตรา ๒๓ (๑) หรือ (๒) ให้ ก.ศป. แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ประกอบด้วย ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสี่คนและเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนหรือรองเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนที่เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมอบหมายจํานวนหนึ่งคนเป็นกรรมการเพื่อทําการสอบสวน ในการสอบสวนให้คณะกรรมการสอบสวนมีอํานาจเรียกให้หน่วยงานทางปกครองหรือบุคคลใดให้ข้อเท็จจริง ให้ถ้อยคํา หรือให้ส่งเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวกับเรื่องที่สอบสวนได้ ในระหว่างการสอบสวนหรือพิจารณาตามวรรคหนึ่ง ถ้า ก.ศป. เห็นว่าการให้ผู้ถูกสอบสวนหรือพิจารณาปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการจะมีมติให้พักราชการก็ได้ การให้พักราชการนั้น ให้พักตลอดเวลาที่สอบสวนหรือพิจารณา เมื่อสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จแล้ว ถ้าปรากฏว่าผู้ถูกให้พักราชการมิได้กระทําการตามที่ถูกสอบสวนหรือพิจารณา ก็ให้ผู้นั้นคงอยู่ในราชการตามเดิม วิธีการสอบสวนและสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๒๔/๑ ข้าราชการตุลาการศาลปกครองซึ่งมาจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการฝ่ายอื่น หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นของรัฐผู้ใดมีกรณีกระทําผิดวินัยอยู่ก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ให้ ก.ศป. เป็นผู้พิจารณาดําเนินการทางวินัยแก่ผู้นั้นตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครองโดยอนุโลม แต่ถ้าเรื่องอยู่ระหว่างการสืบสวนหรือสอบสวนทางวินัยก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งก็ให้สืบสวนหรือสอบสวนต่อไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดจนแล้วเสร็จ แล้วส่งเรื่องให้ ก.ศป. พิจารณาดําเนินการทางวินัยต่อไปตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครองโดยอนุโลม และในกรณีที่จะต้องสั่งลงโทษทางวินัยให้พิจารณาตามความผิดและลงโทษตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยของข้าราชการฝ่ายศาลปกครองกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอื่น หรือกฎหมายเกี่ยวกับวินัยของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นของรัฐที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดนั้น แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม มาตรา ๒๕ ตุลาการศาลปกครองผู้ใดพ้นจากตําแหน่งไปโดยมิได้มีความผิดและมิใช่เป็นการพ้นจากตําแหน่งตามมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) หรือ (๙) ก.ศป. อาจพิจารณาคัดเลือกผู้นั้นให้กลับเข้ารับราชการเป็นตุลาการศาลปกครองในตําแหน่งไม่สูงกว่าตําแหน่งเดิมหรือเทียบเท่าก็ได้ ถ้าผู้นั้นมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี และยังมีอายุไม่ครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ในวันสิ้นปีงบประมาณนั้น หรือยังมีอายุไม่ครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ ในวันสิ้นปีงบประมาณนั้นในกรณีที่เป็นผู้ซึ่งที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกให้ไปดํารงตําแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ หากผู้นั้นมีอายุครบเกณฑ์ที่จะต้องประเมินสมรรถภาพตามมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่งแล้ว แต่ยังไม่เคยผ่านการประเมินสมรรถภาพ ให้จัดให้มีการประเมิน สมรรถภาพได้ แม้จะมีอายุล่วงเลยการประเมินสมรรถภาพตามมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง แล้วก็ตาม ตุลาการศาลปกครองซึ่งโอนไปดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ถ้าต้องโอนกลับเข้าดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองเพราะเหตุที่ครบวาระการดํารงตําแหน่งตามมาตรา ๗๘/๑ วรรคสองหรือยื่นความประสงค์ขอโอนกลับก่อนครบวาระ และผู้นั้นมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี ให้ ก.ศป. พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ดํารงตําแหน่งในลําดับอาวุโสที่เคยครองโดยให้ได้รับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่น ในชั้นเดียวกับตุลาการศาลปกครองที่อยู่ในลําดับอาวุโสเท่ากันในขณะที่ผู้นั้นดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ในกรณีที่ผู้ซึ่งได้รับการคัดเลือกให้กลับเข้ารับราชการตามวรรคหนึ่ง หรือผู้ซึ่งได้รับความเห็นชอบให้โอนกลับเข้าดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามวรรคสอง มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๔ ให้นําความในมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๘ วรรคสอง แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับโดยอนุโลม ให้นําความในมาตรา ๑๕ วรรคสาม หรือมาตรา ๑๙ วรรคสาม แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับแก่การคัดเลือกให้กลับเข้ารับราชการเป็นตุลาการศาลปกครองตามวรรคหนึ่งหรือการโอนกลับเข้าดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามวรรคสอง โดยอนุโลม มาตรา ๒๖ ตุลาการศาลปกครองผู้ใดประสงค์จะลาออกจากราชการ ให้ยื่นหนังสือขอลาออก เมื่อประธานศาลปกครองสูงสุดสั่งอนุญาตแล้วให้ถือว่าพ้นจากตําแหน่ง ในกรณีที่ตุลาการศาลปกครองลาออกเพื่อดํารงตําแหน่งที่กําหนดโดยรัฐธรรมนูญตําแหน่งทางการเมือง หรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้ง ให้การลาออกมีผลตั้งแต่วันที่ผู้นั้นลาออก นอกจากกรณีตามวรรคสอง ถ้าประธานศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าจําเป็น เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ จะยับยั้งการอนุญาตให้ลาออกไว้เป็นเวลาไม่เกินสามเดือน นับแต่วันที่ขอลาออกก็ได้ มาตรา ๒๖/๑ การโอนข้าราชการตุลาการศาลปกครองผู้ใดไปเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองหรือข้าราชการฝ่ายอื่น ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดสั่งได้เมื่อข้าราชการตุลาการศาลปกครองผู้นั้นยินยอมและได้รับความเห็นชอบจาก ก.ศป. มาตรา ๒๗ การย้ายตุลาการศาลปกครองผู้ใดไปดํารงตําแหน่งอื่นในศาลปกครองจะต้องได้รับความยินยอมจากตุลาการศาลปกครองผู้นั้น และให้ประธานศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจแต่งตั้งได้โดยความเห็นชอบของ ก.ศป. ตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการเลื่อนตําแหน่งให้สูงขึ้น หรือเป็นการย้ายประจําปี หรือเป็นกรณีที่อยู่ในระหว่างถูกดําเนินการทางวินัย หรือตกเป็นจําเลยในคดีอาญาที่ศาลมีคําสั่งประทับฟ้องแล้ว มาตรา ๒๘ ประธานศาลปกครองสูงสุดต้องรับผิดชอบให้งานของศาลปกครองเป็นไปโดยเรียบร้อยตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือระเบียบที่ ก.บ.ศป. กําหนด แล้วแต่กรณี โดยมีรองประธานศาลปกครองสูงสุดช่วยปฏิบัติหน้าที่ตามที่ประธานศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย อธิบดีศาลปกครองชั้นต้นต้องรับผิดชอบให้งานของศาลนั้นเป็นไปโดยเรียบร้อยตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือระเบียบที่ ก.บ.ศป. กําหนดแล้วแต่กรณี โดยมีรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นช่วยปฏิบัติหน้าที่ตามที่อธิบดีศาลปกครองชั้นต้นมอบหมาย ในกรณีที่ตําแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้นว่างลง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานศาลปกครองสูงสุดหรือรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น หรือตุลาการศาลปกครองอื่น แล้วแต่กรณี ปฏิบัติหน้าที่แทนตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนย่อมมีอํานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน มาตรา ๒๙ การเปลี่ยนแปลงตุลาการศาลปกครองในองค์คณะหนึ่งองค์คณะใดเนื่องจากตุลาการศาลปกครองผู้ใดพ้นจากตําแหน่ง ถูกพักราชการ ได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งอื่น เจ็บป่วย หรือมีเหตุจําเป็นอื่นทําให้ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้เป็นไปตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดกําหนด ตุลาการศาลปกครองซึ่งเข้ามาแทนที่ตามวรรคหนึ่ง ให้มีอํานาจตรวจสํานวนและลงลายมือชื่อในคําพิพากษาได้ มาตรา ๓๐ อัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของตุลาการศาลปกครองให้เป็นไปตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ตุลาการศาลปกครองให้ได้รับเงินเดือนตามตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง ดังต่อไปนี้ (๑) ในศาลปกครองสูงสุด (ก) ประธานศาลปกครองสูงสุด ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๔ (ข) รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด และตุลาการศาลปกครองสูงสุด ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๓ ขั้นสูงสุด (๒) ในศาลปกครองชั้นต้น (ก) อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๓ ขั้นสูงสุด (ข) รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นและตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๒ - ๓ โดยให้เริ่มรับเงินเดือนในชั้น ๒ และเมื่ออยู่ในชั้น ๒ มาครบเจ็ดปีแล้วให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น๓ (ค) ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๑ - ๓ โดยให้เริ่มรับเงินเดือน ในชั้น ๑ เมื่ออยู่ในชั้น ๑ มาครบหนึ่งปีแล้วให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๒ และเมื่ออยู่ในชั้น ๒ มาครบเจ็ดปีแล้วให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๓ ให้ตุลาการศาลปกครองได้รับเงินประจําตําแหน่งตามตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งดังกล่าว ตุลาการศาลปกครองให้ได้รับค่าพาหนะเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่นในกรณีเดินทางไปราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เพื่อประโยชน์ในการรับบําเหน็จบํานาญ ให้ตุลาการศาลปกครองเป็นข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ในการนี้ ให้สํานักงานศาลปกครองเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมการเกษียณอายุของตุลาการศาลปกครอง ในกรณีที่สมควรปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าการปรับอัตราเงินเดือนดังกล่าวเป็นการปรับเพิ่มเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราและไม่เกินร้อยละสิบของอัตราที่ใช้บังคับอยู่ การปรับให้กระทําโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ถือว่าบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งท้ายพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวเป็นบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งท้ายพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในกรณีที่การปรับเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราดังกล่าว หากทําให้อัตราหนึ่งอัตราใดมีเศษไม่ถึงสิบบาทให้ปรับตัวเลขเงินเดือนของอัตราดังกล่าวให้เพิ่มขึ้นเป็นสิบบาท และมิให้ถือว่าเป็นการปรับอัตราร้อยละที่แตกต่างกัน ตุลาการศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น เมื่อเทียบกับตําแหน่งใดตามวรรคสอง (๑) (ข) หรือ (๒) (ก) (ข) หรือ (ค) แล้ว ให้ได้รับเงินเดือน การเลื่อนชั้นเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งรวมทั้งประโยชน์ตอบแทนอื่นตามตําแหน่งนั้น มาตรา ๓๐/๑ ตุลาการศาลปกครองอาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.บ.ศป. กําหนด ในกรณีที่มีเหตุจะต้องจัดให้มีหรือปรับปรุงเงินเพิ่มค่าครองชีพตามวรรคหนึ่งให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองรายงานไปยังคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาดําเนินการต่อไป มาตรา ๓๐/๒ ตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๑ และให้ได้รับประโยชน์ตอบแทนอื่นเช่นเดียวกับตุลาการศาลปกครองชั้นต้น แต่ไม่มีสิทธิได้รับเงินประจําตําแหน่ง ให้นําความในมาตรา ๓๐ วรรคสี่และวรรคห้า มาใช้บังคับกับตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นโดยอนุโลม มาตรา ๓๑ ให้ ก.ศป. จัดให้มีการประเมินสมรรถภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการศาลปกครองที่จะมีอายุครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ในปีงบประมาณถัดไป หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถภาพในการปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ตุลาการศาลปกครองซึ่งผ่านการประเมินสมรรถภาพตามวรรคหนึ่งให้ดํารงตําแหน่งต่อไปได้จนถึงวันสิ้นปีงบประมาณที่ผู้นั้นมีอายุครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ มาตรา ๓๒ ในกรณีที่ข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครอง เพื่อประโยชน์ในการรับบําเหน็จบํานาญ ให้ถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผู้นั้นในขณะที่เป็นข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นเวลาราชการของตุลาการศาลปกครองผู้นั้น และให้นํากฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๓๓ เครื่องแบบข้าราชการตุลาการศาลปกครองและระเบียบการแต่งกายให้เป็นไปตามที่ ก.บ.ศป. ประกาศกําหนด มาตรา ๓๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้ตุลาการศาลปกครองเป็นเจ้าพนักงานในตําแหน่งตุลาการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔/๑ การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีซึ่งตุลาการศาลปกครองได้กระทําโดยสุจริตย่อมได้รับความคุ้มครอง หมวด ๓ คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง มาตรา ๓๕ ให้มีคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “ก.ศป.” ประกอบด้วย (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนสิบคน ดังนี้ (ก) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนหกคนซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (ข) ตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสี่คนซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น (๓) กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็นตุลาการในศาลปกครองจํานวนสองคน ที่ได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุดและตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นเลขานุการของ ก.ศป. และให้ ก.ศป. แต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจํานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๓๕/๑ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓)ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสี่สิบห้าปี (๓) สําเร็จการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (๔) ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือกรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมหรือศาลอื่น (๕) ไม่เป็นข้าราชการอัยการ ข้าราชการตํารวจ ข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม ตุลาการศาลทหาร หรือทนายความ (๖) ไม่เป็นกรรมการ ที่ปรึกษา พนักงาน ลูกจ้าง หรือดํารงตําแหน่งใดในรัฐวิสาหกิจ (๗) ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี (๘) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย หรือไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๙) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ (๑๐) ไม่เคยต้องรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๑๑) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (๑๒) ไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (๑๓) ไม่ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอื่นใดอันเป็นการกระทบกระเทือนถึงการปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ มาตรา ๓๕/๒ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) จะดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) หรือกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) ในเวลาเดียวกันมิได้ มาตรา ๓๖ การเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) ให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ ในการนี้ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองจัดทําบัญชีรายชื่อบุคคลผู้มีสิทธิได้รับเลือก โดยแยกเป็นประเภทตุลาการในศาลปกครองสูงสุดและตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น ส่งไปยังตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น แล้วแต่กรณี และให้แจ้งกําหนดวัน เวลา และสถานที่ที่จะทําการเลือกไปด้วย ให้มีคณะกรรมการดําเนินการเลือก ประกอบด้วย เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ตุลาการศาลปกครองสามคน และคณบดีคณะนิติศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสามคน ซึ่งประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นผู้คัดเลือก เป็นกรรมการ มีหน้าที่ในการดําเนินการเกี่ยวกับการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง การตรวจนับคะแนนและการประกาศผลการเลือก ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรับผิดชอบดูแลให้การเลือกเป็นไปโดยถูกต้องและเรียบร้อย ให้ผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) เข้ารับหน้าที่เมื่อประธานศาลปกครองสูงสุดได้ประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ และให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองดําเนินการประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือก ในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓๗ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศรับสมัครบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕/๑ เข้ารับการเลือกเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) โดยให้คณะกรรมการดําเนินการเลือกตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือก แล้วจัดทําบัญชีรายชื่อบุคคลผู้มีสิทธิได้รับเลือกส่งไปยังตุลาการในศาลปกครองสูงสุดและตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น และให้แจ้งกําหนดวัน เวลา และสถานที่ ที่จะทําการเลือกไปด้วย ให้นําความในมาตรา ๓๖ มาใช้บังคับแก่การเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิในวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม มาตรา ๓๘ หลักเกณฑ์และวิธีการเลือก การนับคะแนน และการประกาศผลการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๙/๑ ให้เป็นไปตามที่ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. มาตรา ๓๙ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) ให้อยู่ในตําแหน่งคราวละสองปีโดยอาจได้รับเลือกใหม่ได้อีก แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ ก่อนกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) จะครบวาระเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกสิบวันแต่ไม่เกินเก้าสิบวัน ให้ดําเนินการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ โดยต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จก่อนที่กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิมจะพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ในกรณีจําเป็นที่ไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาดังกล่าวได้ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ต่อไป แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันที่พ้นจากตําแหน่ง มาตรา ๓๙/๑ ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) ว่างลงก่อนครบวาระ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกซ่อมให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลง เว้นแต่วาระการอยู่ในตําแหน่งของกรรมการผู้นั้นจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่ดําเนินการเลือกซ่อมก็ได้ ให้ผู้ได้รับเลือกซ่อมเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งเข้ารับหน้าที่เมื่อประธานศาลปกครองสูงสุดได้ประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกซ่อมเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ และให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองดําเนินการประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกซ่อมในราชกิจจานุเบกษา กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกซ่อมให้อยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน มาตรา ๔๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) พ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออกโดยทําเป็นหนังสือยื่นต่อประธานศาลปกครองสูงสุด (๓) พ้นจากตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น ในกรณีที่เป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕/๑ ในกรณีที่เป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งให้ ก.ศป. เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด มาตรา ๔๐/๑ ให้ ก.ศป. โดยมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการตุลาการศาลปกครองทั้งหมด มีอํานาจออกระเบียบหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการตุลาการศาลปกครองและการอื่น ๆ ที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของ ก.ศป. มาตรา ๔๑ การประชุมของ ก.ศป. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานศาลปกครองสูงสุดไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธาน ศาลปกครองสูงสุดปฏิบัติหน้าที่แทน ถ้าไม่มีรองประธานศาลปกครองสูงสุด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการใน ก.ศป. ว่างลง ให้กรรมการที่เหลือปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ แต่ต้องมีกรรมการเหลือพอที่จะเป็นองค์ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดให้ถือเสียงข้างมาก ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด ให้ ก.ศป. มีอํานาจออกข้อบังคับว่าด้วยการประชุมและการลงมติ ให้ ก.ศป. มีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินการใด ๆ ได้ตามความเหมาะสม มาตรา ๔๑/๑ ในกรณีที่ไม่มีกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) (ก) หรือ (ข) หรือ (๓) หรือมีแต่ไม่ครบจํานวน ถ้ากรรมการตุลาการศาลปกครอง จํานวนไม่น้อยกว่าหกคน เห็นว่าเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องให้ความเห็นชอบ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองเท่าที่มีอยู่เป็น ก.ศป. พิจารณาเรื่องเร่งด่วนนั้นได้ หมวด ๓/๑ คณะกรรมการบริหารศาลปกครอง มาตรา ๔๑/๒ ให้มีคณะกรรมการบริหารศาลปกครองคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “ก.บ.ศป.”ประกอบด้วย (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธานกรรมการ (๒) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา และเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนเป็นกรรมการ (๓) กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนแปดคน ดังนี้ (ก) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนสี่คน ซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (ข) ตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสี่คน ซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น (๔) กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองในระดับไม่ต่ํากว่าตําแหน่งที่ ก.ศป. กําหนดจํานวนสองคน ซึ่งได้รับเลือกจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ตามวิธีการที่ ก.ศป. ประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (๕) กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิด้านการงบประมาณ ด้านการพัฒนาองค์กรและด้านการบริหารจัดการ ที่ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นข้าราชการศาลปกครองด้านละหนึ่งคน ซึ่งได้รับเลือกจากประธานกรรมการและกรรมการตาม (๒) (๓) และ (๔) ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นกรรมการและเลขานุการและให้รองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมายเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๔๑/๓ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) จะดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) หรือกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) ในเวลาเดียวกันมิได้ มาตรา ๔๑/๔ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๕) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสี่สิบปี (๓) ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกคําสั่งให้พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (๔) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย หรือไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๕) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ (๖) ไม่เคยต้องรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (๘) ไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง มาตรา ๔๑/๕ ให้มีคณะกรรมการดําเนินการเลือกกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) ประกอบด้วย ตุลาการศาลปกครองซึ่งประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นผู้คัดเลือกจํานวนสี่คน และเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง เป็นกรรมการ มีหน้าที่ดําเนินการเกี่ยวกับการเลือก การตรวจนับคะแนน และการประกาศผลการเลือกดังกล่าว ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ ให้นําความในมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช้บังคับกับกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม มาตรา ๔๑/๖ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) ให้มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับเลือกใหม่ได้ แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้ ก่อนกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิจะครบวาระเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกสิบวันให้ดําเนินการเลือกกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิใหม่โดยต้องแล้วเสร็จก่อนที่กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิมจะพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ในกรณีจําเป็นที่ไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาดังกล่าวได้ ให้กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ต่อไป แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินสามสิบวัน ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิว่างลงก่อนครบวาระให้ดําเนินการเพื่อให้มีการเลือกแทนตําแหน่งที่ว่างให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่าง เว้นแต่วาระการดํารงตําแหน่งของกรรมการผู้นั้นจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่ดําเนินการเลือกแทนตําแหน่งที่ว่างก็ได้ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้อยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน มาตรา ๔๑/๗ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) พ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออกโดยทําเป็นหนังสือยื่นต่อประธานศาลปกครองสูงสุด (๓) พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (ข) (๕) ได้รับเลือกให้ดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) (๖) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๑/๔ ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๕) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งให้ ก.บ.ศป. เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด มาตรา ๔๑/๘ ก.บ.ศป. มีอํานาจหน้าที่กํากับดูแลการบริหารราชการศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครองในส่วนที่ไม่อยู่ในอํานาจของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ก.ศป. หรือ ก.ขป. ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ประเพณีปฏิบัติของทางราชการและนโยบายของประธานศาลปกครองสูงสุด โดยให้มีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ออกระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารราชการศาลปกครอง และสํานักงานศาลปกครอง (๒) ออกประกาศแบ่งส่วนราชการภายในของสํานักงานศาลปกครองและกําหนดอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการดังกล่าว (๓) ให้ความเห็นในการเสนอร่างกฎหมายเกี่ยวกับศาลปกครอง (๔) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปีเพื่อดําเนินการตามมาตรา ๙๑ (๕) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการบริหารจัดการงบประมาณของศาลปกครอง (๖) ออกระเบียบเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน รวมทั้งการพัสดุของสํานักงานศาลปกครอง (๖/๑)ออกระเบียบเกี่ยวกับการกําหนดเบี้ยประชุมสําหรับข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ซึ่งเข้าร่วมการประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (๗) ออกระเบียบเกี่ยวกับการจ้างและการแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความรู้ความสามารถอันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของศาลปกครอง รวมทั้งอัตราค่าตอบแทนการจ้างด้วย (๘) ออกระเบียบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์ เงินค่าตอบแทนพิเศษและสิทธิและประโยชน์อื่นของข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง และพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๙) กําหนดวันและเวลาทํางาน วันหยุดราชการและการลาของข้าราชการศาลปกครอง รวมทั้งพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๑๐) กําหนดให้มีตรา สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายใดเพื่อใช้ในการบริหารราชการศาลปกครอง รวมทั้งกําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการทําและใช้ตรา สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายนั้นไว้ด้วย (๑๑) ออกระเบียบเกี่ยวกับการแต่งตั้งกรรมการหรืออนุกรรมการของศาลปกครองหรือสํานักงานศาลปกครอง การกําหนดข้อห้ามบุคคลเป็นกรรมการหรืออนุกรรมการในเวลาเดียวกันเกินจํานวนที่กําหนดและการกําหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอนุกรรมการ เลขานุการ หรือผู้ช่วยเลขานุการ (๑๒) กํากับดูแลการบริหารราชการศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครองให้เป็นไปตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น (๑๓) ยับยั้งการดําเนินการที่ไม่เป็นไปตามระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑ์ที่ออกตามมาตรานี้ (๑๔) พิจารณาเรื่องอื่นใดตามที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ก.ศป. หรือ ก.ขป. ร้องขอ มาตรา ๔๑/๙ การประชุมของ ก.บ.ศป. ให้นําความในมาตรา ๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม หมวด ๔ วิธีพิจารณาคดีปกครอง ส่วน ๑ การฟ้องคดีปกครอง มาตรา ๔๒ ผู้ใดได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้อันเนื่องจากการกระทําหรือการงดเว้นการกระทําของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือกรณีอื่นใดที่อยู่ในเขตอํานาจศาลปกครองตามมาตรา ๙ และการแก้ไขหรือบรรเทาความเดือดร้อนหรือความเสียหายหรือยุติข้อโต้แย้งนั้น ต้องมีคําบังคับตามที่กําหนดในมาตรา ๗๒ ผู้นั้นมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ในกรณีที่มีกฎหมายกําหนดขั้นตอนหรือวิธีการสําหรับการแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายในเรื่องใดไว้โดยเฉพาะ การฟ้องคดีปกครองในเรื่องนั้นจะกระทําได้ต่อเมื่อมีการดําเนินการตามขั้นตอนและวิธีการดังกล่าวและได้มีการสั่งการตามกฎหมายนั้น หรือมิได้มีการสั่งการภายในเวลาอันสมควร หรือภายในเวลาที่กฎหมายนั้นกําหนด มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่ากฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายให้เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครองและให้ศาลปกครองพิจารณาวินิจฉัยโดยไม่ชักช้า ในการเสนอความเห็นดังกล่าวผู้ตรวจการแผ่นดินมีสิทธิและหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีตามมาตรา ๔๒ มาตรา ๔๔ การดําเนินการทั้งปวงเกี่ยวกับการฟ้อง การร้องสอด การเรียกบุคคล หน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้ามาเป็นคู่กรณีในคดี การดําเนินกระบวนพิจารณา การรับฟังพยานหลักฐาน และการพิพากษาคดีปกครอง นอกจากที่บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๔๕ คําฟ้องให้ใช้ถ้อยคําสุภาพและต้องมี (๑) ชื่อและที่อยู่ของผู้ฟ้องคดี (๒) ชื่อหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องอันเป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี (๓) การกระทําทั้งหลายที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี พร้อมทั้งข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ตามสมควรเกี่ยวกับการกระทําดังกล่าว (๔) คําขอของผู้ฟ้องคดี (๕) ลายมือชื่อของผู้ฟ้องคดี ถ้าเป็นการยื่นฟ้องคดีแทนผู้อื่นจะต้องแนบใบมอบฉันทะให้ฟ้องคดีมาด้วย คําฟ้องใดมีรายการไม่ครบตามวรรคหนึ่ง หรือไม่ชัดเจน หรือไม่อาจเข้าใจได้ ให้สํานักงานศาลปกครองให้คําแนะนําแก่ผู้ฟ้องคดีเพื่อดําเนินการแก้ไขเพิ่มเติมคําฟ้องนั้นให้ถูกต้อง ในการนี้ให้ถือวันที่ ยื่นฟ้องครั้งแรกเป็นหลักในการนับอายุความ ในกรณีที่มีผู้ประสงค์จะฟ้องคดีปกครองหลายคนในเหตุเดียวกัน บุคคลเหล่านั้นอาจยื่นคําฟ้องร่วมกันเป็นฉบับเดียว โดยจะมอบหมายให้ผู้ฟ้องคดีคนใดเป็นผู้แทนของผู้ฟ้องคดีทุกคนในการดําเนินคดีต่อไปก็ได้ ในกรณีเช่นว่านี้ให้ถือว่าการกระทําของผู้แทนผู้ฟ้องคดีในกระบวนพิจารณาผูกพันผู้ฟ้องคดีทุกคน การฟ้องคดีไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล เว้นแต่การฟ้องคดีขอให้สั่งให้ใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สินอันสืบเนื่องจากคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) หรือ (๔) ให้เสียค่าธรรมเนียมศาลตามทุนทรัพย์ในอัตราตามที่ระบุไว้ในตาราง ๑ ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง สําหรับคดีที่มีคําขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคํานวณเป็นราคาเงินได้ ในการดําเนินกระบวนพิจารณา คู่กรณีจะดําเนินการทั้งปวงด้วยตนเองหรือจะมอบอํานาจให้ทนายความหรือบุคคลอื่น ซึ่งมีคุณสมบัติตามระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดกําหนดเพื่อฟ้องคดีหรือดําเนินการแทนได้ มาตรา ๔๕/๑ การฟ้องคดีที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลตามมาตรา ๔๕ วรรคสี่ หากคู่กรณีใด ยื่นคําขอต่อศาลโดยอ้างว่า ไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือโดยสถานะของผู้ขอ ถ้าไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร ถ้าศาลเห็นว่ามีข้อเท็จจริงเพียงพอที่จะรับฟ้องไว้พิจารณา หรือในกรณีอุทธรณ์ซึ่งศาลเห็นว่ามีเหตุผลอันสมควรที่จะอุทธรณ์ได้ แล้วแต่กรณี และศาลได้แสวงหาข้อเท็จจริงโดยการไต่สวนหรือโดยวิธีอื่นแล้วเห็นว่ามีเหตุตามคําขอจริง ให้ศาลอนุญาตให้คู่กรณีนั้นดําเนินคดีโดยยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือเฉพาะบางส่วนได้ คําสั่งให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดให้เป็นที่สุด ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลเฉพาะบางส่วน หรือมีคําสั่งให้ยกคําขอ ผู้ยื่นคําขอมีสิทธิดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่ง (๑) ยื่นคําร้องขอให้พิจารณาคําขอนั้นใหม่ เพื่ออนุญาตให้ตนนําพยานหลักฐานมาแสดงเพิ่มเติมว่าไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลได้จริง หรือโดยสถานะของผู้ขอถ้าไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร (๒) ยื่นอุทธรณ์คําสั่งนั้นต่อศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่คู่กรณีใช้สิทธิตาม (๑) หรือ (๒) อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว จะใช้สิทธิอีกประการหนึ่งมิได้ การยื่นคําขอ การพิจารณาคําขอ การขอให้พิจารณาใหม่ การอุทธรณ์และการดําเนินกระบวนพิจารณาอื่นใดที่เกี่ยวกับการขอดําเนินคดีตามวรรคหนึ่งและวรรคสองให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่ออกตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๖ คําฟ้องให้ยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลปกครอง หรือส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียน ในการนี้อาจยื่นคําฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสาร ตามระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และเพื่อประโยชน์ในการนับอายุความ ให้ถือว่า วันที่ส่งคําฟ้องแก่เจ้าพนักงานไปรษณีย์หรือวันที่ส่งคําฟ้องทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสารเป็นวันที่ยื่นคําฟ้องต่อศาลปกครอง มาตรา ๔๗ การฟ้องคดีที่อยู่ในเขตอํานาจของศาลปกครองชั้นต้น ให้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้นที่ผู้ฟ้องคดีมีภูมิลําเนาหรือที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาลปกครองชั้นต้นนั้น การฟ้องคดีที่อยู่ในเขตอํานาจของศาลปกครองสูงสุด ให้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่ศาลปกครองใดพิพากษาว่าคดีที่ฟ้องต่อศาลปกครองนั้นอยู่ในเขตอํานาจของศาลปกครองอื่น ให้ส่งคําฟ้องนั้นไปให้ศาลปกครองที่มีเขตอํานาจเพื่อพิจารณา ในกรณีที่ศาลปกครองชั้นต้นมีความเห็นขัดแย้งกันในเรื่องเขตอํานาจศาล ให้ศาลปกครองที่รับคําฟ้องไว้หลังสุดเสนอความเห็นต่อศาลปกครองสูงสุดเพื่อมีคําสั่งในเรื่องเขตอํานาจศาล การพิจารณาคดีที่ยื่นไว้ต่อศาลปกครองใดจะต้องกระทําในศาลปกครองนั้นตามวันเวลาทําการ เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินหรือจําเป็นหรือเพื่อความสะดวกของคู่กรณี ศาลปกครองจะสั่งให้ดําเนินการพิจารณาในสถานที่อื่นหรือในวันหยุดหรือในวันเวลาใดก็ได้ มาตรา ๔๘ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นผู้ประกาศสถานที่ตั้งและวันเวลาทําการตามปกติของศาลปกครองในราชกิจจานุเบกษา ศาลปกครองแห่งหนึ่ง ๆ อาจมีสถานที่ทําการเฉพาะการได้ตามจํานวนที่เหมาะสมตามที่ประธานศาลปกครองสูงสุดจะได้ประกาศสถานที่ตั้งและวันเวลาทําการของสถานที่ทําการเฉพาะการในราชกิจจานุเบกษา ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจกําหนดให้การยื่นฟ้อง และการดําเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอาจกระทํา ณ สถานที่ทําการเฉพาะการของศาลปกครองก็ได้ มาตรา ๔๙ การฟ้องคดีปกครองจะต้องยื่นฟ้องภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี หรือนับแต่วันที่พ้นกําหนดเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้ฟ้องคดีได้มีหนังสือร้องขอต่อหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกําหนดและไม่ได้รับหนังสือชี้แจงจากหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือได้รับแต่เป็นคําชี้แจงที่ผู้ฟ้องคดีเห็นว่าไม่มีเหตุผล แล้วแต่กรณี เว้นแต่จะมีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดไว้เป็นอย่างอื่น มาตรา ๕๐ คําสั่งใดที่อาจฟ้องต่อศาลปกครองได้ ให้ผู้ออกคําสั่งระบุวิธีการยื่นคําฟ้องและระยะเวลาสําหรับยื่นคําฟ้องไว้ในคําสั่งดังกล่าวด้วย ในกรณีที่ปรากฏต่อผู้ออกคําสั่งใดในภายหลังว่า ตนมิได้ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้นั้นดําเนินการแจ้งข้อความซึ่งพึงระบุตามวรรคหนึ่งให้ผู้รับคําสั่งทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีนี้ให้ระยะเวลาสําหรับยื่นคําฟ้องเริ่มนับใหม่นับแต่วันที่ผู้รับคําสั่งได้รับแจ้งข้อความดังกล่าว ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่ตามวรรคสองและระยะเวลาสําหรับยื่นคําฟ้องมีกําหนดน้อยกว่าหนึ่งปีให้ขยายเวลาสําหรับยื่นคําฟ้องเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับคําสั่ง มาตรา ๕๑ การฟ้องคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) ให้ยื่นฟ้องภายในหนึ่งปี และการฟ้องคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) ให้ยื่นฟ้องภายในห้าปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดี มาตรา ๕๒ การฟ้องคดีปกครองที่เกี่ยวกับการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ หรือสถานะของบุคคลจะยื่นฟ้องคดีเมื่อใดก็ได้ การฟ้องคดีปกครองที่ยื่นเมื่อพ้นกําหนดเวลาการฟ้องคดีแล้ว ถ้าศาลปกครองเห็นว่าคดีที่ยื่นฟ้องนั้นจะเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมหรือมีเหตุจําเป็นอื่นโดยศาลเห็นเองหรือคู่กรณีมีคําขอศาลปกครองจะรับไว้พิจารณาก็ได้ มาตรา ๕๓ ในกรณีที่คู่กรณีฝ่ายหนึ่งถึงแก่ความตายก่อนศาลปกครองพิพากษาคดี ให้ศาลปกครองรอการพิจารณาไปจนกว่าทายาท ผู้จัดการมรดก ผู้ปกครองทรัพย์มรดก หรือผู้สืบสิทธิของคู่กรณีผู้นั้นจะมีคําขอเข้ามาแทนที่คู่กรณีผู้ถึงแก่ความตาย หรือผู้มีส่วนได้เสียจะมีคําขอเข้ามา โดยมีคําขอเข้ามาเองหรือโดยที่ศาลหมายเรียกให้เข้ามา เนื่องจากคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดมีคําขอ คําขอเช่นว่านี้จะต้องยื่นภายในกําหนดหนึ่งปีนับแต่วันที่คู่กรณีผู้นั้นถึงแก่ความตาย ถ้าไม่มีคําขอของบุคคลดังกล่าว หรือไม่มีคําขอของคู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ภายในเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง ศาลปกครองจะมีคําสั่งจําหน่ายคดีนั้นก็ได้ ส่วน ๒ การดําเนินคดีปกครอง มาตรา ๕๔ ศาลปกครองสูงสุดต้องมีตุลาการในศาลปกครองสูงสุดอย่างน้อยห้าคนจึงจะเป็นองค์คณะพิจารณาพิพากษา ศาลปกครองชั้นต้นต้องมีตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นอย่างน้อยสามคน จึงจะเป็นองค์คณะพิจารณาพิพากษา มาตรา ๕๕ การพิจารณาพิพากษาคดีต้องดําเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็ว แต่ต้องเปิดโอกาสให้คู่กรณีชี้แจงและแสดงพยานหลักฐานประกอบคําชี้แจงของตนตามควรแก่กรณี แต่การชี้แจงต้องทําเป็นหนังสือ เว้นแต่เป็นกรณีที่ศาลอนุญาตให้ชี้แจงด้วยวาจาต่อหน้าศาล คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูพยานหลักฐานที่แต่ละฝ่ายได้ยื่นไว้ในสํานวน เว้นแต่กรณีใดมีกฎหมายคุ้มครองให้ไม่ต้องเปิดเผยหรือศาลปกครองเห็นว่าจําเป็นต้องไม่เปิดเผย เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่การดําเนินงานของรัฐ แต่กรณีที่ไม่เปิดเผยดังกล่าว ศาลปกครองจะนํามาใช้รับฟังในการพิจารณาพิพากษาคดีไม่ได้ ในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลปกครองอาจตรวจสอบและแสวงหาข้อเท็จจริงได้ตามความเหมาะสม ในการนี้ ศาลปกครองจะรับฟังพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานผู้เชี่ยวชาญ หรือพยานหลักฐานอื่นนอกเหนือจากพยานหลักฐานของคู่กรณีได้ตามที่เห็นสมควร พยานบุคคลหรือพยานผู้เชี่ยวชาญที่ศาลปกครองเรียกมาให้ถ้อยคําหรือทําความเห็นต่อศาลปกครองมีสิทธิได้รับค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา มาตรา ๕๖ เมื่อมีการฟ้องคดีต่อศาลปกครองใด การจ่ายสํานวนคดีในศาลปกครองนั้นให้ประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้นปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีที่มีการจัดองค์คณะที่มีความเชี่ยวชาญในประเภทคดีด้านใดด้านหนึ่งเป็นการเฉพาะ ต้องจ่ายสํานวนคดีให้ตรงกับความเชี่ยวชาญขององค์คณะที่จัดไว้ (๒) ในกรณีที่มีการแบ่งพื้นที่รับผิดชอบคดีขององค์คณะ ต้องจ่ายสํานวนคดีที่มีมูลคดีเกิดขึ้นในพื้นที่ให้แก่องค์คณะที่จัดไว้ (๓) ในกรณีที่ไม่มีการจัดองค์คณะตาม (๑) หรือ (๒) หรือมีการจัดไว้ลักษณะเดียวกันหลายองค์คณะ หรือองค์คณะที่รับผิดชอบคดีดังกล่าวมีคดีค้างการพิจารณาอยู่เป็นจํานวนมากซึ่งหากจ่ายสํานวนคดีให้แก่องค์คณะนั้นจะทําให้คดีล่าช้าหรือกระทบกระเทือนต่อความยุติธรรมให้จ่ายสํานวนคดีโดยใช้วิธีการใดที่ไม่อาจคาดหมายได้ล่วงหน้าว่าจะจ่ายสํานวนคดีให้แก่องค์คณะใด เมื่อองค์คณะในศาลปกครองใดได้รับสํานวนคดีแล้ว ให้ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นในองค์คณะนั้น แล้วแต่กรณี แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองในคณะของตนคนหนึ่งเป็นตุลาการเจ้าของสํานวน เพื่อเป็นผู้ดําเนินการรวบรวมข้อเท็จจริงจากคําฟ้อง คําชี้แจงของคู่กรณี และรวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ โดยมีพนักงานคดีปกครองเป็นผู้ช่วยดําเนินการตามที่ตุลาการเจ้าของสํานวนมอบหมาย เมื่อได้มอบสํานวนคดีให้แก่ตุลาการเจ้าของสํานวนคนใดแล้ว หรือได้จ่ายสํานวนคดีให้แก่องค์คณะใดแล้ว ห้ามมิให้มีการเรียกคืนสํานวนคดีหรือโอนสํานวนคดี เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้ (๑) เมื่อมีการโอนคดีตามที่ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดกําหนด (๒)เมื่อมีการคัดค้านตุลาการเจ้าของสํานวนสําหรับกรณีเรียกคืนสํานวนหรือตุลาการศาลปกครองในองค์คณะพิจารณาพิพากษานั้นถูกคัดค้าน หรือไม่ครบองค์คณะสําหรับกรณีโอนสํานวน (๓)เมื่อตุลาการเจ้าของสํานวนหรือองค์คณะพิจารณาพิพากษามีคดีค้างการพิจารณาอยู่เป็นจํานวนมากซึ่งจะทําให้การพิจารณาคดีล่าช้า และตุลาการเจ้าของสํานวนหรือองค์คณะพิจารณาพิพากษาขอสละสํานวนคดีที่ตนรับผิดชอบอยู่ มาตรา ๕๗ ให้ตุลาการเจ้าของสํานวนทําหน้าที่ตรวจสอบและเสนอความเห็นในข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายต่อองค์คณะพิจารณาพิพากษา ตลอดจนดําเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคดีนั้น ในระหว่างการดําเนินการของตุลาการเจ้าของสํานวนตามวรรคหนึ่ง ให้เปิดโอกาสให้คู่กรณีได้ทราบถึงข้ออ้างหรือข้อแย้งของแต่ละฝ่าย และให้คู่กรณีแสดงพยานหลักฐานของฝ่ายตนเพื่อยืนยันหรือหักล้างข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายได้ เมื่อตุลาการเจ้าของสํานวนเห็นว่าได้รวบรวมข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายเพียงพอแล้วให้ตุลาการเจ้าของสํานวนทําความเห็นเสนอให้องค์คณะพิจารณาพิพากษาเพื่อพิจารณาคดีต่อไป ในการให้โอกาสคู่กรณีตามวรรคสองให้ตุลาการเจ้าของสํานวนกําหนดให้คู่กรณีแสดงพยานหลักฐานของฝ่ายตนภายในระยะเวลาที่กําหนด ถ้าคู่กรณีมิได้ปฏิบัติภายในระยะเวลาที่กําหนด ให้ถือว่าคู่กรณีที่ไม่ได้แสดงพยานหลักฐานนั้นไม่มีพยานหลักฐานสนับสนุนหรือยอมรับข้อเท็จจริงตามพยานหลักฐานของคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งแล้วแต่กรณี และให้ศาลปกครองพิจารณาพิพากษาต่อไปตามที่เห็นเป็นการยุติธรรม ในกรณีที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ดําเนินการภายในระยะเวลาที่กําหนดตามวรรคสามหรือมีพฤติกรรมประวิงคดีให้ล่าช้า ศาลปกครองจะรายงานผู้บังคับบัญชา ผู้กํากับดูแล ผู้ควบคุม หรือนายกรัฐมนตรีเพื่อดําเนินการแก้ไขปรับปรุงหรือสั่งการหรือลงโทษทางวินัยต่อไปก็ได้ ทั้งนี้ โดยไม่เป็นการตัดอํานาจที่ศาลจะมีคําสั่งลงโทษฐานละเมิดอํานาจศาล การปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการเจ้าของสํานวนและพนักงานคดีปกครองให้เป็นไปตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๕๘ ก่อนวันนั่งพิจารณาคดี ให้ตุลาการเจ้าของสํานวนส่งมอบสํานวนคดีให้ผู้แถลงคดีปกครองพิจารณา และให้ผู้แถลงคดีปกครองจัดทําสรุปข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และความเห็นของตนในการวินิจฉัยคดีนั้นเสนอต่อองค์คณะพิจารณาพิพากษา และให้มาชี้แจงด้วยวาจาต่อองค์คณะพิจารณาพิพากษาในวันนั่งพิจารณาคดีนั้น และให้มีสิทธิอยู่ร่วมในการพิจารณาและในการประชุมปรึกษาเพื่อพิพากษาคดีนั้นได้ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงในการวินิจฉัยคดีนั้น ในการนั่งพิจารณาคดีใด ถ้าผู้แถลงคดีปกครองเห็นว่าข้อเท็จจริงในการพิจารณาคดีเปลี่ยนแปลงไป ให้ผู้แถลงคดีปกครองจัดทําสรุปข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และความเห็นของตนขึ้นใหม่เสนอต่อองค์คณะพิจารณาพิพากษาเพื่อพิจารณาต่อไป ให้อธิบดีศาลปกครองชั้นต้นหรือประธานศาลปกครองสูงสุดแต่งตั้งผู้แถลงคดีปกครองจากตุลาการศาลปกครองคนหนึ่งในศาลนั้นที่มิใช่ตุลาการในองค์คณะพิจารณาพิพากษาคดีนั้น ผู้แถลงคดีปกครองในศาลปกครองสูงสุดอาจแต่งตั้งจากตุลาการศาลปกครองชั้นต้นก็ได้ การแต่งตั้งและการปฏิบัติหน้าที่ของผู้แถลงคดีปกครองให้เป็นไปตามระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการใน ศาลปกครองสูงสุด บทบัญญัติในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับคดีที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๕๙ ในการพิจารณาคดี ให้องค์คณะพิจารณาพิพากษาจัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีอย่างน้อยหนึ่งครั้งเพื่อให้คู่กรณีมีโอกาสมาแถลงด้วยวาจาต่อหน้าองค์คณะพิจารณาพิพากษา ก่อนการนั่งพิจารณาคดีครั้งแรกให้ส่งสรุปข้อเท็จจริงของตุลาการเจ้าของสํานวนให้คู่กรณีทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ในการนี้ให้คู่กรณีมีสิทธิยื่นคําแถลง รวมทั้งนําพยานหลักฐานมาสืบประกอบคําแถลงดังกล่าวเพื่อยืนยันหรือหักล้างข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายเพิ่มเติมต่อองค์คณะพิจารณาพิพากษาในวันนั่งพิจารณาคดีแต่จะไม่มาแถลงด้วยวาจาก็ได้ ในกรณีที่กฎหมายกําหนดระยะเวลาให้ศาลพิจารณาพิพากษาคดีหรือโดยลักษณะแห่งคดีมีความจําเป็นที่ศาลจะต้องพิจารณาพิพากษาคดีเป็นการเร่งด่วนหรือเพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวม การส่งสรุป ข้อเท็จจริงของตุลาการเจ้าของสํานวนให้คู่กรณีทราบตามวรรคสอง จะส่งล่วงหน้าเป็นเวลาอันสมควรแต่ไม่ถึงเจ็ดวันก็ได้ โดยต้องคํานึงถึงการคุ้มครองสิทธิของคู่กรณีด้วย มาตรา ๕๙/๑ ในการพิจารณาคดีอุทธรณ์คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น หากองค์คณะพิจารณาพิพากษาในศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าคดีดังกล่าวมีข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเห็นว่าการไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีจะไม่ทําให้เสียความยุติธรรม องค์คณะพิจารณาพิพากษาอาจไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีก็ได้ ในกรณีนี้ให้ผู้แถลงคดีปกครองดําเนินการตามมาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง ในวันประชุมปรึกษาเพื่อมีคําพิพากษา ให้ศาลแจ้งการไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีตามวรรคหนึ่งพร้อมส่งสรุปข้อเท็จจริงของตุลาการ เจ้าของสํานวนให้คู่กรณีทราบ ทั้งนี้ ไม่เป็นการตัดสิทธิคู่กรณีที่จะยื่นคําแถลงเป็นหนังสือต่อองค์คณะพิจารณาพิพากษาภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง และหากคู่กรณีประสงค์ที่จะให้ศาลจัดให้มีการนั่งพิจารณาคดี ให้คู่กรณีแจ้งความประสงค์เช่นนั้นให้ศาลทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง และให้องค์คณะพิจารณาพิพากษาจัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีต่อไป มาตรา ๖๐ การนั่งพิจารณาคดีจะต้องกระทําโดยเปิดเผย ในคดีเรื่องใดเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี หรือเพื่อคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ ถ้าศาลปกครองเห็นสมควรจะห้ามมิให้มีการเปิดเผยข้อเท็จจริง หรือพฤติการณ์ต่าง ๆ ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งคดี ซึ่งปรากฏจากคําคู่ความหรือคําแถลงของคู่กรณี หรือคําพยานหลักฐานที่ได้สืบมาแล้ว ศาลปกครองจะมีคําสั่งดังต่อไปนี้ก็ได้ (๑) ห้ามประชาชนมิให้เข้าฟังการพิจารณาทั้งหมดหรือบางส่วน แล้วดําเนินการพิจารณาไปโดยไม่เปิดเผย หรือ (๒) ห้ามมิให้ออกโฆษณาข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ต่าง ๆ เช่นว่านั้น ไม่ว่าศาลปกครองจะได้มีคําสั่งตามวรรคสองหรือไม่มิให้ถือว่าการออกโฆษณาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งคําพิพากษา หรือย่อเรื่องแห่งคําพิพากษาโดยเป็นกลางและถูกต้องเป็นการผิดกฎหมาย เว้นแต่ในกรณีที่ศาลเห็นสมควรเพื่อประโยชน์ในการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีหรือเพื่อคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ จะห้ามมิให้มีการเปิดเผยข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนแห่งคําพิพากษานั้นก็ได้ มาตรา ๖๐/๑ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีคําขอและศาลเห็นว่าจะเป็นประโยชน์แก่ความยุติธรรมหรือเพื่ออํานวยความสะดวกแก่คู่กรณี ศาลอาจมีคําสั่งให้ดําเนินกระบวน พิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด การดําเนินกระบวนพิจารณาที่ต้องกระทําต่อหน้าศาลและศาลมีคําสั่งให้ดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ถือเป็นการดําเนินกระบวนพิจารณาในห้องพิจารณาของศาล และเป็นการกระทําต่อหน้าศาล ศาลอาจเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการดําเนินกระบวนพิจารณาตามวรรคหนึ่งจากคู่กรณีที่ร้องขอได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่ประธานศาลปกครองสูงสุดกําหนด โดยไม่ถือว่าค่าใช้จ่ายนั้นเป็นค่าธรรมเนียมศาล มาตรา ๖๑ ให้ตุลาการศาลปกครองคนหนึ่งคนใดซึ่งได้รับมอบหมายจากองค์คณะมีอํานาจ ดังต่อไปนี้ (๑) มีคําสั่งเรียกให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องชี้แจงข้อเท็จจริงหรือให้ความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยงานทางปกครองหรือของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่เกี่ยวข้อง (๒) มีคําสั่งเรียกให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือให้ความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใด หรือส่งผู้แทนหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานทางปกครองนั้นมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคําประกอบการพิจารณา (๓) มีคําสั่งเรียกให้คู่กรณีมาให้ถ้อยคําหรือนําพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณา (๔) มีคําสั่งเรียกให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีมาให้ถ้อยคํา หรือให้ส่งพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณา (๕) ไต่สวนหรือมีคําสั่งในเรื่องใดที่มิใช่การวินิจฉัยชี้ขาดคดี ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในกรณีจําเป็น ตุลาการศาลปกครองหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากตุลาการศาลปกครองมีอํานาจไปตรวจสอบสถานที่ บุคคล หรือสิ่งอื่นใดเพื่อประกอบการพิจารณาก็ได้ มาตรา ๖๒ ถ้าผู้ฟ้องคดีได้รับคําสั่งจากศาลปกครองให้มาให้ถ้อยคําหรือแสดงพยานหลักฐานแล้วไม่ดําเนินการตามคําสั่งนั้นภายในระยะเวลาที่ศาลปกครองกําหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ศาลปกครองจะสั่งให้จําหน่ายคดีเสียก็ได้ คดีที่ศาลปกครองได้สั่งจําหน่ายตามวรรคหนึ่ง ถ้าภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ศาลปกครองมีคําสั่งให้จําหน่ายคดี ผู้ฟ้องคดีแสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาลปกครองได้ว่าการที่ตนไม่สามารถปฏิบัติตามคําสั่งของศาลปกครองได้นั้น เป็นเพราะเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุอันสมควร ศาลปกครองจะอนุญาตให้พิจารณาใหม่หรือฟ้องคดีใหม่ก็ได้ มาตรา ๖๓ ตุลาการศาลปกครองในองค์คณะพิจารณาพิพากษาหรือผู้แถลงคดีปกครองอาจถูกคัดค้านได้ตามเหตุแห่งการคัดค้านผู้พิพากษาที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง รวมทั้งเหตุอื่นใดอันมีสภาพร้ายแรงซึ่งอาจทําให้การพิจารณาพิพากษาคดีเสียความยุติธรรม การขอถอนตัวจากคดี การยื่นคําคัดค้าน การพิจารณาคําคัดค้าน การสั่งให้ผู้ถูกคัดค้านงดการปฏิบัติหน้าที่ และการสั่งให้ผู้อื่นเข้าปฏิบัติหน้าที่แทน ให้เป็นไปตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด การสั่งให้ตุลาการศาลปกครองผู้ถูกคัดค้านงดการพิจารณาย่อมไม่กระทบกระเทือนถึงการกระทําใด ๆ ของตุลาการศาลปกครองผู้ถูกคัดค้านที่ได้กระทําไปแล้ว มาตรา ๖๔ นอกจากที่บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ให้นําบทบัญญัติที่ถือว่าเป็นการกระทําละเมิดอํานาจศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลมและเมื่อมีการละเมิดอํานาจศาลให้ศาลปกครองมีอํานาจสั่งลงโทษได้ดังนี้ (๑) ตักเตือน โดยจะมีคําตําหนิเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยหรือไม่ก็ได้ (๒) ไล่ออกจากบริเวณศาล (๓) ลงโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ การสั่งลงโทษฐานละเมิดอํานาจศาลพึงใช้อย่างระมัดระวังและเท่าที่จําเป็นตามพฤติการณ์แห่งกรณี และหากเป็นการสั่งลงโทษตาม (๓) ให้องค์คณะอื่นที่มิใช่องค์คณะพิจารณาพิพากษาคดีนั้นเป็นผู้พิจารณาและสั่งลงโทษ มาตรา ๖๕ ผู้ใดวิจารณ์การพิจารณาหรือการพิพากษาคดีของศาลปกครองโดยสุจริตด้วยวิธีการทางวิชาการ ผู้นั้นไม่มีความผิดฐานละเมิดอํานาจศาล หรือดูหมิ่นศาลหรือตุลาการ มาตรา ๖๖ ในกรณีที่ศาลปกครองเห็นสมควรกําหนดมาตรการหรือวิธีการใด ๆ เพื่อบรรเทาทุกข์ให้แก่คู่กรณีที่เกี่ยวข้องเป็นการชั่วคราวก่อนการพิพากษาคดี ไม่ว่าจะมีคําร้องขอจากบุคคลดังกล่าวหรือไม่ ให้ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดมาตรการหรือวิธีการชั่วคราวและออกคําสั่งไปยังหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องให้ปฏิบัติได้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดการกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงความรับผิดชอบของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐและปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นแก่การบริหารงานของรัฐประกอบด้วย ส่วน ๒/๑ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มาตรา ๖๖/๑ ให้ศาลปกครองชั้นต้นมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีที่อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น และศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีที่อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดซึ่งฟ้องเป็นครั้งแรกต่อศาลปกครองสูงสุด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้เป็นไปตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๖๖/๒ ศาลปกครองมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีที่อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง ดังต่อไปนี้ (๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ ตามที่กฎหมายกําหนดให้ต้องปฏิบัติ หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร (๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๓) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง (๔) คดีพิพาทอื่นตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามวรรคหนึ่งเป็นการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับเงินหรือทรัพย์สินคณะรัฐมนตรีอาจกําหนดหลักเกณฑ์ให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นคู่กรณีต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังหรือหน่วยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลตามกฎหมายด้วยก็ได้ มาตรา ๖๖/๓ ห้ามมิให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในกรณีที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เป็นการฝ่าฝืนหรือต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย (๒) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (๓) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่มีผลกระทบต่อสถานะของบุคคลหรือมีผลกระทบในทางเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ (๔) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่มีผลกระทบร้ายแรงต่อการบังคับใช้กฎหมาย (๕) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่อยู่นอกเหนือสิทธิ อํานาจหน้าที่ หรือความสามารถของคู่กรณี (๖) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทตามมาตรา ๑๑ (๑) (๗)การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทที่กฎหมายกําหนดให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุด (๘) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่มีลักษณะอื่นตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๖๖/๔ ในเวลาใด ๆ นับแต่มีการฟ้องคดีต่อศาลปกครองจนถึงวันสิ้นสุดการแสวงหาข้อเท็จจริง คู่กรณีอาจร่วมกันยื่นคําขอต่อศาลเพื่อให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หรือคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจยื่นคําขอและคู่กรณีฝ่ายอื่นตกลงให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในกรณีเช่นนี้ถ้าองค์คณะพิจารณาพิพากษาเห็นสมควรและประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้น แล้วแต่กรณี เห็นชอบให้ศาลดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างคู่กรณีนั้นได้ สําหรับคู่กรณีที่ไม่ได้ตกลงให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ศาลอาจดําเนินกระบวนพิจารณาต่อไปก็ได้ เมื่อองค์คณะพิจารณาพิพากษาเห็นสมควรให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและคู่กรณียินยอมให้นําความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้น แล้วแต่กรณี แต่งตั้งตุลาการศาลปกครองซึ่งไม่มีหน้าที่รับผิดชอบคดีในสํานวนคดีนั้น ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท โดยคํานึงถึงความรู้ความเชี่ยวชาญและความเหมาะสมของตุลาการศาลปกครองผู้นั้น มาตรา ๖๖/๕ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องดําเนินการให้เสร็จโดยเร็วภายในระยะเวลาที่ตุลาการศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทกําหนด โดยต้องไม่ทําให้การพิจารณาพิพากษาคดีนั้นล่าช้าออกไปโดยไม่สมควร มาตรา ๖๖/๖ ตุลาการศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องวางตนเป็นกลาง และปราศจากอคติในการปฏิบัติหน้าที่ ให้นําความในมาตรา ๖๓ มาใช้บังคับแก่การคัดค้านและการถอนตัวของตุลาการศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยอนุโลม มาตรา ๖๖/๗ แนวทาง ความเห็นชอบ คําสั่ง หรือการดําเนินการใด บรรดาซึ่งกระทําลงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยประธานศาลปกครองสูงสุด อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท องค์คณะพิจารณาพิพากษา หรือตุลาการเจ้าของสํานวนที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ไม่อาจอุทธรณ์ได้ มาตรา ๖๖/๘ ห้ามมิให้คู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตุลาการศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หรือบุคคลอื่นใด นําเรื่องดังต่อไปนี้ ไปเปิดเผยหรืออ้างอิง หรือนําสืบเป็นพยานหลักฐานในกระบวนพิจารณาคดีของศาล หรือเพื่อดําเนินการอื่นใด ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใด ๆ (๑) ความประสงค์หรือความยินยอมของคู่กรณีในการขอเข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๒) ความเห็นหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการในการระงับข้อพิพาทของคู่กรณี ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๓) การยอมรับหรือข้อความที่กระทําโดยคู่กรณีในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๔) ข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนํามาใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๕) เอกสารที่จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อมูลที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอื่นนอกจากข้อมูลตามวรรคหนึ่งอาจเปิดเผยหรืออ้างอิงได้ตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด พยานหลักฐานใดที่ใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทหากเป็นพยานหลักฐานที่นําสืบได้อยู่แล้วในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ กระบวนพิจารณาของศาล หรือการดําเนินการอื่นใด โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมาย ย่อมไม่ต้องห้ามตามความในวรรคหนึ่ง ห้ามมิให้อนุญาโตตุลาการ ศาล หน่วยงานทางปกครอง หรือบุคคลอื่นใดรับฟังหรือนําข้อเท็จจริงที่ได้มาจากการฝ่าฝืนมาตรานี้ไปใช้ประโยชน์ มาตรา ๖๖/๙ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองสิ้นสุดลง เมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ (๑) มีการถอนคําฟ้องโดยศาลอนุญาตให้ถอนคําฟ้องได้ หรือศาลมีคําสั่งจําหน่ายคดีนั้นจากสารบบความโดยเหตุอื่น (๒) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสําเร็จในประเด็นแห่งคดีทั้งหมดหรือบางส่วนตามมาตรา ๖๖/๑๐ (๓) คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ประสงค์ให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่อไป (๔) องค์คณะพิจารณาพิพากษามีคําสั่งให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นสิ้นสุดลง เมื่อตุลาการศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเห็นว่าการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่อไปนั้นไม่เป็นประโยชน์แก่คดี ไม่อาจสําเร็จได้ เป็นการประวิงคดี เป็นการฝ่าฝืน หรือเป็นการขัดหรือแย้งต่อหลักการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มาตรา ๖๖/๑๐ ในกรณีที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองสําเร็จและทําให้ประเด็นแห่งคดีเสร็จสิ้นไปทั้งหมด ให้ศาลปกครองมี คําพิพากษาไปตามนั้น หากการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททําให้คดีเสร็จสิ้นไปบางส่วน ให้ศาลจดรายงานแสดงข้อความ แห่งข้อตกลงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเหล่านั้นไว้แล้วให้ศาลพิจารณาประเด็นข้อพิพาทที่ตกลงกันไม่ได้ต่อไป และนํามารวมพิพากษากับข้อพิพาทที่ตกลงกันได้ไปในคราวเดียวกัน มาตรา ๖๖/๑๑ ห้ามมิให้อุทธรณ์คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นซึ่งพิพากษาตามการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในประเด็นแห่งคดีที่เสร็จสิ้นไปไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนตามมาตรา ๖๖/๑๐ เว้นแต่ในเหตุดังต่อไปนี้ (๑) เมื่อมีข้อกล่าวอ้างว่าคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฉ้อฉล (๒) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกล่าวอ้างว่าเป็นการละเมิดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (๓) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกล่าวอ้างว่ามิได้เป็นไปตามข้อตกลงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท การอุทธรณ์คําพิพากษาของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้ยื่นต่อศาลที่มีคําพิพากษาภายในกําหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ได้มีคําพิพากษา มาตรา ๖๖/๑๒ ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่ออกตามความในส่วนนี้ให้ดําเนินการตามมาตรา ๖ ด้วย ส่วน ๓ คําพิพากษาหรือคําสั่งคดีปกครอง มาตรา ๖๗ การทําคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองถ้าจะต้องกระทําโดยตุลาการศาลปกครองหลายคน คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นจะต้องบังคับตามความเห็นของฝ่ายข้างมาก และในกรณีที่ตุลาการในศาลปกครองผู้ใดมีความเห็นแย้งให้ทําความเห็นแย้งไว้ในคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น มาตรา ๖๘ ถ้าประธานศาลปกครองสูงสุดเห็นสมควรจะให้มีการวินิจฉัยปัญหาใดหรือคดีใดโดยที่ประชุมใหญ่ก็ได้ หรือมีกฎหมายหรือระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดให้วินิจฉัยปัญหาใดหรือคดีใดโดยที่ประชุมใหญ่ก็ให้วินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ ภายใต้บังคับมาตรา ๖๓ ที่ประชุมใหญ่นั้นให้ประกอบด้วยตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทุกคนที่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ แต่ต้องมีจํานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดและให้ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธานที่ประชุมใหญ่ คําวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ่ให้เป็นไปตามเสียงข้างมาก และถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๖๙ คําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีปกครองของศาลปกครองอย่างน้อยต้องระบุ (๑) ชื่อผู้ยื่นคําฟ้อง (๒) หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดี (๓) เหตุแห่งการฟ้องคดี (๔) ข้อเท็จจริงของเรื่องที่ฟ้อง (๕) เหตุผลแห่งคําวินิจฉัย (๖) คําวินิจฉัยของศาลในประเด็นแห่งคดี (๗) คําบังคับ ถ้ามี โดยให้ระบุหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องปฏิบัติตามคําบังคับไว้ด้วย (๘) ข้อสังเกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการดําเนินการให้เป็นไปตามคําพิพากษา ถ้ามี คําพิพากษาหรือคําสั่งตามวรรคหนึ่งต้องลงลายมือชื่อของตุลาการศาลปกครองที่นั่งพิจารณาและพิพากษาคดีหรือมีคําสั่งนั้นถ้าตุลาการศาลปกครองคนใดมีเหตุจําเป็นไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ให้อธิบดีศาลปกครองชั้นต้นหรือประธานศาลปกครองสูงสุดแล้วแต่กรณี จดแจ้งเหตุดังกล่าวไว้ในคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นด้วย เมื่อศาลปกครองได้อ่านผลแห่งคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีปกครองในศาลปกครองโดยเปิดเผยในวันใดแล้วให้ถือว่าวันที่ได้อ่านนั้นเป็นวันที่ศาลปกครองมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ในการนี้ให้ศาลปกครองแจ้งให้คู่กรณีทราบกําหนดวันอ่านผลแห่งคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นเป็นการล่วงหน้าตามสมควร ถ้าไม่มีคู่กรณีมาศาลปกครองในวันนัดอ่านผลแห่งคําพิพากษาหรือคําสั่งให้ศาลปกครอง งดการอ่านคําพิพากษาหรือคําสั่งแล้วบันทึกไว้และให้ถือว่าวันที่บันทึกเป็นวันที่ศาลปกครองได้มีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ให้สํานักงานศาลปกครองจัดให้มีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีปกครองไว้ที่ศาลปกครองเพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูหรือขอสําเนาที่มีการรับรองถูกต้องได้ โดยจะเรียกค่าธรรมเนียมในการนั้นก็ได้ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนด ให้สํานักงานศาลปกครองพิมพ์เผยแพร่คําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีของศาลปกครองและความเห็นของผู้แถลงคดีปกครองตามมาตรา ๕๘ มาตรา ๗๐ คําพิพากษาศาลปกครองให้ผูกพันคู่กรณีที่จะต้องปฏิบัติตามคําบังคับนับแต่วันที่กําหนดในคําพิพากษาจนถึงวันที่คําพิพากษานั้นถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไขกลับหรืองดเสีย ในกรณีที่เป็นคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น ให้รอการปฏิบัติตามคําบังคับไว้จนกว่าจะพ้นระยะเวลาการอุทธรณ์ หรือในกรณีที่มีการอุทธรณ์ ให้รอการบังคับคดีไว้จนกว่าคดีจะถึงที่สุด แต่ถ้าเป็นกรณีที่มีการอุทธรณ์และเป็นคดีที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคู่กรณีฝ่ายชนะคดีอาจยื่นคําขอต่อศาลปกครองชั้นต้น หรือศาลปกครองสูงสุด แล้วแต่กรณี โดยชี้แจงเหตุผลอันสมควรที่ขอให้มีการปฏิบัติตามคําบังคับ และให้ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาคําขอและมีคําสั่งตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๗๑ ภายใต้บังคับบทบัญญัติว่าด้วยการอุทธรณ์คําพิพากษาหรือคําสั่ง คําพิพากษาหรือคําสั่งใด ๆ ให้มีผลผูกพันบุคคลภายนอกได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) ในคําพิพากษาให้บุคคลใดออกไปจากสถานที่ใดให้ใช้บังคับตลอดถึงบริวารของผู้นั้นที่อยู่ในสถานที่นั้นด้วย เว้นแต่ผู้นั้นจะพิสูจน์ได้ว่าตนมีสิทธิพิเศษอื่น (๒) ถ้าบุคคลใดได้เข้าเป็นผู้ค้ําประกันในศาลเพื่อการดําเนินการใด ๆ ตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง ให้คําพิพากษาหรือคําสั่งใช้บังคับแก่การประกันนั้นได้โดยไม่ต้องฟ้องผู้ค้ําประกันใหม่ (๓) คําพิพากษาหรือคําสั่งเกี่ยวกับสถานะหรือความสามารถของบุคคล หรือนิติบุคคล บุคคลภายนอกจะยกขึ้นอ้างอิงหรือใช้ยันกับบุคคลภายนอกก็ได้ เว้นแต่บุคคลภายนอกจะมีสิทธิดีกว่า (๔) คําพิพากษาหรือคําสั่งที่เกี่ยวกับสิทธิแห่งทรัพย์สินใด ๆ คู่กรณีที่เกี่ยวข้องอาจอ้างกับบุคคลภายนอกได้ เว้นแต่บุคคลภายนอกจะมีสิทธิดีกว่า มาตรา ๗๒ ในการพิพากษาคดี ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดคําบังคับอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (๑)สั่งให้เพิกถอนกฎหรือคําสั่งหรือสั่งห้ามการกระทําทั้งหมดหรือบางส่วน ในกรณีที่มีการฟ้องว่าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทําการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) (๒)สั่งให้หัวหน้าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามหน้าที่ภายในเวลาที่ศาลปกครองกําหนด ในกรณีที่มีการฟ้องว่าหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร (๓) สั่งให้ใช้เงินหรือให้ส่งมอบทรัพย์สินหรือให้กระทําการหรืองดเว้นกระทําการ โดยจะกําหนดระยะเวลาและเงื่อนไขอื่น ๆ ไว้ด้วยก็ได้ ในกรณีที่มีการฟ้องเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือการฟ้องเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง (๔) สั่งให้ถือปฏิบัติต่อสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่มีการฟ้อง ให้ศาลมีคําพิพากษาแสดงความเป็นอยู่ของสิทธิหรือหน้าที่นั้น (๕) สั่งให้บุคคลกระทําหรือละเว้นกระทําอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย ในการมีคําบังคับตามวรรคหนึ่ง (๑) ศาลปกครองมีอํานาจกําหนดว่าจะให้มีผลย้อนหลังหรือไม่ย้อนหลังหรือมีผลไปในอนาคตถึงขณะใดขณะหนึ่งได้ หรือจะกําหนดให้มีเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ ทั้งนี้ ตามความเป็นธรรมแห่งกรณี ในกรณีที่ศาลปกครองมีคําพิพากษาถึงที่สุดให้เพิกถอนกฎ ให้มีการประกาศผลแห่งคําพิพากษาดังกล่าวในราชกิจจา นุเบกษา และให้การประกาศดังกล่าวมีผลเป็นการเพิกถอนกฎนั้น วรรคสี่ (ยกเลิก) วรรคห้า (ยกเลิก) วรรคหก (ยกเลิก) มาตรา ๗๒/๑ ในการพิพากษาคดี ให้ศาลปกครองมีคําสั่งคืนค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือแต่บางส่วนตามส่วนของการชนะคดี มาตรา ๗๓ การคัดค้านคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองชั้นต้นนั้น ให้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองชั้นต้นที่มีคําพิพากษาหรือคําสั่งภายในกําหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ได้มีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ถ้ามิได้ยื่นอุทธรณ์ตามกําหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคดีนั้นเป็นอันถึงที่สุด คําพิพากษาหรือคําสั่งตามวรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึง คําสั่งเกี่ยวกับการละเมิดอํานาจศาลหรือคําสั่งอื่นใดที่ทําให้คดีเสร็จเด็ดขาด ในกรณีที่ศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าคําอุทธรณ์ใดมีข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่ไม่เป็นสาระอันควรได้รับการวินิจฉัย ศาลปกครองสูงสุดจะสั่งไม่รับอุทธรณ์นั้นไว้พิจารณาก็ได้ คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองสูงสุดให้เป็นที่สุด มาตรา ๗๔ เมื่อมีคําพิพากษาหรือคําสั่งอันเป็นที่สุดของศาลปกครองต่างชั้นกันในประเด็นแห่งคดีอย่างเดียวกัน ขัดหรือแย้งกันให้ถือตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองสูงสุด ถ้าคําพิพากษาหรือคําสั่งอันเป็นที่สุดของศาลปกครองชั้นต้นด้วยกันมีการขัดหรือแย้งกันในประเด็นแห่งคดีอย่างเดียวกัน คู่กรณีหรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียจะยื่นคําร้องขอต่อศาลปกครองสูงสุดเพื่อให้มีคําสั่งกําหนดว่าจะให้ถือตามคําพิพากษาหรือคําสั่งใด คําสั่งของศาลปกครองสูงสุดเช่นว่านี้ให้เป็นที่สุด มาตรา ๗๕ ในกรณีที่ศาลปกครองได้มีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดคดีปกครองเสร็จเด็ดขาดแล้ว คู่กรณีหรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียหรืออาจถูกกระทบจากผลแห่งคดีนั้นอาจมีคําขอให้ศาลปกครองพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคําสั่งชี้ขาดคดีปกครองนั้นใหม่ได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ (๑) ศาลปกครองฟังข้อเท็จจริงผิดพลาดหรือมีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทําให้ข้อเท็จจริง ที่ฟังเป็นยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญ (๒)คู่กรณีที่แท้จริงหรือบุคคลภายนอกนั้นมิได้เข้ามาในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีหรือได้เข้ามาแล้วแต่ถูกตัดโอกาสโดยไม่เป็นธรรมในการมีส่วนร่วมในการดําเนินกระบวนพิจารณา (๓) มีข้อบกพร่องสําคัญในกระบวนพิจารณาพิพากษาที่ทําให้ผลของคดีไม่มีความยุติธรรม (๔) คําพิพากษาหรือคําสั่งนั้นได้ทําขึ้นโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายใด และต่อมาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญซึ่งทําให้ผลแห่งคําพิพากษาหรือคําสั่งขัดกับกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น การยื่นคําขอตามวรรคหนึ่ง ให้กระทําได้เฉพาะเมื่อคู่กรณีหรือบุคคลภายนอกไม่ทราบถึงเหตุนั้นในการพิจารณาคดีครั้งที่แล้วมา โดยมิใช่ความผิดของผู้นั้น การยื่นคําขอให้พิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคําสั่งใหม่ต้องกระทําภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้นั้นได้รู้หรือควรรู้ถึงเหตุซึ่งอาจขอให้พิจารณาพิพากษาหรือมีคําสั่งใหม่ได้ แต่ไม่เกินห้าปีนับแต่ศาลปกครองได้มีคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาด มาตรา ๗๕/๑ การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครอง ให้นําบทบัญญัติว่าด้วยการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง และบทบัญญัติว่าด้วยค่าฤชาธรรมเนียมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง และค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีท้ายประมวลกฎหมายดังกล่าว มาใช้บังคับโดยอนุโลมกับการบังคับคดีปกครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้และหลักกฎหมายทั่วไปว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจออกระเบียบกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามวรรคหนึ่ง และเพื่อบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครอง มาตรา ๗๕/๒ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีซึ่งศาลปกครองแต่งตั้งจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่มีคุณสมบัติตามที่ก.ศป.กําหนด มีหน้าที่ปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดในระหว่างการพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครอง ในการบังคับคดีปกครองตามวรรคหนึ่ง เจ้าพนักงานบังคับคดีอาจมอบหมายให้เอกชนหรือบุคคลอื่นปฏิบัติการแทนภายใต้การกํากับดูแลของเจ้าพนักงานบังคับคดีก็ได้ ทั้งนี้ ตามระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๗๕/๓ เมื่อความปรากฏแก่ศาลปกครอง หรือคู่กรณียื่นคําขอ หรือเจ้าพนักงานบังคับคดีรายงานต่อศาลปกครองว่า คู่กรณียังไม่ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองหรือมีข้อขัดข้องในการปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครอง ให้ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาหรือไต่สวนและมีคําสั่งกําหนดวิธีการดําเนินการให้เป็นไปตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง หรือมีคําสั่งใด ๆ เพื่อให้การบังคับคดีเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว มาตรา ๗๕/๔ เมื่อปรากฏว่าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วน หรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร ให้ศาลปกครองไต่สวนหรือแสวงหาข้อเท็จจริงถ้าศาลปกครองได้ไต่สวนแล้วเห็นว่าข้อเท็จจริงเพียงพอที่จะรับฟังได้ว่าการที่มิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนหรือปฏิบัติล่าช้าเป็นไปโดยไม่มีเหตุอันสมควร ศาลปกครองอาจมีคําสั่งให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ปฏิบัติตามคําบังคับ ชําระค่าปรับต่อศาลปกครองตามจํานวนที่สมควร ครั้งละไม่เกินห้าหมื่นบาท ทั้งนี้ ศาลปกครองอาจแจ้งผู้บังคับบัญชา ผู้กํากับดูแลผู้ควบคุม หรือนายกรัฐมนตรี เพื่อดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ หรือสั่งการ หรือลงโทษทางวินัยต่อไปก็ได้และแจ้งผลให้ศาลปกครองทราบ คําสั่งปรับตามวรรคหนึ่งให้จัดทําโดยองค์คณะ และให้นําเงินค่าปรับดังกล่าวส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ปฏิบัติตามคําสั่งที่ให้ชําระค่าปรับตามวรรคหนึ่ง ศาลปกครองอาจมีคําสั่งให้มีการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของบุคคลนั้นได้ ให้นําความในมาตรานี้ไปใช้บังคับกับกรณีที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมิได้ปฏิบัติตามคําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการใด ๆ เพื่อบรรเทาทุกข์ให้แก่คู่กรณีที่เกี่ยวข้องเป็นการชั่วคราวก่อนการพิพากษาคดีตามมาตรา ๖๖ หรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร ด้วยโดยอนุโลม ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจออกระเบียบกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการปฏิบัติตามมาตรานี้ได้ หมวด ๕ สํานักงานศาลปกครอง มาตรา ๗๖ ให้มีสํานักงานศาลปกครองเป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีฐานะเป็นนิติบุคคล มาตรา ๗๗ สํานักงานศาลปกครองมีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) รับผิดชอบในงานธุรการของศาลปกครอง (๒) ดําเนินการเกี่ยวกับคดีปกครองตามคําสั่งของศาลปกครอง (๓) ดําเนินการบังคับให้เป็นไปตามคําบังคับของศาลปกครอง (๔) ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติงานของศาลปกครอง (๕) วิเคราะห์เหตุแห่งการฟ้องคดีปกครองเพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง (๖) จัดพิมพ์และเผยแพร่คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครอง (๗) จัดให้มีการศึกษาอบรมและพัฒนาความรู้ของตุลาการศาลปกครอง ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง และเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐที่เกี่ยวข้องตลอดจนประสานงานกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาหลักกฎหมายมหาชนการบริหารราชการแผ่นดิน และบุคลากรด้านกฎหมายมหาชน (๘)ปฏิบัติการอื่นตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่มีกฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของสํานักงานศาลปกครอง มาตรา ๗๘ ให้มีเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองขึ้นตรงต่อประธานศาลปกครองสูงสุด มีหน้าที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไป ซึ่งราชการของสํานักงานศาลปกครอง และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสํานักงานศาลปกครอง โดยมีรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ การแต่งตั้งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมจะดํารงตําแหน่ง โดยความเห็นชอบของ ก.ศป. เสนอต่อนายกรัฐมนตรี และให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งต่อไป ในกิจการของสํานักงานศาลปกครองที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นผู้แทนของสํานักงานศาลปกครอง เพื่อการนี้ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองจะมอบหมายให้บุคคลใดปฏิบัติราชการเฉพาะอย่างแทนก็ได้ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมีวาระการดํารงตําแหน่งสี่ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้งแต่ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. อาจขยายเวลาการดํารงตําแหน่งได้อีกไม่เกินสองครั้ง ครั้งละหนึ่งปี ในกรณีที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งโดยมิได้พ้นจากราชการและมิได้ มีความผิดวินัยอย่างร้ายแรงหรือมีมลทินหรือมัวหมอง ถ้าผู้นั้นมีอายุยังไม่ครบหกสิบปี ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ขป. มีคําสั่งแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองในระดับที่เทียบเท่าตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง มาตรา ๗๘/๑ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองอาจแต่งตั้งจากตุลาการศาลปกครองโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. และเมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งแล้ว ให้พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ได้รับการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้มีวาระการดํารงตําแหน่งสองปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง โดยอาจได้รับแต่งตั้งใหม่ได้ แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน เว้นแต่ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. มีคําสั่งให้พ้นจากตําแหน่งก่อนครบกําหนดเวลาดังกล่าว ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ได้รับการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งได้รับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นตามอัตราของตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองและหากเงินเดือนหรือเงินประจําตําแหน่งที่ได้รับอยู่ก่อนแต่งตั้ง สูงกว่าอัตราเงินเดือนหรืออัตราเงินประจําตําแหน่งสูงสุดของตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองให้ปรับเข้ากับอัตราเงินเดือนหรืออัตราเงินประจําตําแหน่งสูงสุดของตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง มาตรา ๗๘/๒ ในกรณีที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๗๘/๑ กระทําผิดวินัยอยู่ก่อนวันโอนมาดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ให้ ก.ขป. เป็นผู้พิจารณาดําเนินการทางวินัยแก่ผู้นั้นตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครอง แต่ถ้าได้กระทําผิดวินัยในระหว่างการดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง และได้โอนกลับไปเป็นตุลาการ ศาลปกครองแล้ว ให้ ก.ศป. เป็นผู้พิจารณาดําเนินการทางวินัยแก่ผู้นั้นตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับโทษที่จะลง ให้ ก.ศป. เป็นผู้วินิจฉัย การพิจารณาดําเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่งถ้าเรื่องอยู่ในระหว่างการสืบสวนหรือสอบสวนของผู้บังคับบัญชาก่อนโอนมาดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองหรือก่อนโอนกลับไปเป็นตุลาการศาลปกครอง ให้ดําเนินการต่อไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดนั้นจนแล้วเสร็จแล้วส่งเรื่องให้ ก.ขป. หรือ ก.ศป. แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาดําเนินการต่อไป มาตรา ๗๙ ให้มีพนักงานคดีปกครองทําหน้าที่ช่วยเหลือตุลาการเจ้าของสํานวนในการดําเนินคดีปกครองตามที่ตุลาการเจ้าของสํานวนมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่อื่นในสํานักงานศาลปกครองตามที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมาย ในการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการดําเนินคดีปกครองตามที่ตุลาการเจ้าของสํานวนมอบหมาย ให้พนักงานคดีปกครองเป็นเจ้าพนักงานในตําแหน่งพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๐ คุณสมบัติของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานคดีปกครองในระดับต่าง ๆ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ศป. กําหนด ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการในสังกัดสํานักงานศาลปกครองซึ่งมีคุณสมบัติตามวรรคหนึ่งเป็นพนักงานคดีปกครอง มาตรา ๘๑ ให้มีคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “ก.ขป.” ประกอบด้วย (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุด หรือรองประธานศาลปกครองสูงสุดที่ประธานศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ (๒) เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง และเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนเป็นกรรมการ (๓)กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนสี่คนซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนสองคน และได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสองคน (๔) กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองในระดับไม่ต่ํากว่าตําแหน่งที่ ก.ศป. กําหนดจํานวนสี่คน ซึ่งได้รับเลือกจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๕) กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพัฒนาองค์กรและด้านการบริหารจัดการที่ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นข้าราชการศาลปกครองด้านละหนึ่งคนซึ่งได้รับเลือกจากประธานกรรมการและกรรมการตาม (๒) (๓) และ (๔) ให้ ก.ขป. แต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเป็นเลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๘๑/๑ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓)(๔) และ (๕) จะดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) ในเวลาเดียวกันมิได้ มาตรา ๘๑/๒ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๑/๔ มาตรา ๘๑/๓ การเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง ให้ดําเนินการดังต่อไปนี้ (๑) การเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) ให้นําความในมาตรา ๔๑/๕ มาใช้บังคับโดยอนุโลม (๒) การเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๔) ให้เป็นไปตามวิธีการที่ ก.ศป. ประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๘๒ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) ให้มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับเลือกใหม่ได้ แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้ ถ้าตําแหน่งว่างลงก่อนครบวาระ ให้ดําเนินการเลือกซ่อมภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลง เว้นแต่วาระการอยู่ในตําแหน่งของกรรมการผู้นั้นจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวันจะไม่ดําเนินการเลือกซ่อมก็ได้ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งได้รับเลือกซ่อมให้อยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน มาตรา ๘๓ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) พ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓)ก.ขป.มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนกรรมการทั้งหมดให้พ้นจากตําแหน่ง เนื่องจากกระทําการหรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๔) พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๕) ได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๖) ได้รับเลือกให้ดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง หรือกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) (๗) พ้นจากการเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๔) (๘) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘๑/๒ ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๕) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้ ก.ขป. เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด มาตรา ๘๔ ให้ ก.ขป. มีอํานาจออกระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลและการดําเนินการอื่นของสํานักงานศาลปกครองในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (๑) การกําหนดคุณสมบัติ การคัดเลือก การบรรจุ การแต่งตั้ง การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ การย้าย การเลื่อนตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง การเลื่อนเงินเดือน การออกจากราชการ วินัย การสอบสวน การสั่งพักราชการ การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน และการลงโทษทางวินัย การร้องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษสําหรับข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๒) การรักษาราชการแทนและการปฏิบัติราชการแทนในตําแหน่งของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๓) การกําหนดเครื่องแบบและการแต่งกายของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๔) การแต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อดําเนินกิจการใด ๆ ตามแต่จะมอบหมาย (๕) การรักษาทะเบียนประวัติและควบคุมการเกษียณอายุของข้าราชการศาลปกครอง (๖) การกําหนดวิธีการและเงื่อนไขในการจ้างพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง การกําหนดเครื่องแบบและการแต่งกาย วินัย การสอบสวนและการลงโทษทางวินัย การร้องทุกข์ การอุทธรณ์ การรักษาทะเบียนประวัติ รวมทั้งการอื่นที่จําเป็นของพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๗) พิจารณาเสนอแนะต่อ ก.บ.ศป. ในการออกประกาศแบ่งส่วนราชการภายในของสํานักงานศาลปกครองและกําหนดอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการดังกล่าว (๘) พิจารณาเสนอแนะต่อ ก.บ.ศป. ในการออกระเบียบการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์อื่นแก่ข้าราชการศาลปกครอง และพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๙) การกําหนดกิจการอื่นที่อยู่ในอํานาจและหน้าที่ของ ก.ขป. มาตรา ๘๔/๑ การประชุมของ ก.ขป. ให้นําความในมาตรา ๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๘๕ การกําหนดตําแหน่งและการให้ได้รับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง และเงินเพิ่มสําหรับตําแหน่งที่มีเหตุพิเศษของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ให้นํากฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับข้าราชการพลเรือนสามัญมาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ คําว่า “ก.พ.” ให้หมายถึงคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง มาตรา ๘๖ อัตราเงินเดือน อัตราเงินประจําตําแหน่ง และการให้ได้รับเงินประจําตําแหน่ง และการจ่ายเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ให้นําบทบัญญัติที่ใช้บังคับแก่ข้าราชการพลเรือนในกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๘๗ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง และการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่ง ให้ผู้มีอํานาจดังต่อไปนี้เป็นผู้สั่งบรรจุและแต่งตั้ง (๑) การบรรจุและแต่งตั้งรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมจะดํารงตําแหน่ง โดยความเห็นชอบของ ก.ศป. เสนอต่อนายกรัฐมนตรี และให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งต่อไป (๒) การบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งอื่นนอกจาก (๑) ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นผู้มีอํานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง มาตรา ๘๘ การโอนข้าราชการฝ่ายศาลปกครองไปบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งข้าราชการในหน่วยงานของรัฐอื่นหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือการโอนข้าราชการในหน่วยงานของรัฐอื่นหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมาบรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองอาจกระทําได้ถ้าเจ้าตัวสมัครใจโดยผู้มีอํานาจสั่งบรรจุทําความตกลงกับเจ้าสังกัด และได้ปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองกําหนดโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการข้าราชการหรือคณะกรรมการพนักงานส่วนท้องถิ่นประเภทนั้น ๆ แล้วแต่กรณี การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่โอนมาเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ให้ดํารงตําแหน่งระดับใดและให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งเท่าใด ให้คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเป็นผู้พิจารณากําหนด แต่เงินเดือนที่จะให้ได้รับจะต้องไม่สูงกว่าข้าราชการฝ่ายศาลปกครองที่มีคุณวุฒิ ความสามารถ และความชํานาญงานในระดับเดียวกัน เพื่อประโยชน์ในการนับเวลาราชการ ให้ถือเวลาราชการหรือเวลาทํางานของผู้ที่โอนมาเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองตามวรรคหนึ่งในขณะที่เป็นข้าราชการ หรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นเป็นเวลาราชการของข้าราชการฝ่ายศาลปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย การโอนข้าราชการการเมืองและข้าราชการที่อยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการมาเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองตามพระราชบัญญัตินี้จะกระทํามิได้ มาตรา ๘๙ ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองมีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการเช่นเดียวกับข้าราชการพลเรือน มาตรา ๙๐ เมื่อสํานักงานตรวจเงินแผ่นดินได้ทําการตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภทของศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครองแล้ว ให้เสนอผลการสอบบัญชีโดยตรงต่อสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี โดยไม่ชักช้า มาตรา ๙๑ ให้สํานักงานศาลปกครองเสนองบประมาณรายจ่ายต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนของศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครองไว้ในร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี หรือร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม แล้วแต่กรณี ในการนี้ คณะรัฐมนตรีอาจทําความเห็นเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณของศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครองไว้ในรายงาน การเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปีหรือร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมด้วยก็ได้ มาตรา ๙๒ ในการเสนอหรือพิจารณางบประมาณรายจ่าย การแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองหรือในการพิจารณาเรื่องใดเกี่ยวกับสํานักงานศาลปกครองหรือศาลปกครอง ถ้าเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองร้องขอคณะรัฐมนตรี ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือคณะกรรมาธิการที่เกี่ยวข้องอาจอนุญาตให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองหรือผู้ซึ่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมายมาชี้แจงได้ มาตรา ๙๓ ให้สํานักงานศาลปกครองจัดทํารายงานการปฏิบัติงานของศาลปกครองและของสํานักงานศาลปกครองเสนอต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาปีละหนึ่งครั้ง บทเฉพาะกาล บทเฉพาะกาล มาตรา ๙๔ ในวาระเริ่มแรก ให้จัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาค ดังต่อไปนี้ (๑) ศาลปกครองขอนแก่น ตั้งอยู่ในจังหวัดขอนแก่น โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดมหาสารคาม (๒) ศาลปกครองชุมพร ตั้งอยู่ในจังหวัดชุมพร โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดชุมพร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดระนอง (๓) ศาลปกครองเชียงใหม่ ตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลําปาง และจังหวัดลําพูน (๔) ศาลปกครองนครราชสีมา ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดนครราชสีมา (๕) ศาลปกครองนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดกระบี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดสุราษฎร์ธานี (๖) ศาลปกครองบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ในจังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ (๗) ศาลปกครองพิษณุโลก ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดกําแพงเพชร จังหวัดตาก จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดสุโขทัย (๘) ศาลปกครองแพร่ ตั้งอยู่ในจังหวัดแพร่ โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ และจังหวัดอุตรดิตถ์ (๙) ศาลปกครองยะลา ตั้งอยู่ในจังหวัดยะลา โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา (๑๐) ศาลปกครองระยอง ตั้งอยู่ในจังหวัดระยอง โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดจันทบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดสระแก้ว (๑๑) ศาลปกครองลพบุรี ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดนครนายก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง (๑๒) ศาลปกครองสกลนคร ตั้งอยู่ในจังหวัดสกลนคร โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดสกลนคร (๑๓) ศาลปกครองสงขลา ตั้งอยู่ในจังหวัดสงขลา โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล (๑๔) ศาลปกครองสุพรรณบุรี ตั้งอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดชัยนาท จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี (๑๕) ศาลปกครองอุดรธานี ตั้งอยู่ในจังหวัดอุดรธานี โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองบัวลําภู และจังหวัดอุดรธานี (๑๖) ศาลปกครองอุบลราชธานี ตั้งอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานี โดยมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอํานาจเจริญ มาตรา ๙๕ ในกรณีที่มีการจัดตั้งและเปิดทําการศาลปกครองในภูมิภาคตามมาตรา ๘ เพิ่มเติมในเขตศาลปกครองกลางหรือศาลปกครองในภูมิภาคตามมาตรา ๙๔ บรรดาคดีของเขตท้องที่ศาลปกครองในภูมิภาคที่จัดตั้งขึ้นใหม่ ซึ่งค้างพิจารณาอยู่ในศาลปกครองกลางหรือศาลปกครองในภูมิภาคตามมาตรา ๙๔ ให้คงพิจารณาพิพากษาในศาลปกครองกลางหรือศาลปกครองในภูมิภาคนั้นต่อไป มาตรา ๙๖ ภายในระยะเวลาห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มิให้นํามาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๓) มาใช้บังคับกับผู้ได้รับการแต่งตั้งเป็นตุลาการในศาลปกครองสูงสุดในระหว่างนั้น ในกรณีที่ผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามวรรคหนึ่งเป็นผู้ที่ได้รับหรือมีสิทธิได้รับบํานาญปกติแล้วในขณะแต่งตั้ง ให้นําความในมาตรา ๓๒ มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๙๗ การแต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดครั้งแรกเมื่อพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้มีคณะกรรมการคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดประกอบด้วยข้าราชการสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาสองคนซึ่งได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่คณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้พิพากษาในศาลฎีกาสองคนซึ่งดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้พิพากษาศาลฎีกาและได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการอัยการหนึ่งคน ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนหนึ่งคน ผู้แทนคณะกรรมการสภาทนายความหนึ่งคน ผู้แทนคณะนิติศาสตร์หรือเทียบเท่าของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทุกแห่งซึ่งเลือกกันเองให้เหลือสองคน และผู้แทนคณะรัฐศาสตร์หรือเทียบเท่าของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทุกแห่งซึ่งเลือกกันเองให้เหลือหนึ่งคนเป็นกรรมการ และให้กรรมการดังกล่าวเลือกกรรมการด้วยกันเองคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ ให้คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งเลือกข้าราชการฝ่ายศาลปกครองคนหนึ่งทําหน้าที่เป็นเลขานุการ มาตรา ๙๘ ให้คณะกรรมการคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัตินี้และมีความรู้ความสามารถและความประพฤติเหมาะสมที่จะแต่งตั้งเป็นตุลาการในศาลปกครองสูงสุดไม่เกินยี่สิบสามคน และให้นําความในมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง มาใช้บังคับโดยอนุโลม ทั้งนี้ ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้คณะกรรมการคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจัดทําบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะคัดเลือกจากผู้ที่สนใจสมัครและผู้ที่สถาบันหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับผู้ที่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๓ (๔) เสนอขึ้น และให้บุคคลดังกล่าวแสดงหลักฐานผลงานทางวิชาการหรือทางประสบการณ์ที่บ่งชี้ถึงความรู้ความสามารถที่เหมาะสมสําหรับตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเพื่อสรรหาบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมที่สุดตามจํานวนที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ในการนี้ให้เปิดเผยบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะคัดเลือกและรายชื่อบุคคลที่ได้รับการคัดเลือกให้ทราบทั่วไป และเชิญชวนให้บุคคลในวงการกฎหมายและการบริหารราชการแผ่นดินให้ข้อคิดเห็นและนํามาพิจารณาก่อนนํารายชื่อผู้ที่ได้รับการคัดเลือกในชั้นที่สุดเสนอต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อดําเนินการต่อไป เมื่อมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้คณะกรรมการคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเป็นอันพ้นจากหน้าที่และให้ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดด้วยกันเองเป็นประธานศาลปกครองสูงสุดหนึ่งคน รองประธานศาลปกครองสูงสุดสองคน และตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุดสี่คน และให้นําความในมาตรา ๑๕ วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม มาตรา ๙๙ ในระยะเริ่มแรกให้ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดซึ่งได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๙๘ คัดเลือกรายชื่อบุคคลผู้มีคุณสมบัติและมีความเหมาะสมที่จะแต่งตั้งเป็นอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นศาลละหนึ่งคน และตุลาการศาลปกครองชั้นต้นอีกไม่เกินหนึ่งร้อยสามสิบคน และให้ดําเนินการตามมาตรา ๙๘ วรรคสอง โดยอนุโลมก่อนเสนอรายชื่อให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง มาตรา ๑๐๐ เมื่อมีการแต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๙๘ และตุลาการ ในศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๙๙ แล้ว ให้วุฒิสภา คณะรัฐมนตรี และประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองภายในเก้าสิบวัน มาตรา ๑๐๑ ในระยะเริ่มแรกจนถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๔ มิให้นํามาตรา ๓๐ วรรคสอง มาใช้บังคับ และให้ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น และรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นได้รับเงินเดือนในขั้นต่ําของตําแหน่ง แต่ถ้าผู้ที่โอนมาเคยได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นต่ําของตําแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือนอัตราใดให้เป็นไปตามที่ ก.ศป. กําหนด มาตรา ๑๐๒ ในกรณีที่ผู้โอนมาเป็นตุลาการศาลปกครองหรือข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเป็นข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการอยู่แล้วก่อนวันที่บทบัญญัติหมวด ๓ แห่งพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ ใช้บังคับ แต่มิได้สมัครเป็นสมาชิกกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ให้มีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญข้าราชการ มาตรา ๑๐๓ เมื่อได้มีการแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๙๘ และมาตรา ๙๙ แล้ว ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดวันเปิดทําการศาลปกครองสูงสุด ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองในภูมิภาค สําหรับศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองกลางต้องเปิดทําการไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ สําหรับศาลปกครองในภูมิภาคตามมาตรา ๙๔ ให้ดําเนินการเปิดทําการตามความจําเป็นโดยคํานึงถึงการคัดเลือกตุลาการศาลปกครองที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสม แต่ทั้งนี้ ต้องไม่น้อยกว่าปีละเจ็ดศาล ในระหว่างที่เปิดทําการศาลปกครองในภูมิภาคตามมาตรา ๙๔ ยังไม่ครบทุกแห่งให้ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา กําหนดให้ศาลปกครองในภูมิภาคที่เปิดทําการแล้วมีเขตอํานาจในจังหวัดใดที่อยู่ใกล้เคียงกับศาลปกครองนั้นเพิ่มเติมได้ตามที่สมควร เมื่อได้มีประกาศวันเปิดทําการศาลปกครองกลางแล้ว บรรดาเรื่องที่ร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ซึ่งอยู่ในระหว่างการพิจารณาหรือที่มีคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์แล้วแต่นายกรัฐมนตรียังมิได้สั่งการ ให้โอนไปเป็นคดีของศาลปกครองกลาง และถ้าศาลปกครองกลางเห็นว่าเป็นคดีตามมาตรา ๙ ก็ให้พิจารณาและมีคําพิพากษาต่อไป เพื่อความสะดวกในการดําเนินคดีปกครองของผู้ร้องทุกข์ ถ้าได้มีการเปิดทําการศาลปกครองในภูมิภาคแล้ว เมื่อเห็นสมควร ศาลปกครองกลางจะโอนคดีนั้นไปยังศาลปกครองในภูมิภาคที่มีเขตอํานาจก็ได้ การดําเนินกระบวนพิจารณาและพิพากษาคดีปกครองที่โอนมาตามวรรคสาม ให้เป็นไปตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดกําหนด ทั้งนี้ โดยไม่ขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๐๔ ในระหว่างที่ยังไม่มีระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามมาตรา ๘๔ ให้นํากฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับกับข้าราชการฝ่ายศาลปกครองโดยอนุโลมโดยให้คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองมีอํานาจหน้าที่เป็นคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนตามกฎหมายดังกล่าว ในระยะเริ่มแรก ให้ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองทําการคัดเลือกข้าราชการฝ่ายศาลปกครองด้วยกันเองจํานวนสามคนเพื่อเป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองโดยไม่ชักช้าในระหว่างที่ยังไม่มีการแต่งตั้งตําแหน่งใดซึ่งเป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองโดยตําแหน่ง ให้คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองประกอบด้วยกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเท่าที่มีอยู่ มาตรา ๑๐๕ บรรดาคดีที่ได้ยื่นฟ้องหรืออยู่ในระหว่างการพิจารณาคดีของศาลอื่นอยู่แล้วในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และมีลักษณะเป็นคดีปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ศาลนั้นดําเนินกระบวนพิจารณาและมีคําพิพากษาต่อไปจนคดีนั้นถึงที่สุด มาตรา ๑๐๖ สิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ในคดีที่ไม่อยู่ในอํานาจของศาลปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าเป็นสิทธิฟ้องคดีต่อศาลยุติธรรม มาตรา ๑๐๗ ในวาระเริ่มแรกก่อนที่สํานักงานศาลปกครองจะได้รับงบประมาณรายจ่ายประจําปี ให้ ก.ศป. จัดทําแผนงานในการดําเนินการของศาลปกครองและแผนงานการจัดตั้งและการบริหารงานของสํานักงานศาลปกครองเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการและการบริหารงานตามแผนงานดังกล่าว ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนทั่วไป เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการตามแผนงานที่ ก.ศป. เสนอตามความจําเป็น ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี อื่นๆ - บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | ชั้นศาล | ขั้นเงินเดือน | ตําแหน่ง | เงินเดือน(บาท/เดือน) | เงินประจําตําแหน่ง(บาท/เดือน) | | ศาลปกครองสูงสุด | ๔ | ประธานศาลปกครองสูงสุด | ๘๓,๐๙๐ | ๕๕,๐๐๐ | | ๓ | รองประธานศาลปกครองสูงสุดตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุดตุลาการศาลปกครองสูงสุดอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๘๑,๙๒๐ ๘๐,๕๔๐ | ๕๐,๐๐๐ ๔๒,๕๐๐ | | ศาลปกครองชั้นต้น | | ๒ | รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๗๖,๘๐๐ | ๔๑,๕๐๐ | | ๑ | ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๗๔,๓๖๐ | ๓๐,๐๐๐ | หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติให้จัดตั้งศาลปกครองขึ้น เพื่อให้มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่มีข้อพิพาททางกฎหมายปกครองระหว่างเอกชนกับหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน เกี่ยวกับการกระทําหรือการละเว้นการกระทําที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องปฏิบัติตามกฎหมาย หรือเนื่องจากการกระทําหรือการละเว้นการกระทําที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ซึ่งตามอํานาจหน้าที่ของศาลปกครองดังกล่าวเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการออกกฎหรือคําสั่งทางปกครอง การกระทําละเมิดในทางปกครอง หรือการทําสัญญาทางปกครอง อันเป็นเรื่องของกฎหมายมหาชน และโดยที่ระบบการพิจารณาและพิพากษาคดีจําเป็นต้องมีกระบวนการเป็นพิเศษต่างจากคดีปกติทั่ว ๆ ไป เพราะผลแห่งคําพิพากษาอาจกระทบถึงการบริหารราชการแผ่นดิน หรือต้องจ่ายเงินภาษีอากรของส่วนรวมเป็นค่าชดเชยหรือค่าเสียหายแก่เอกชน ในขณะเดียวกันเอกชนจะอยู่ในฐานะเสียเปรียบที่ไม่อาจทราบข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐได้ ในการพิจารณาจึงจําเป็นต้องใช้ระบบไต่สวนเพื่อหาข้อเท็จจริงที่แท้จริง และต้องมีตุลาการที่มีความเชี่ยวชาญเป็นการเฉพาะซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และประชาชนทั่วไปซึ่งจะถูกกระทบในทางใดทางหนึ่งจากคําพิพากษาของศาลปกครอง รวมทั้งต้องมีหน่วยงานธุรการของศาลปกครองที่เป็นอิสระ ฉะนั้น เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๔ ให้ยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนตุลาการศาลปกครองและบัญชีอัตราเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กําหนดให้ตุลาการศาลปกครองได้รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งสําหรับตําแหน่งต่าง ๆ โดยเทียบเคียงกับอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมในระดับเดียวกัน และเนื่องด้วยได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมให้รับในอัตราใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ สมควรปรับปรุงอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของตุลาการศาลปกครองให้เท่าเทียมกัน จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๕ บทบัญญัติมาตรา ๔๕/๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับแก่บรรดาคดีที่ได้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และยังไม่ได้เสียค่าธรรมเนียมศาล ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ในปัจจุบันการฟ้องคดีปกครองที่ขอให้ศาลสั่งให้ใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สินอันสืบเนื่องจากคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) หรือ (๔) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คู่กรณีจะต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลโดยไม่มีข้อยกเว้นใด ๆ ทําให้เป็นภาระแก่คู่กรณีที่ไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือทําให้ได้รับความเดือดร้อนเกินสมควรถ้าไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล ดังนั้น สมควรกําหนดให้ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาอนุญาตการขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลได้ ประกอบกับคดีดังกล่าว มีลักษณะเดียวกับคดีที่มีคําขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคํานวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งสมควรกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องคดีปกครองให้สอดคล้องกัน จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๕ ให้ยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ท้ายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน ดังต่อไปนี้ (๑) บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง บัญชี ๑ ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ (๒) บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง บัญชี ๒ ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองเพื่อให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปโดยปรับอัตราเงินเดือนเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละสาม ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ และปรับอัตราเงินเดือนเพิ่มขึ้นอีกในอัตราร้อยละห้า ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และกําหนดให้ตุลาการศาลปกครองมีสิทธิได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว เพื่อให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปและสอดคล้องกับข้าราชการประเภทต่าง ๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการปรับอัตราเงินเดือนตุลาการศาลปกครองเพิ่มเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราและไม่เกินร้อยละสิบของอัตราที่ใช้บังคับอยู่ สมควรกําหนดให้กระทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๑ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑** หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เมื่อศาลปกครองได้เปิดทําการแล้วทําให้มีการแยกสัญญาทางปกครองออกจากสัญญาทางแพ่งนับว่ามีผลความสําคัญอย่างยิ่ง ทั้งในเรื่องของศาลที่มีเขตอํานาจเหนือคดี กฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติที่จะนํามาใช้ในคดีนั้นสัญญาทางปกครองจึงเป็นหลักเกณฑ์ใหม่ที่แม้แต่นักกฎหมายยังถกเถียงเพื่อค้นหาความหมายแนวทางที่เหมาะสมหรือควรจะเป็น ในแต่ละปีหน่วยงานของรัฐได้ทําสัญญากับเอกชนหรือกับหน่วยงานของรัฐด้วยกันในกิจกรรมที่หลากหลายตั้งแต่กิจกรรมขนาดเล็กจนถึงโครงการขนาดใหญ่ เช่น สัญญาจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ สัญญาจ้างก่อสร้างอาคาร ถนนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ สัญญาสัมปทาน ฯลฯ หากนับรวมมูลค่าตามสัญญาเหล่านี้จะเกี่ยวข้องกับเงินงบประมาณแผ่นดินจํานวนมาก แต่เนื่องจากการฟ้องคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ยื่นฟ้องคดีภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดีแต่ไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดีซึ่งเดิมสัญญาดังกล่าวมีอายุความถึงสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อได้มีการตีความสัญญาโดยศาลปกครองหรือคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลว่าเป็นสัญญาประเภทใด หากตีความว่าเป็นสัญญาทางปกครองจะทําให้กําหนดระยะเวลาในการฟ้องคดีลดเหลือเพียงหนึ่งปี เป็นเหตุให้ระยะเวลาฟ้องคดีสั้นลงโดยผลของกฎหมายตามมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สมควรแก้ไขระยะเวลาฟ้องคดีดังกล่าวให้ยาวขึ้น นอกจากนั้นปัจจุบันยังมีปัญหาการตีความความหมายของเรื่องประโยชน์แก่ส่วนรวม จึงเห็นควรบัญญัติเรื่องนี้ไว้ในบทนิยาม เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการใช้กฎหมายยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้นไป หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากบัญชีอัตราเงินเดือนตุลาการศาลปกครองในปัจจุบันไม่เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น สมควรปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองให้เหมาะสมยิ่งขึ้น โดยปรับเพิ่มในอัตราร้อยละห้าเท่ากันทุกอัตรา และโดยที่มาตรา ๓๐ วรรคหก แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติให้ในกรณีที่สมควรปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าการปรับอัตราเงินเดือนดังกล่าวเป็นการปรับเพิ่มเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราและไม่เกินร้อยละสิบของอัตราที่ใช้บังคับอยู่ การปรับให้กระทําโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา จึงจําเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔** หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันปริมาณคดีปกครองประเภทที่ต้องดําเนินกระบวนพิจารณาโดยเร่งด่วนให้ทันต่อการแก้ไขเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายแก่คู่กรณี หรือเพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น เช่น คดีเกี่ยวกับการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ และการแต่งตั้งข้าราชการในหน่วยงานทางปกครอง เป็นต้น ซึ่งหากให้คดีปกครองประเภทดังกล่าวดําเนินการตามขั้นตอนและมีผู้รับผิดชอบเช่นเดียวกับคดีปกครองทั่วไป อาจเป็นผลทําให้การพิจารณาพิพากษาคดีที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และต้องดําเนินกระบวนพิจารณาโดยเร่งด่วนมีความล่าช้า สมควรเพิ่มอํานาจในการจัดตั้งแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในศาลปกครองสูงสุด หรือศาลปกครองชั้นต้น และกําหนดตําแหน่งตุลาการศาลปกครองที่เรียกชื่ออย่างอื่น เพื่อทําหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีดังกล่าวโดยเฉพาะ อีกทั้ง เพื่อให้การบริหารงานบุคคลของศาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเหมาะสมกับการอํานวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน รวมทั้งแก้ไขบทบัญญัติเกี่ยวกับการกําหนดจํานวนตุลาการศาลปกครองให้สอดคล้องกับหลักการและบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๑๒ ให้กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง ยังคงอยู่ในตําแหน่งต่อไปจนกว่าจะครบวาระในวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองดังกล่าวเป็นคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่มีกรรมการตุลาการศาลปกครองตามวรรคหนึ่งพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระในระหว่างวันที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง จนถึงวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกซ่อมกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นตุลาการศาลปกครองแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และเมื่อได้มีการเลือกซ่อมแล้ว ให้คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบด้วยกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการเลือกซ่อมนี้ด้วย ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้รับเลือกจากวุฒิสภาและคณะรัฐมนตรีใหม่แทนตําแหน่งที่ว่างลงเพราะครบวาระก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ โดยให้ประธานศาลปกครองสูงสุดแจ้งต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งทําหน้าที่ประธานวุฒิสภาและนายกรัฐมนตรีเพื่อทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เพื่อดําเนินการเลือกให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง และเมื่อได้มีการเลือกแล้ว ให้คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบด้วยกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้เลือกนี้ด้วย ให้นําความในมาตรา ๓๕/๑ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙/๑ และมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ โดยอนุโลม มาตรา ๑๓ มติหรือการให้ความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๑๒ ที่ได้มีมติหรือให้ความเห็นชอบในระหว่างวันก่อนวันที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง จนถึงวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ถือว่าเป็นมติหรือการให้ความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่องค์ประกอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองที่ผ่านมาได้บัญญัติไว้เฉพาะในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยมิได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สมควรกําหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองไว้ในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติมคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม วิธีการเลือก และการพ้นจากตําแหน่ง ของกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิให้สอดคล้องกับการกําหนดบทบัญญัติดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๘ บรรดาคดีที่อยู่ในระหว่างการบังคับให้เป็นไปตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ดําเนินการบังคับให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันการดําเนินการบังคับคดีปกครองยังมีข้อขัดข้อง เนื่องจากกฎหมายไม่ได้กําหนดรายละเอียดในการดําเนินการบังคับคดีปกครองให้ครอบคลุมคดีปกครองทุกประเภท ซึ่งคดีปกครองมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถนําหลักการของการบังคับคดีแพ่งมาใช้ในการดําเนินการบังคับคดีให้มีประสิทธิภาพในทุกกรณีได้ อีกทั้งไม่มีบทบัญญัติกําหนดอํานาจและหน้าที่ของเจ้าพนักงานบังคับคดี ตลอดจนมาตรการที่จะบังคับให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนภายในเวลาอันสมควร อีกทั้งสมควรกําหนดให้ในกรณีที่มีการอุทธรณ์คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น คู่กรณีฝ่ายชนะคดีในคดีที่กําหนดอาจยื่นคําขอต่อศาลปกครองชั้นต้นหรือศาลปกครองสูงสุด แล้วแต่กรณี เพื่อให้มี การปฏิบัติตามคําบังคับได้ ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้ประชาชนต้องรอการปฏิบัติตามคําพิพากษาในระหว่างการพิจารณาคดีชั้นอุทธรณ์ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๓๖ เพื่อประโยชน์ในการนับจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่า (๑) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่ดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและเคยดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองชั้นต้นมาก่อนเป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง (๑) (๒) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่ดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและไม่เคยดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองชั้นต้นมาก่อน เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง (๒) มาตรา ๓๗ บทบัญญัติมาตรา ๑๕/๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มิให้ใช้บังคับกับตุลาการศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและให้ตุลาการศาลปกครองผู้นั้นพ้นจากตําแหน่งดังกล่าวเมื่อดํารงตําแหน่งครบสี่ปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และให้ดํารงตําแหน่งได้เพียงวาระเดียว มาตรา ๓๘ ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครองเพราะมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ก) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และยังคงดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้นั้นอยู่ในตําแหน่งต่อไปโดยไม่ถือว่าเป็นผู้ที่ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ บทบัญญัติในมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ค) (จ) และ (ช) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้มิให้นํามาใช้บังคับกับตุลาการศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๓๙ การพิจารณาคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นที่ได้ดําเนินการตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ดําเนินการตามพระราชบัญญัติดังกล่าวต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จและมิให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ มาตรา ๔๐ ในวาระเริ่มแรก ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ และกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงอยู่ในตําแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีการประกาศผลการเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวรรคสอง ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ มาตรา ๔๑ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือคําสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือคําสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๔๒ การสอบสวนตุลาการศาลปกครองผู้กระทําผิดวินัยอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ดําเนินการต่อไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดนั้นจนแล้วเสร็จ ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติบางประการในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้นโดยปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับการแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองชั้นต้นการเลื่อนตุลาการศาลปกครองชั้นต้นซึ่งดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นไปดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุดได้เพื่อคงความต่อเนื่องในการปฏิบัติหน้าที่ที่จําเป็นต้องอาศัยความเชี่ยวชาญและความชํานาญในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีปกครอง วาระการดํารงตําแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดโดยให้มีวาระสี่ปี การดําเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการตุลาการศาลปกครองกําหนดให้มีคณะกรรมการบริหารศาลปกครองมีอํานาจหน้าที่กํากับดูแลการบริหารราชการของศาลปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการบริหารงานทั่วไป งบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน และการดําเนินการอื่นของศาลปกครอง รวมทั้งงานธุรการของสํานักงานศาลปกครองให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน และประเพณีปฏิบัติของทางราชการศาลปกครอง เพื่อให้การบริหารราชการศาลปกครองเป็นไปด้วยความเรียบร้อยยิ่งขึ้น และปรับปรุงองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ตลอดจนกําหนดเรื่องการดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองและการดําเนินการทางวินัยแก่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๒๓ ในวาระเริ่มแรก ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) (ก) และ (ข) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระแต่ต้องทําหน้าที่กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิไปพลางก่อนตามมาตรา ๒๗๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงทําหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีการประกาศผลการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) (ก) และ (ข) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ พ้นจากตําแหน่ง แต่ให้ทําหน้าที่กรรมการตุลาการศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการประกาศผลการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวรรคสองและวรรคสาม ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมาตรา ๑๙๐ บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและให้ตุลาการพ้นจากตําแหน่ง แต่ในกรณีที่พ้นจากตําแหน่งเพราะความตายหรือเกษียณอายุ พ้นจากตําแหน่งตามวาระ หรือพ้นจากราชการเพราะถูกลงโทษ ให้นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ มาตรา ๑๙๘ บัญญัติให้การบริหารงานบุคคลเกี่ยวกับตุลาการศาลปกครองต้องดําเนินการโดยคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองซึ่งประกอบด้วยประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธานและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นตุลาการในศาลปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็นตุลาการในศาลปกครองไม่เกินสองคน บรรดาที่ได้รับเลือกจากข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติและมาตรา ๒๓๑ บัญญัติให้ผู้ตรวจการแผ่นดินอาจเสนอเรื่องต่อศาลปกครองได้เมื่อเห็นว่ามีกรณีกฎ คําสั่ง หรือการกระทําใดของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ในเรื่องดังกล่าวให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบกับมาตรา ๑๘๘ วรรคสอง บัญญัติให้ผู้พิพากษาและตุลาการย่อมมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีสมควรกําหนดความคุ้มครองตุลาการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีซึ่งได้กระทําโดยสุจริต นอกจากนั้นสมควรปรับปรุงการพิจารณาพิพากษาคดีและการบริหารจัดการคดีของศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยกําหนดให้สามารถยื่นคําฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสาร เพื่อประโยชน์ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางปกครองได้โดยง่าย สะดวกรวดเร็ว และทั่วถึง รวมทั้งกําหนดกระบวนพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพตลอดจนแก้ไขเพิ่มเติมกระบวนพิจารณาในการพิจารณาคําขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลการนั่งพิจารณาคดีในกรณีที่มีความจําเป็นเร่งด่วนและการไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีสําหรับคดีที่อุทธรณ์คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๑** ฯลฯ ฯลฯ มาตรา ๕ เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามระเบียบ ก.ศป. ว่าด้วยการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตุลาการศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งตุลาการศาลปกครองได้รับไปแล้ว ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นมาจนถึงวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งที่ได้รับการปรับเพิ่มตามบัญชีอัตราเงินเดือนและ เงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองในมาตรา ๔ และให้การได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว ในกรณีนั้นสิ้นสุดลงในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองเพื่อให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น โดยกําหนดให้ถือว่าเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามระเบียบ ก.ศป. ว่าด้วยการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตุลาการศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งตุลาการศาลปกครองได้รับไปแล้วตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นมาจนถึงวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับเป็นส่วนหนึ่งของเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งที่ได้รับการปรับเพิ่มตามบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง และให้การได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวในกรณีนั้นสิ้นสุดลงในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒** หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นกระบวนการหนึ่งที่ช่วยให้การบริหารจัดการคดีมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสและส่งเสริมให้คู่กรณีมีทางเลือกในการระงับข้อพิพาททางปกครองได้อีกทางหนึ่ง สมควรเพิ่มบทบัญญัติให้ศาลปกครองมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองภายใต้หลักความชอบด้วยกฎหมาย เพื่อให้ข้อพิพาททางปกครองยุติลงได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นด้วยความสมัครใจของคู่กรณี และรักษาไว้ซึ่งสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ตลอดจนส่งเสริมให้การบริหารจัดการคดีของศาลปกครองมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๔** หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรเพิ่มอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารศาลปกครองให้รวมถึงการออกระเบียบเกี่ยวกับการกําหนดเบี้ยประชุมสําหรับข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ซึ่งเข้าร่วมการประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด เพื่อให้สอดคล้องกับ มาตรา ๑๙๓ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งบัญญัติให้ศาลปกครองมีระบบเงินเดือนและค่าตอบแทนเป็นการเฉพาะตามความเหมาะสมตามที่กฎหมายบัญญัติ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ อื่นๆ - **พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๔** หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติม อํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารศาลปกครองในการออกระเบียบเกี่ยวกับเงินค่าตอบแทนพิเศษ และสิทธิและประโยชน์อื่นของข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง และพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง อันจะเป็นมาตรการสําคัญอย่างหนึ่งในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพ และเสริมสร้างขวัญกําลังใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการอํานวยความยุติธรรมทางปกครองแก่บุคลากรของศาลปกครอง จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,337
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นปีที่ ๕๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธี พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๐ อัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของตุลาการศาลปกครองให้เป็นไป ตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ตุลาการศาลปกครองให้ได้รับเงินเดือนตามตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง ดังต่อไปนี้ (๑) ในศาลปกครองสูงสุด (ก) ประธานศาลปกครองสูงสุด ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๔ (ข) รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด และ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๓ (๒) ในศาลปกครองชั้นต้น (ก) อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๓ (ข) รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น และตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๒ - ๓ โดยให้เริ่มรับเงินเดือนในชั้น ๒ และเมื่ออยู่ในชั้น ๒ มาครบเจ็ดปีแล้ว ให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๓ (ค) ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๑ - ๓ โดยให้เริ่มรับเงินเดือน ในชั้น ๑ เมื่ออยู่ในชั้น ๑ มาครบหนึ่งปีแล้วให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๒ และเมื่ออยู่ในชั้น ๒ มาครบเจ็ดปีแล้วให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๓ ให้ตุลาการศาลปกครองได้รับเงินประจําตําแหน่งตามตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้งนับแต่วันที่ได้รับ แต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งดังกล่าว ตุลาการศาลปกครองให้ได้รับค่าพาหนะเดินทาง ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายอื่นในกรณีเดินทาง ไปราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เพื่อประโยชน์ในการรับบําเหน็จบํานาญ ให้ตุลาการศาลปกครองเป็นข้าราชการตามกฎหมาย ว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ ในการนี้ ให้สํานักงานศาลปกครองเป็นเจ้าหน้าที่ควบคุม การเกษียณอายุของตุลาการศาลปกครอง” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนตุลาการศาลปกครองและบัญชีอัตราเงินประจําตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | | ชั้นศาล | ชั้นเงินเดือน | ตําแหน่ง | เงินเดือน(บาท) | เงินประจําตําแหน่ง(บาท) | | * ศาลปกครองสูงสุด | ๔ | ประธานศาลปกครองสูงสุด | ๖๔,๐๐๐ | ๕๐,๐๐๐ | | | ๓ | รองประธานศาลปกครองสูงสุดตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุดตุลาการศาลปกครองสูงสุดอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๖๒,๐๐๐ | ๔๒,๕๐๐ | | ศาลปกครองชั้นต้น | | ๒ | รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๕๙,๐๙๐ | ๔๑,๕๐๐ | | ๑ | ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๕๗,๑๙๐ | ๓๐,๐๐๐ | หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กําหนดให้ตุลาการศาลปกครองได้รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งสําหรับตําแหน่งต่าง ๆ โดยเทียบเคียงกับอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม ในระดับเดียวกันและเนื่องด้วยได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของข้าราชการ ตุลาการศาลยุติธรรมให้รับในอัตราใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ สมควรปรับปรุงอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของตุลาการศาลปกครองให้เท่าเทียมกัน จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๙/ตอนที่ ๒๙ ก/หน้า ๑/๓๑ มีนาคม ๒๕๔๕ [↑](#footnote-ref-1)
10,338
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นปีที่ ๖๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘” มาตรา ๒[1](#fn1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคสี่ของมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การฟ้องคดีไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล เว้นแต่การฟ้องคดีขอให้สั่งให้ใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สินอันสืบเนื่องจากคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) หรือ (๔) ให้เสียค่าธรรมเนียมศาลตามทุนทรัพย์ในอัตราตามที่ระบุไว้ในตาราง ๑ ท้ายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง สําหรับคดีที่มีคําขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคํานวณเป็นราคาเงินได้” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๔๕/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๔๕/๑ การฟ้องคดีที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลตามมาตรา ๔๕ วรรคสี่ หากคู่กรณีใดยื่นคําขอต่อศาลโดยอ้างว่า ไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือโดยสถานะของผู้ขอถ้าไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร ถ้าศาลเห็นว่ามีข้อเท็จจริงเพียงพอที่จะรับฟ้องไว้พิจารณา หรือในกรณีอุทธรณ์ซึ่งศาลเห็นว่ามีเหตุผลอันสมควรที่จะอุทธรณ์ได้ แล้วแต่กรณี และศาลได้ไต่สวนแล้วเห็นว่ามีเหตุตามคําขอจริงก็ให้ศาลอนุญาตให้คู่กรณีนั้นดําเนินคดี โดยยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือเฉพาะบางส่วนได้ คําสั่งให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดให้เป็นที่สุด ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลเฉพาะบางส่วน หรือมีคําสั่งให้ยกคําขอผู้ยื่นคําขอมีสิทธิดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคําสั่ง (๑) ยื่นคําร้องขอให้พิจารณาคําขอนั้นใหม่ เพื่ออนุญาตให้ตนนําพยานหลักฐานมาแสดงเพิ่มเติมว่าไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาลได้จริง หรือโดยสถานะของผู้ขอถ้าไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร (๒) ยื่นอุทธรณ์คําสั่งนั้นต่อศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่คู่กรณีใช้สิทธิตาม (๑) หรือ (๒) อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว จะใช้สิทธิอีกประการหนึ่งมิได้ การยื่นคําขอ การพิจารณาคําขอ การขอให้พิจารณาใหม่ การอุทธรณ์และการดําเนินกระบวนพิจารณาอื่นใดที่เกี่ยวกับการขอดําเนินคดีตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่ออกตามมาตรา ๔๔” มาตรา ๕ บทบัญญัติมาตรา ๔๕/๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับแก่บรรดาคดีที่ได้ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และยังไม่ได้เสียค่าธรรมเนียมศาล มาตรา ๖ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี *หมายเหต*ุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ในปัจจุบันการฟ้องคดีปกครองที่ขอให้ศาลสั่งให้ใช้เงินหรือส่งมอบทรัพย์สินอันสืบเนื่องจากคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) หรือ (๔)แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คู่กรณีจะต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลโดยไม่มีข้อยกเว้นใด ๆ ทําให้เป็นภาระแก่คู่กรณีที่ไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือทําให้ได้รับความเดือดร้อนเกินสมควรถ้าไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล ดังนั้น สมควรกําหนดให้ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาอนุญาตการขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลได้ ประกอบกับคดีดังกล่าว มีลักษณะเดียวกับคดีที่มีคําขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคํานวณเป็นราคาเงินได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง สมควรกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมศาลในการฟ้องคดีปกครองให้สอดคล้องกันจึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ --- 1.
10,339
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒[1](#fn1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคหกของมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ “ในกรณีที่สมควรปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าการปรับอัตราเงินเดือนดังกล่าวเป็นการปรับเพิ่มเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราและไม่เกินร้อยละสิบของอัตราที่ใช้บังคับอยู่ การปรับให้กระทําโดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้ถือว่าบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งท้ายพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวเป็นบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งท้ายพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในกรณีที่การปรับเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราดังกล่าวหากทําให้อัตราหนึ่งอัตราใดมีเศษไม่ถึงสิบบาทให้ปรับตัวเลขเงินเดือนของอัตราดังกล่าวให้เพิ่มขึ้นเป็นสิบบาท และมิให้ถือว่าเป็นการปรับอัตราร้อยละที่แตกต่างกัน” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๐/๑ ตุลาการศาลปกครองอาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ศป. กําหนด ในกรณีที่มีเหตุจะต้องจัดให้มีหรือปรับปรุงเงินเพิ่มค่าครองชีพตามวรรคหนึ่งให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองรายงานไปยังคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาดําเนินการต่อไป” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน ดังต่อไปนี้ (๑) บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง บัญชี ๑ ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ (๒) บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง บัญชี ๒ ให้ใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นต้นไป ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี บัญชี ๑ ------- บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ------------------------------------------------------ | ชั้นศาล | ชั้น เงินเดือน | ตําแหน่ง | เงินเดือน (บาท) | เงินประจํา ตําแหน่ง (บาท) | | ศาลปกครองสูงสุด | ๔ | ประธานศาลปกครองสูงสุด | ๖๕,๙๒๐ | ๕๐,๐๐๐ | | | ๓ | รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ตุลาการศาลปกครองสูงสุด | ๖๓,๘๖๐ | ๔๒,๕๐๐ | | ศาลปกครองชั้นต้น | | อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | | | | | ๒ | รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๖๐,๘๗๐ | ๔๑,๕๐๐ | | | ๑ | ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๕๘,๙๑๐ | ๓๐,๐๐๐ | บัญชี ๒ ------- บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ------------------------------------------------------ | ชั้นศาล | ชั้น เงินเดือน | ตําแหน่ง | เงินเดือน (บาท) | เงินประจํา ตําแหน่ง (บาท) | | ศาลปกครองสูงสุด | ๔ | ประธานศาลปกครองสูงสุด | ๖๙,๒๒๐ | ๕๐,๐๐๐ | | | ๓ | รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด ตุลาการศาลปกครองสูงสุด | ๖๗,๐๖๐ | ๔๒,๕๐๐ | | ศาลปกครองชั้นต้น | | อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | | | | | ๒ | รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๖๓,๙๒๐ | ๔๑,๕๐๐ | | | ๑ | ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๖๑,๘๖๐ | ๓๐,๐๐๐ | *หมายเหตุ*:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองเพื่อให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปโดยปรับอัตราเงินเดือนเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละสาม ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ และปรับอัตราเงินเดือนเพิ่มขึ้นอีกในอัตราร้อยละห้า ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และกําหนดให้ตุลาการศาลปกครองมีสิทธิได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว เพื่อให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปและสอดคล้องกับข้าราชการประเภทต่าง ๆ นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการปรับอัตราเงินเดือนตุลาการศาลปกครองเพิ่มเป็นร้อยละเท่ากันทุกอัตราและไม่เกินร้อยละสิบของอัตราที่ใช้บังคับอยู่ สมควรกําหนดให้กระทําได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกาจึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ --- 1.
10,340
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นปีที่ ๖๓ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑” มาตรา ๒[1](#fn1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า “ประโยชน์แก่ส่วนรวม” ต่อจากบทนิยามคําว่า“สัญญาทางปกครอง” ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครองพ.ศ. ๒๕๔๒ ““ประโยชน์แก่ส่วนรวม” หมายความว่า ประโยชน์ต่อสาธารณะหรือประโยชน์อันเกิดแก่การจัดทําบริการสาธารณะหรือการจัดให้มีสิ่งสาธารณูปโภค หรือประโยชน์อื่นใดที่เกิดจากการดําเนินการหรือการกระทําที่มีลักษณะเป็นการส่งเสริม หรือสนับสนุนแก่ประชาชนเป็นส่วนรวมหรือประชาชนส่วนรวมจะได้รับประโยชน์จากการดําเนินการหรือการกระทํานั้น” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๕๑ การฟ้องคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) ให้ยื่นฟ้องภายในหนึ่งปี และการฟ้องคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) ให้ยื่นฟ้องภายในห้าปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดีแต่ไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดี” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี *หมายเหตุ*:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เมื่อศาลปกครองได้เปิดทําการแล้วทําให้มีการแยกสัญญาทางปกครองออกจากสัญญาทางแพ่งนับว่ามีผลความสําคัญอย่างยิ่ง ทั้งในเรื่องของศาลที่มีเขตอํานาจเหนือคดี กฎหมายสารบัญญัติและกฎหมายวิธีสบัญญัติที่จะนํามาใช้ในคดีนั้น สัญญาทางปกครองจึงเป็นหลักเกณฑ์ใหม่ที่แม้แต่นักกฎหมายยังถกเถียงเพื่อค้นหาความหมายแนวทางที่เหมาะสมหรือควรจะเป็นในแต่ละปีหน่วยงานของรัฐได้ทําสัญญากับเอกชนหรือกับหน่วยงานของรัฐด้วยกันในกิจกรรมที่หลากหลายตั้งแต่กิจกรรมขนาดเล็กจนถึงโครงการขนาดใหญ่ เช่น สัญญาจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ สัญญาจ้างก่อสร้างอาคารถนนหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ สัญญาสัมปทาน ฯลฯ หากนับรวมมูลค่าตามสัญญาเหล่านี้จะเกี่ยวข้องกับเงินงบประมาณแผ่นดินจํานวนมาก แต่เนื่องจากการฟ้องคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ยื่นฟ้องคดีภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุแห่งการฟ้องคดี แต่ไม่เกินสิบปีนับแต่วันที่มีเหตุแห่งการฟ้องคดีซึ่งเดิมสัญญาดังกล่าวมีอายุความถึงสิบปีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อได้มีการตีความสัญญาโดยศาลปกครองหรือคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอํานาจหน้าที่ระหว่างศาลว่าเป็นสัญญาประเภทใด หากตีความว่าเป็นสัญญาทางปกครองจะทําให้กําหนดระยะเวลาในการฟ้องคดีลดเหลือเพียงหนึ่งปี เป็นเหตุให้ระยะเวลาฟ้องคดีสั้นลงโดยผลของกฎหมายตามมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สมควรแก้ไขระยะเวลาฟ้องคดีดังกล่าวให้ยาวขึ้น นอกจากนั้นปัจจุบันยังมีปัญหาการตีความความหมายของเรื่องประโยชน์แก่ส่วนรวม จึงเห็นควรบัญญัติเรื่องนี้ไว้ในบทนิยาม เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการใช้กฎหมายยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ --- 1.
10,341
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2554
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นปีที่ ๖๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภาดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔” มาตรา ๒[1](#fn1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “ศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้นอาจแบ่งเป็นแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นและจะให้มีอํานาจในคดีประเภทใดหรือคดีในท้องที่ใดซึ่งอยู่ในเขตอํานาจของแต่ละศาลนั้น แยกต่างหากโดยเฉพาะก็ได้ ทั้งนี้ ให้ออกเป็นประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. ประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดตามวรรคสอง เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ “มาตรา ๗/๑ ในกรณีที่มีการจัดตั้งแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นขึ้นในศาลปกครองสูงสุดหรือศาลปกครองชั้นต้นใด ให้มีตุลาการหัวหน้าแผนกหรือตุลาการหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นนั้นแผนกหรือหน่วยงานละหนึ่งคนเพื่อรับผิดชอบงานของแผนกหรือหน่วยงานดังกล่าว ทั้งนี้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ศป. กําหนด” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๒ ในศาลปกครองสูงสุด ให้มีตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ดังต่อไปนี้ (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุด (๒) รองประธานศาลปกครองสูงสุด (๓) ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด (๔) ตุลาการศาลปกครองสูงสุด (๕) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด ทั้งนี้ ตามจํานวนที่ ก.ศป. กําหนด การกําหนดตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง (๕) ให้ ก.ศป. กําหนดว่าจะให้เทียบเท่ากับตําแหน่งใดตามวรรคหนึ่ง (๒) (๓) หรือ (๔) ไว้ในประกาศดังกล่าวด้วย และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้” มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๗ ในศาลปกครองชั้นต้นแต่ละศาล ให้มีตําแหน่งตุลาการศาลปกครองดังต่อไปนี้ (๑) อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น (๒) รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น (๓) ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น (๔) ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น (๕) ตุลาการศาลปกครองชั้นต้นที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด ทั้งนี้ ตามจํานวนที่ ก.ศป. กําหนด การกําหนดตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง (๕) ให้ ก.ศป. กําหนดว่าจะให้เทียบเท่ากับตําแหน่งใดตามวรรคหนึ่งไว้ในประกาศดังกล่าวด้วย และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้” มาตรา ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคเจ็ดของมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐ “ตุลาการศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น เมื่อเทียบกับตําแหน่งใดตามวรรคสอง (๑) (ข) หรือ (๒) (ก) (ข) หรือ (ค) แล้ว ให้ได้รับเงินเดือน การเลื่อนชั้นเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งรวมทั้งประโยชน์ตอบแทนอื่นตามตําแหน่งนั้น” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี *หมายเหตุ*:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันปริมาณคดีปกครองประเภทที่ต้องดําเนินกระบวนพิจารณาโดยเร่งด่วนให้ทันต่อการแก้ไขเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายแก่คู่กรณีหรือเพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น เช่น คดีเกี่ยวกับการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ และการแต่งตั้งข้าราชการในหน่วยงานทางปกครอง เป็นต้น ซึ่งหากให้คดีปกครองประเภทดังกล่าวดําเนินการตามขั้นตอนและมีผู้รับผิดชอบเช่นเดียวกับคดีปกครองทั่วไป อาจเป็นผลทําให้การพิจารณาพิพากษาคดีที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และต้องดําเนินกระบวนพิจารณาโดยเร่งด่วนมีความล่าช้าสมควรเพิ่มอํานาจในการจัดตั้งแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในศาลปกครองสูงสุด หรือศาลปกครองชั้นต้น และกําหนดตําแหน่งตุลาการศาลปกครองที่เรียกชื่ออย่างอื่น เพื่อทําหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีดังกล่าวโดยเฉพาะ อีกทั้ง เพื่อให้การบริหารงานบุคคลของศาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเหมาะสมกับการอํานวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน รวมทั้งแก้ไขบทบัญญัติเกี่ยวกับการกําหนดจํานวนตุลาการศาลปกครองให้สอดคล้องกับหลักการและบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ --- 1.
10,342
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2557
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นปีที่ ๖๙ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๕ ให้มีคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “ก.ศป.”ประกอบด้วย (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนเก้าคน ดังนี้ (ก) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนหกคนซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (ข) ตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสามคนซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น (๓) กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่เป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนสามคน ดังนี้ (ก) ผู้ซึ่งได้รับเลือกจากวุฒิสภาจํานวนสองคน (ข) ผู้ซึ่งได้รับเลือกจากคณะรัฐมนตรีจํานวนหนึ่งคน ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นเลขานุการของ ก.ศป. และให้ ก.ศป. แต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองจํานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๕/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๕/๑ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสี่สิบห้าปี (๓) สําเร็จการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (๔) ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง กรรมการตรวจเงินแผ่นดินผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติหรือกรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมหรือศาลอื่น (๕) ไม่เป็นข้าราชการอัยการ ข้าราชการตํารวจ ข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม ตุลาการศาลทหาร หรือทนายความ (๖) ไม่เป็นกรรมการ ที่ปรึกษา พนักงาน ลูกจ้าง หรือดํารงตําแหน่งใดในรัฐวิสาหกิจ (๗) ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี (๘) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย หรือไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๙) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ (๑๐) ไม่เคยต้องรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๑๑) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (๑๒) ไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (๑๓) ไม่ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอื่นใดอันเป็นการกระทบกระเทือนถึงการปฏิบัติหน้าที่ในตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๖ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๖ การเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) ให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ ในการนี้ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองจัดทําบัญชีรายชื่อบุคคลผู้มีสิทธิได้รับเลือก โดยแยกเป็นประเภทตุลาการในศาลปกครองสูงสุดและตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นส่งไปยังตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น แล้วแต่กรณี และให้แจ้งกําหนดวันเวลา และสถานที่ที่จะทําการเลือกไปด้วย ให้มีคณะกรรมการดําเนินการเลือก ประกอบด้วย เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ตุลาการ ศาลปกครองสามคน และคณบดีคณะนิติศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสามคน ซึ่งประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นผู้คัดเลือก เป็นกรรมการ มีหน้าที่ในการดําเนินการเกี่ยวกับการเลือกกรรมการ ตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง การตรวจนับคะแนนและการประกาศผลการเลือก ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรับผิดชอบดูแลให้การเลือกเป็นไปโดยถูกต้องและเรียบร้อย ให้ผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) เข้ารับหน้าที่เมื่อประธานศาลปกครองสูงสุดได้ประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ และให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองดําเนินการประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกในราชกิจจานุเบกษา” มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๗ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๗ การเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) (ก) ให้วุฒิสภาตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นคณะหนึ่งเพื่อพิจารณาเสนอรายชื่อบุคคลที่เห็นสมควรซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕/๑ จํานวนสองเท่าของจํานวนที่ต้องเลือกเสนอต่อวุฒิสภา เพื่อพิจารณาเลือกต่อไป ให้นําความในมาตรา ๓๖ วรรคสี่ มาใช้บังคับกับการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิในวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม” มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๘ การเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง(๓) (ข) ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้เสนอชื่อบุคคลที่เห็นสมควรจะได้รับเลือกต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาลงมติ ให้นําความในมาตรา ๓๖ วรรคสี่ มาใช้บังคับกับการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิในวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม” มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๙ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) ให้อยู่ในตําแหน่งคราวละสองปีโดยอาจได้รับเลือกใหม่ได้อีก แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ ก่อนกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) จะครบวาระเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกสิบวัน ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ดําเนินการให้มีการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) ใหม่ โดยต้องแล้วเสร็จก่อนที่กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิมจะพ้นจากตําแหน่งตามวาระ (๒) แจ้งต่อประธานวุฒิสภาหรือนายกรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี เพื่อทราบ ในกรณีที่เป็นการพ้นจากตําแหน่งตามวาระของกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓)” มาตรา ๙ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๙/๑ ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) ว่างลงก่อนครบวาระ ให้ดําเนินการเพื่อให้มีการเลือกซ่อม เว้นแต่วาระการอยู่ในตําแหน่งของกรรมการผู้นั้นจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่ดําเนินการเลือกซ่อมก็ได้ การดําเนินการเพื่อให้มีการเลือกซ่อมตามวรรคหนึ่ง ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการดังต่อไปนี้ (๑) กรณีตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒)ให้ดําเนินการเลือกซ่อมให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลง (๒) กรณีตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓)ให้แจ้งประธานวุฒิสภาหรือนายกรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลงกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกซ่อมให้อยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทนให้นําความในมาตรา ๓๖ วรรคสี่ มาใช้บังคับกับการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิในวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม” มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๔๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) พ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออกโดยทําเป็นหนังสือยื่นต่อประธานศาลปกครองสูงสุด (๓) พ้นจากตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น ในกรณีที่เป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕/๑ ในกรณีที่เป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓)” มาตรา ๑๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๔๑/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๔๑/๑ กรณีที่ไม่มีกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) หรือมีแต่ไม่ครบสามคน ถ้ากรรมการตุลาการศาลปกครองจํานวนไม่น้อยกว่าหกคน เห็นว่าเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องให้ความเห็นชอบ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองจํานวนดังกล่าวเป็นองค์ประกอบและองค์ประชุมพิจารณาเรื่องเร่งด่วนนั้นได้” มาตรา ๑๒ ให้กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง ยังคงอยู่ในตําแหน่งต่อไปจนกว่าจะครบวาระในวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการตุลาการ ศาลปกครองดังกล่าวเป็นคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่มีกรรมการตุลาการศาลปกครองตามวรรคหนึ่งพ้นจากตําแหน่งก่อนครบวาระ ในระหว่างวันที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง จนถึงวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกซ่อมกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นตุลาการศาลปกครองแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ และเมื่อได้มีการเลือกซ่อมแล้ว ให้คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบด้วยกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการเลือกซ่อมนี้ด้วย ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกจากวุฒิสภาและคณะรัฐมนตรีใหม่แทนตําแหน่งที่ว่างลงเพราะครบวาระก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ โดยให้ประธานศาลปกครองสูงสุดแจ้งต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งทําหน้าที่ประธานวุฒิสภาและนายกรัฐมนตรีเพื่อทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เพื่อดําเนินการเลือกให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง และเมื่อได้มีการเลือกแล้วให้คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบด้วยกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้เลือกนี้ด้วย ให้นําความในมาตรา ๓๕/๑ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙/๑และมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ โดยอนุโลม มาตรา ๑๓ มติหรือการให้ความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๑๒ ที่ได้มีมติหรือให้ความเห็นชอบในระหว่างวันก่อนวันที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิ้นสุดลง จนถึงวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นมติหรือการให้ความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง มาตรา ๑๔ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่องค์ประกอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองที่ผ่านมาได้บัญญัติไว้เฉพาะในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ โดยมิได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สมควรกําหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองไว้ในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติมคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม วิธีการเลือก และการพ้นจากตําแหน่ง ของกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิให้สอดคล้องกับการกําหนดบทบัญญัติดังกล่าว จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๑/ตอนที่ ๗๙ก/หน้า ๔/๔ ธันวาคม ๒๕๕๗ [↑](#footnote-ref-1)
10,343
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2559
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นปีที่ ๗๑ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๖ ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๖๖ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๕/๑ มาตรา ๗๕/๒ และมาตรา ๗๕/๔ ต้องส่งให้สภาผู้แทนราษฎรในวันที่ออก ระเบียบดังกล่าว เพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบได้ ถ้าต่อมามีการเสนอญัตติและสภาผู้แทนราษฎร มีมติภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ส่งระเบียบดังกล่าวให้สภาผู้แทนราษฎรด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ให้ยกเลิกระเบียบใดไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ให้ที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้เป็นไปตามนั้น” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๗๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่เป็นคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น ให้รอการปฏิบัติตามคําบังคับไว้จนกว่าจะพ้น ระยะเวลาการอุทธรณ์ หรือในกรณีที่มีการอุทธรณ์ ให้รอการบังคับคดีไว้จนกว่าคดีจะถึงที่สุด แต่ถ้าเป็น กรณีที่มีการอุทธรณ์และเป็นคดีที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด คู่กรณีฝ่ายชนะคดีอาจยื่นคําขอต่อศาลปกครองชั้นต้น หรือศาลปกครองสูงสุด แล้วแต่กรณี โดยชี้แจง เหตุผลอันสมควรที่ขอให้มีการปฏิบัติตามคําบังคับ และให้ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาคําขอและมีคําสั่ง ตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกวรรคสี่ วรรคห้า และวรรคหกของมาตรา ๗๒ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗๒/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๗๒/๑ ในการพิพากษาคดี ให้ศาลปกครองมีคําสั่งคืนค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมด หรือแต่บางส่วนตามส่วนของการชนะคดี” มาตรา ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗๕/๑ มาตรา ๗๕/๒ มาตรา ๗๕/๓ และมาตรา ๗๕/๔ ของส่วนที่ ๓ คําพิพากษาหรือคําสั่งคดีปกครอง ในหมวด ๔ วิธีพิจารณาคดีปกครอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๗๕/๑ การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครอง ให้นําบทบัญญัติ ว่าด้วยการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง และบทบัญญัติว่าด้วยค่าฤชาธรรมเนียมตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง และค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีท้ายประมวลกฎหมายดังกล่าว มาใช้บังคับ โดยอนุโลมกับการบังคับคดีปกครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้และหลักกฎหมายทั่วไป ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจออกระเบียบกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามวรรคหนึ่ง และเพื่อบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครอง มาตรา ๗๕/๒ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีซึ่งศาลปกครองแต่งตั้งจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ที่มีคุณสมบัติตามที่ ก.ศป. กําหนด มีหน้าที่ปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้และระเบียบของ ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในระหว่างการพิจารณาหรือเพื่อบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง ของศาลปกครอง ในการบังคับคดีปกครองตามวรรคหนึ่ง เจ้าพนักงานบังคับคดีอาจมอบหมายให้เอกชนหรือบุคคลอื่น ปฏิบัติการแทนภายใต้การกํากับดูแลของเจ้าพนักงานบังคับคดีก็ได้ ทั้งนี้ ตามระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๗๕/๓ เมื่อความปรากฏแก่ศาลปกครอง หรือคู่กรณียื่นคําขอ หรือเจ้าพนักงานบังคับคดี รายงานต่อศาลปกครองว่า คู่กรณียังไม่ปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครองหรือมีข้อขัดข้องในการปฏิบัติ ตามคําบังคับของศาลปกครอง ให้ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาหรือไต่สวนและมีคําสั่งกําหนดวิธีการ ดําเนินการให้เป็นไปตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง หรือมีคําสั่งใด ๆ เพื่อให้การบังคับคดีเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว มาตรา ๗๕/๔ เมื่อปรากฏว่าหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมิได้ปฏิบัติตามคําบังคับ ของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วน หรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร ให้ศาลปกครองไต่สวนหรือแสวงหาข้อเท็จจริง ถ้าศาลปกครองได้ไต่สวนแล้วเห็นว่าข้อเท็จจริงเพียงพอที่จะรับฟังได้ว่าการที่มิได้ปฏิบัติตามคําบังคับของ ศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนหรือปฏิบัติล่าช้าเป็นไปโดยไม่มีเหตุอันสมควร ศาลปกครองอาจมีคําสั่ง ให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ไม่ปฏิบัติตามคําบังคับ ชําระค่าปรับต่อศาลปกครอง ตามจํานวนที่สมควร ครั้งละไม่เกินห้าหมื่นบาท ทั้งนี้ ศาลปกครองอาจแจ้งผู้บังคับบัญชา ผู้กํากับดูแล ผู้ควบคุม หรือนายกรัฐมนตรี เพื่อดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ หรือสั่งการ หรือลงโทษทางวินัยต่อไปก็ได้ และแจ้งผลให้ศาลปกครองทราบ คําสั่งปรับตามวรรคหนึ่งให้จัดทําโดยองค์คณะ และให้นําเงินค่าปรับดังกล่าวส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ปฏิบัติตามคําสั่งที่ให้ชําระค่าปรับตามวรรคหนึ่ง ศาลปกครองอาจมีคําสั่ง ให้มีการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของบุคคลนั้นได้ ให้นําความในมาตรานี้ไปใช้บังคับกับกรณีที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐมิได้ปฏิบัติ ตามคําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการใด ๆ เพื่อบรรเทาทุกข์ให้แก่คู่กรณีที่เกี่ยวข้องเป็นการชั่วคราวก่อน การพิพากษาคดีตามมาตรา ๖๖ หรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร ด้วยโดยอนุโลม ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจออกระเบียบกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการปฏิบัติตามมาตรานี้ได้” มาตรา ๘ บรรดาคดีที่อยู่ในระหว่างการบังคับให้เป็นไปตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของ ศาลปกครองอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ดําเนินการบังคับให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๙ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ปัจจุบันการดําเนินการบังคับคดีปกครอง ยังมีข้อขัดข้อง เนื่องจากกฎหมายไม่ได้กําหนดรายละเอียดในการดําเนินการบังคับคดีปกครองให้ครอบคลุม คดีปกครองทุกประเภท ซึ่งคดีปกครองมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถนําหลักการของการบังคับคดีแพ่งมาใช้ ในการดําเนินการบังคับคดีให้มีประสิทธิภาพในทุกกรณีได้ อีกทั้งไม่มีบทบัญญัติกําหนดอํานาจและหน้าที่ของ เจ้าพนักงานบังคับคดี ตลอดจนมาตรการที่จะบังคับให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติตาม คําบังคับของศาลปกครองให้ถูกต้องครบถ้วนภายในเวลาอันสมควร อีกทั้งสมควรกําหนดให้ในกรณีที่มีการอุทธรณ์ คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น คู่กรณีฝ่ายชนะคดีในคดีที่กําหนดอาจยื่นคําขอต่อศาลปกครองชั้นต้น หรือศาลปกครองสูงสุด แล้วแต่กรณี เพื่อให้มีการปฏิบัติตามคําบังคับได้ ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้ประชาชนต้องรอการปฏิบัติ ตามคําพิพากษาในระหว่างการพิจารณาคดีชั้นอุทธรณ์ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๓/ตอนที่ ๓๖ ก/หน้า ๑/๒๖ เมษายน ๒๕๕๙ [↑](#footnote-ref-1)
10,344
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า “ก.บ.ศป.” และคําว่า “ก.ขป.” ระหว่างบทนิยามคําว่า “ก.ศป.” และคําว่า “คู่กรณี” ของมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ““ก.บ.ศป.” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารศาลปกครอง “ก.ขป.” หมายความว่า คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๕ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศที่ออกโดยที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด หรือโดย ก.ศป. หรือโดย ก.ศป. โดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด หรือโดย ก.บ.ศป. หรือโดย ก.ขป. เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้นอาจแบ่งเป็นแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น และจะให้มีอํานาจในคดีประเภทใดหรือคดีในท้องที่ใดซึ่งอยู่ในเขตอํานาจของแต่ละศาลนั้น แยกต่างหาก โดยเฉพาะก็ได้ ทั้งนี้ ให้ออกเป็นประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.บ.ศป.” มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๗/๑ ในกรณีที่มีการจัดตั้งแผนกหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นขึ้นในศาลปกครองสูงสุด หรือศาลปกครองชั้นต้นใด ให้มีตุลาการหัวหน้าแผนกหรือตุลาการหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นนั้น แผนกหรือหน่วยงานละหนึ่งคนเพื่อรับผิดชอบงานของแผนกหรือหน่วยงานดังกล่าว ทั้งนี้ เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่ ก.บ.ศป. กําหนด” มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในวรรคหกของมาตรา ๘ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ศาลปกครองสูงสุด ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองในภูมิภาคจะเปิดทําการเมื่อใด ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.บ.ศป. ประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนด วันเปิดทําการของศาลปกครอง” มาตรา ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๘/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๘/๑ การเปลี่ยนแปลงเขตท้องที่ที่ศาลปกครองชั้นต้นมีเขตอํานาจ ในกรณีที่มีความจําเป็น เพื่อประโยชน์ในการอํานวยความยุติธรรมแก่ประชาชน โดยคํานึงถึงสิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การบริหารจัดการคดี และระยะเวลาพิจารณาพิพากษาคดี ให้กระทําโดยข้อเสนอของ ก.บ.ศป. และตราเป็น พระราชกฤษฎีกา” มาตรา ๙ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๑/๑ ของหมวด ๒ ตุลาการศาลปกครอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๑๑/๑ ข้าราชการศาลปกครอง มีดังนี้ ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง คือ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๒ ตุลาการ ในศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๑๗ และตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นซึ่งได้รับการแต่งตั้ง ตามมาตรา ๑๙ (๒) ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง คือ ข้าราชการในสํานักงานศาลปกครองซึ่งได้รับการแต่งตั้ง ตามมาตรา ๗๘ หรือมาตรา ๗๘/๑ หรือได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตามมาตรา ๘๗” มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๕ การแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุด ก.ศป. อาจดําเนินการได้โดยวิธีการดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณาเลื่อนตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นซึ่งดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าตุลาการ หัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น โดยคํานึงถึงหลักอาวุโส ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ ความเหมาะสม ประวัติและผลงานการปฏิบัติราชการ (๒) พิจารณาคัดเลือกบุคคลซึ่งมิได้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองในขณะนั้น โดยมีคุณสมบัติ ตามมาตรา ๑๓ และมีความเหมาะสมที่จะแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุด การแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองสูงสุดตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงสัดส่วนของผู้ที่ได้รับการคัดเลือก ตามวรรคหนึ่ง (๒) โดยให้มีจํานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทั้งหมด ให้ ก.ศป. เสนอรายชื่อผู้ได้รับการเลื่อนตามวรรคหนึ่ง (๑) หรือได้รับการคัดเลือกตามวรรคหนึ่ง (๒) ต่อนายกรัฐมนตรี และให้นายกรัฐมนตรีนํารายชื่อดังกล่าวเสนอขอความเห็นชอบต่อวุฒิสภาภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้รับรายชื่อ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูล เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบ ของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด” มาตรา ๑๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๕/๑ และมาตรา ๑๕/๒ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๑๕/๑ ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคนหนึ่ง เป็นประธานศาลปกครองสูงสุด แล้วเสนอชื่อต่อนายกรัฐมนตรี และให้นายกรัฐมนตรีนําเสนอขอความเห็นชอบ ต่อวุฒิสภาภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอชื่อ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้วให้นายกรัฐมนตรี นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง การแต่งตั้งและการเลื่อนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดให้ดํารงตําแหน่งรองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด และตุลาการศาลปกครองสูงสุด หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้ ก.ศป.พิจารณาคัดเลือกแล้วเสนอรายชื่อต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง วิธีการคัดเลือกประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้า คณะศาลปกครองสูงสุด และตุลาการศาลปกครองสูงสุด หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้เป็นไปตามระเบียบ ที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๑๕/๒ ประธานศาลปกครองสูงสุดมีวาระการดํารงตําแหน่งสี่ปี นับแต่วันที่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง และให้ดํารงตําแหน่งได้เพียงวาระเดียว ในกรณีที่ประธานศาลปกครองสูงสุดดํารงตําแหน่งครบวาระ และยังไม่พ้นจากตําแหน่งตุลาการ ศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ (๓) ให้แต่งตั้งผู้นั้นดํารงตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในตําแหน่งอื่น ตามที่ ก.ศป. กําหนด โดยให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งในอัตราที่ไม่ต่ํากว่าเดิม ในกรณีที่ประธานศาลปกครองสูงสุดลาออกจากตําแหน่งก่อนครบวาระตามวรรคหนึ่ง และยังไม่พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ (๓) ก.ศป. อาจแต่งตั้งผู้นั้น ให้ดํารงตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดในตําแหน่งอื่น โดยให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่ง ในอัตราที่ ก.ศป. กําหนดก็ได้” มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิก (ก) ของ (๔) ในวรรคหนึ่งของมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความใน (ค) ของ (๔) ในวรรคหนึ่งของมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ค) รับราชการหรือเคยรับราชการไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้พิพากษาศาลชั้นต้น หรือเทียบเท่า ซึ่งได้รับเงินเดือนในชั้น ๓ หรือตุลาการพระธรรมนูญศาลทหารกลาง” มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความใน (จ) ของ (๔) ในวรรคหนึ่งของมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(จ) รับราชการหรือเคยรับราชการไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งไม่ต่ํากว่าข้าราชการพลเรือน ระดับ ๘ หรือข้าราชการพลเรือนประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ประเภทอํานวยการ หรือประเภทบริหาร หรือปฏิบัติงานหรือเคยปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าสามปีในตําแหน่งที่เทียบเท่าตามที่ ก.ศป.ประกาศกําหนด ในหน่วยงานของรัฐ องค์การมหาชน หรือรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกา” มาตรา ๑๕ ให้ยกเลิกความใน (ช) ของ (๔) ในวรรคหนึ่งของมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ช) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกด้านนิติศาสตร์สาขากฎหมายมหาชน และรับราชการในหน่วยงานของรัฐหรือปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ องค์การมหาชน หรือรัฐวิสาหกิจ ที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบปีนับแต่สําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท หรือไม่น้อยกว่าหกปีนับแต่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก” มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๙ ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ และมี ความเหมาะสมที่จะแต่งตั้งเป็นตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้น โดยวิธีการสอบคัดเลือก การทดสอบ ความรู้ หรือการคัดเลือก ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด การฝึกอบรมและการปฏิบัติหน้าที่ของตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นให้เป็นไปตามระเบียบ ที่ ก.ศป. กําหนด ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกตุลาการประจํา ศาลปกครองชั้นต้นซึ่งผ่านการฝึกอบรม ตามหลักสูตรที่ ก.ศป. กําหนด และผลการฝึกอบรมเป็นไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. ว่าเป็นผู้มี ความซื่อสัตย์สุจริต ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ และความประพฤติเหมาะสมที่จะเป็นตุลาการ ศาลปกครอง เพื่อแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น แล้วเสนอรายชื่อต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อนําความ กราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นผู้ใดไม่เหมาะสมที่จะเป็นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น หรือผลการฝึกอบรมไม่เป็นไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบ ของ ก.ศป. มีอํานาจสั่งให้ออกจากราชการ หรือดําเนินการเพื่อให้มีการโอนไปเป็นข้าราชการ ฝ่ายศาลปกครองได้ ให้นําความในมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๒๖ มาใช้บังคับกับตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้นโดยอนุโลม” มาตรา ๑๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๑๙/๑ การย้ายและการเลื่อนตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นให้ดํารงตําแหน่งอธิบดี ศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น และตุลาการ ศาลปกครองชั้นต้น หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้ ก.ศป. พิจารณาคัดเลือก แล้วเสนอรายชื่อ ต่อนายกรัฐมนตรีเพื่อนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง วิธีการคัดเลือกอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการหัวหน้า คณะศาลปกครองชั้นต้น และตุลาการศาลปกครองชั้นต้น หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ให้เป็นไปตามระเบียบ ที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด” มาตรา ๑๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๑๐) ในวรรคหนึ่งของมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “(๑๐) โอนไปรับราชการเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองหรือข้าราชการฝ่ายอื่น” มาตรา ๑๙ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๒๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๒๓/๑ ในกรณีที่ข้าราชการตุลาการศาลปกครองกระทําผิดวินัยไม่ถึงขั้นที่จะต้อง ให้ออกหรือไล่ออก ก.ศป. อาจมีมติให้ลงโทษงดเลื่อนตําแหน่ง หรืองดเลื่อนเงินเดือนเป็นเวลาไม่เกินสามปี หรือถ้ามีเหตุสมควรปรานีจะสั่งลงโทษเพียงภาคทัณฑ์และจะให้ทําทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าว ตักเตือนด้วยก็ได้ การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน วิธีการสอบสวน และสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาและบุคคล ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด” มาตรา ๒๐ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๔ ในการพิจารณาให้ข้าราชการตุลาการศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งโดยถูกสั่ง ให้ออกจากราชการตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๑) หรือ (๒) หรือตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๔) ประกอบกับมาตรา ๒๑ (๔) หรือ (๗) หรือโดยถูกไล่ออกตามมาตรา ๒๓ (๑) หรือ (๒) ให้ ก.ศป. แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ประกอบด้วย ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการในศาลปกครอง ชั้นต้นจํานวนสี่คน และเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน หรือรองเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ที่เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมอบหมายจํานวนหนึ่งคนเป็นกรรมการ เพื่อทําการสอบสวน” มาตรา ๒๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๒๔/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๒๔/๑ ข้าราชการตุลาการศาลปกครองซึ่งมาจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการฝ่ายอื่น หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นของรัฐผู้ใดมีกรณีกระทําผิดวินัย อยู่ก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ให้ ก.ศป. เป็นผู้พิจารณาดําเนินการทางวินัย แก่ผู้นั้นตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครองโดยอนุโลม แต่ถ้าเรื่องอยู่ระหว่าง การสืบสวนหรือสอบสวนทางวินัยก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งก็ให้สืบสวนหรือสอบสวนต่อไปตามกฎหมาย ที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดจนแล้วเสร็จ แล้วส่งเรื่องให้ ก.ศป. พิจารณาดําเนินการทางวินัยต่อไป ตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครองโดยอนุโลม และในกรณีที่จะต้องสั่งลงโทษ ทางวินัยให้พิจารณาตามความผิดและลงโทษตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอื่น หรือกฎหมาย เกี่ยวกับวินัยของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นของรัฐที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดนั้น แล้วแต่กรณี โดยอนุโลม” มาตรา ๒๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “ตุลาการศาลปกครองซึ่งโอนไปดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ถ้าต้องโอนกลับ เข้าดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองเพราะเหตุที่ครบวาระการดํารงตําแหน่งตามมาตรา ๗๘/๑ วรรคสอง หรือยื่นความประสงค์ขอโอนกลับก่อนครบวาระ และผู้นั้นมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๘ แล้วแต่กรณี ให้ ก.ศป. พิจารณาให้ความเห็นชอบ ให้ดํารงตําแหน่งในลําดับอาวุโสที่เคยครอง โดยให้ได้รับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง และประโยชน์ ตอบแทนอื่น ในชั้นเดียวกับตุลาการศาลปกครองที่อยู่ในลําดับอาวุโสเท่ากันในขณะที่ผู้นั้นดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครอง และให้นายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง” มาตรา ๒๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๒๖/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๒๖/๑ การโอนข้าราชการตุลาการศาลปกครองผู้ใดไปเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง หรือข้าราชการฝ่ายอื่น ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดสั่งได้เมื่อข้าราชการตุลาการศาลปกครองผู้นั้น ยินยอมและได้รับความเห็นชอบจาก ก.ศป.” มาตรา ๒๔ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งและวรรคสองของมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๘ ประธานศาลปกครองสูงสุดต้องรับผิดชอบให้งานของศาลปกครองเป็นไปโดยเรียบร้อย ตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือระเบียบที่ ก.บ.ศป. กําหนด แล้วแต่กรณี โดยมีรองประธานศาลปกครองสูงสุดช่วยปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ประธานศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย อธิบดีศาลปกครองชั้นต้นต้องรับผิดชอบให้งานของศาลนั้นเป็นไปโดยเรียบร้อยตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือระเบียบที่ ก.บ.ศป. กําหนด แล้วแต่กรณี โดยมีรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นช่วยปฏิบัติหน้าที่ตามที่อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น มอบหมาย” มาตรา ๒๕ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๓๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๐/๑ ตุลาการศาลปกครองอาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.บ.ศป. กําหนด” มาตรา ๒๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๐/๒ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๐/๒ ตุลาการประจําศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๑ และให้ได้รับ ประโยชน์ตอบแทนอื่นเช่นเดียวกับตุลาการศาลปกครองชั้นต้น แต่ไม่มีสิทธิได้รับเงินประจําตําแหน่ง ให้นําความในมาตรา ๓๐ วรรคสี่และวรรคห้า มาใช้บังคับกับตุลาการประจําศาลปกครอง ชั้นต้นโดยอนุโลม” มาตรา ๒๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๓ เครื่องแบบข้าราชการตุลาการศาลปกครองและระเบียบการแต่งกายให้เป็นไป ตามที่ ก.บ.ศป. ประกาศกําหนด” มาตรา ๒๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๓/๑ คณะกรรมการบริหารศาลปกครอง มาตรา ๔๑/๒ มาตรา ๔๑/๓ มาตรา ๔๑/๔ มาตรา ๔๑/๕ มาตรา ๔๑/๖ มาตรา ๔๑/๗ มาตรา ๔๑/๘ และมาตรา ๔๑/๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “หมวด ๓/๑ คณะกรรมการบริหารศาลปกครอง มาตรา ๔๑/๒ ให้มีคณะกรรมการบริหารศาลปกครองคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “ก.บ.ศป.” ประกอบด้วย (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธานกรรมการ (๒) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา และเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เป็นกรรมการ (๓) กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนแปดคน ดังนี้ (ก) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนสี่คน ซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (ข) ตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสี่คน ซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น (๔) กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครองในระดับไม่ต่ํากว่าตําแหน่งที่ ก.ศป. กําหนดจํานวนสองคน ซึ่งได้รับเลือกจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ตามวิธีการ ที่ ก.ศป. ประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (๕) กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิด้านการงบประมาณ ด้านการพัฒนาองค์กร และด้านการบริหารจัดการ ที่ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นข้าราชการศาลปกครองด้านละหนึ่งคน ซึ่งได้รับเลือก จากประธานกรรมการและกรรมการตาม (๒) (๓) และ (๔) ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้รองเลขาธิการ สํานักงานศาลปกครองที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมายเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๔๑/๓ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) จะดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) หรือกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) ในเวลาเดียวกันมิได้ มาตรา ๔๑/๔ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๕) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสี่สิบปี (๓) ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกคําสั่งให้พักราชการหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (๔) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย หรือไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๕) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ (๖) ไม่เคยต้องรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิด ที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๗) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ หรือคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ (๘) ไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง มาตรา ๔๑/๕ ให้มีคณะกรรมการดําเนินการเลือกกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) ประกอบด้วยตุลาการศาลปกครองซึ่งประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นผู้คัดเลือกจํานวนสี่คน และเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง เป็นกรรมการ มีหน้าที่ดําเนินการ เกี่ยวกับการเลือก การตรวจนับคะแนน และการประกาศผลการเลือกดังกล่าว ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเป็นเลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ ให้นําความในมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใช้บังคับกับกรรมการบริหาร ศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่งโดยอนุโลม มาตรา ๔๑/๖ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) ให้มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับเลือกใหม่ได้ แต่จะดํารงตําแหน่ง เกินสองวาระติดต่อกันมิได้ ก่อนกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิจะครบวาระเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกสิบวัน ให้ดําเนินการเลือกกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ โดยต้องแล้วเสร็จก่อนที่ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิมจะพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ในกรณีจําเป็นที่ไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาดังกล่าวได้ ให้กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ต่อไป แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินสามสิบวัน ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิว่างลงก่อนครบวาระ ให้ดําเนินการเพื่อให้มีการเลือกแทนตําแหน่งที่ว่างให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่าง เว้นแต่วาระ การดํารงตําแหน่งของกรรมการผู้นั้นจะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่ดําเนินการเลือกแทนตําแหน่งที่ว่างก็ได้ กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกแทนตําแหน่งที่ว่าง ให้อยู่ในตําแหน่ง เท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน มาตรา ๔๑/๗ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการบริหารศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) พ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออกโดยทําเป็นหนังสือยื่นต่อประธานศาลปกครองสูงสุด (๓) พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหาร ศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหาร ศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (ข) (๕) ได้รับเลือกให้ดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) (๖) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๑/๔ ในกรณีที่เป็นกรรมการบริหาร ศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๕) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ตามวรรคหนึ่ง ให้ ก.บ.ศป. เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด มาตรา ๔๑/๘ ก.บ.ศป. มีอํานาจหน้าที่กํากับดูแลการบริหารราชการศาลปกครอง และสํานักงานศาลปกครอง ในส่วนที่ไม่อยู่ในอํานาจของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ก.ศป. หรือ ก.ขป. ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ประเพณีปฏิบัติของทางราชการ และนโยบายของประธานศาลปกครองสูงสุด โดยให้มีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ออกระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารราชการศาลปกครอง และสํานักงานศาลปกครอง (๒) ออกประกาศแบ่งส่วนราชการภายในของสํานักงานศาลปกครองและกําหนดอํานาจหน้าที่ ของส่วนราชการดังกล่าว (๓) ให้ความเห็นในการเสนอร่างกฎหมายเกี่ยวกับศาลปกครอง (๔) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปีเพื่อดําเนินการ ตามมาตรา ๙๑ (๕) พิจารณาให้ความเห็นชอบในการบริหารจัดการงบประมาณของศาลปกครอง (๖) ออกระเบียบเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงินและทรัพย์สิน รวมทั้งการพัสดุ ของสํานักงานศาลปกครอง (๗) ออกระเบียบเกี่ยวกับการจ้างและการแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความรู้ความสามารถอันจะเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของศาลปกครอง รวมทั้งอัตราค่าตอบแทนการจ้างด้วย (๘) ออกระเบียบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์อื่นแก่ข้าราชการศาลปกครอง พนักงานราชการ และลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๙) กําหนดวันและเวลาทํางาน วันหยุดราชการและการลาของข้าราชการศาลปกครอง รวมทั้งพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๑๐) กําหนดให้มีตรา สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายใดเพื่อใช้ในการบริหารราชการศาลปกครองรวมทั้งกําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการทําและใช้ตรา สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายนั้นไว้ด้วย (๑๑) ออกระเบียบเกี่ยวกับการแต่งตั้งกรรมการหรืออนุกรรมการของศาลปกครองหรือสํานักงาน ศาลปกครอง การกําหนดข้อห้ามบุคคลเป็นกรรมการหรืออนุกรรมการในเวลาเดียวกันเกินจํานวน ที่กําหนด และการกําหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือค่าตอบแทนให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการ หรือผู้ช่วยเลขานุการ (๑๒) กํากับดูแลการบริหารราชการศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครองให้เป็นไป ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น (๑๓) ยับยั้งการดําเนินการที่ไม่เป็นไปตามระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑ์ที่ออกตามมาตรานี้ (๑๔) พิจารณาเรื่องอื่นใดตามที่ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ก.ศป. หรือ ก.ขป. ร้องขอ มาตรา ๔๑/๙ การประชุมของ ก.บ.ศป. ให้นําความในมาตรา ๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม” มาตรา ๒๙ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสี่และวรรคห้าของมาตรา ๗๘ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมีวาระการดํารงตําแหน่งสี่ปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง แต่ประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. อาจขยายเวลาการดํารงตําแหน่งได้อีก ไม่เกินสองครั้ง ครั้งละหนึ่งปี ในกรณีที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งโดยมิได้พ้นจากราชการและมิได้มี ความผิดวินัยอย่างร้ายแรงหรือมีมลทินหรือมัวหมอง ถ้าผู้นั้นมีอายุยังไม่ครบหกสิบปี ให้ประธาน ศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ขป. มีคําสั่งแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ในระดับที่เทียบเท่าตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง” มาตรา ๓๐ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๗๘/๑ และมาตรา ๗๘/๒ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๗๘/๑ เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองอาจแต่งตั้งจากตุลาการศาลปกครอง โดยความเห็นชอบของ ก.ศป. และเมื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งแล้ว ให้พ้นจากตําแหน่งตุลาการ ศาลปกครอง เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ได้รับการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่ง ให้มีวาระการดํารงตําแหน่ง สองปีนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง โดยอาจได้รับแต่งตั้งใหม่ได้ แต่ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน เว้นแต่ประธาน ศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. มีคําสั่งให้พ้นจากตําแหน่งก่อนครบกําหนดเวลาดังกล่าว ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ได้รับการแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งได้รับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นตามอัตราของตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง และหากเงินเดือน หรือเงินประจําตําแหน่งที่ได้รับอยู่ก่อนแต่งตั้ง สูงกว่าอัตราเงินเดือนหรืออัตราเงินประจําตําแหน่งสูงสุด ของตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ให้ปรับเข้ากับอัตราเงินเดือนหรืออัตราเงินประจําตําแหน่งสูงสุดของตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง มาตรา ๗๘/๒ ในกรณีที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๗๘/๑ กระทําผิดวินัยอยู่ก่อนวันโอนมาดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ให้ ก.ขป. เป็นผู้พิจารณาดําเนินการทางวินัยแก่ผู้นั้นตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครอง แต่ถ้าได้กระทํา ผิดวินัยในระหว่างการดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง และได้โอนกลับไปเป็นตุลาการ ศาลปกครองแล้ว ให้ ก.ศป. เป็นผู้พิจารณาดําเนินการทางวินัยแก่ผู้นั้นตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัย ของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับโทษที่จะลง ให้ ก.ศป. เป็นผู้วินิจฉัย การพิจารณาดําเนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่ง ถ้าเรื่องอยู่ในระหว่างการสืบสวนหรือสอบสวน ของผู้บังคับบัญชาก่อนโอนมาดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองหรือก่อนโอนกลับไป เป็นตุลาการศาลปกครอง ให้ดําเนินการต่อไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดนั้น จนแล้วเสร็จ แล้วส่งเรื่องให้ ก.ขป. หรือ ก.ศป. แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาดําเนินการต่อไป” มาตรา ๓๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๘๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๘๑ ให้มีคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “ก.ขป.” ประกอบด้วย (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุด หรือรองประธานศาลปกครองสูงสุดที่ประธานศาลปกครองสูงสุดมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ (๒) เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง และเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เป็นกรรมการ (๓) กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนสี่คน ซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนสองคน และได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสองคน (๔) กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ในระดับไม่ต่ํากว่าตําแหน่งที่ ก.ศป. กําหนดจํานวนสี่คน ซึ่งได้รับเลือกจากข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๕) กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพัฒนาองค์กร และด้านการบริหารจัดการ ที่ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็นข้าราชการศาลปกครองด้านละหนึ่งคน ซึ่งได้รับเลือกจากประธานกรรมการและกรรมการตาม (๒) (๓) และ (๔) ให้ ก.ขป. แต่งตั้งข้าราชการฝ่ายศาลปกครองเป็นเลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ” มาตรา ๓๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๘๑/๑ มาตรา ๘๑/๒ และมาตรา ๘๑/๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๘๑/๑ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) จะดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) ในเวลาเดียวกันมิได้ มาตรา ๘๑/๒ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๔๑/๔ มาตรา ๘๑/๓ การเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง ให้ดําเนินการดังต่อไปนี้ (๑) การเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) ให้นําความในมาตรา ๔๑/๕ มาใช้บังคับโดยอนุโลม (๒) การเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๔) ให้เป็นไปตามวิธีการที่ ก.ศป. ประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด” มาตรา ๓๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๘๒ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๘๒ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) ให้มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รับเลือกใหม่ได้ แต่จะดํารงตําแหน่ง เกินสองวาระติดต่อกันมิได้” มาตรา ๓๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๘๓ และมาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๘๓ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) พ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ก.ขป. มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนกรรมการทั้งหมดให้พ้นจาก ตําแหน่ง เนื่องจากกระทําการหรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการข้าราชการ ฝ่ายศาลปกครอง (๔) พ้นจากตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการ ฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๕) ได้รับการแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่เป็นกรรมการ ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๖) ได้รับเลือกให้ดํารงตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง หรือกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) (๗) พ้นจากการเป็นข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ในกรณีที่เป็นกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๔) (๘) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘๑/๒ ในกรณีที่เป็นกรรมการ ข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๕) ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ให้ ก.ขป. เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด มาตรา ๘๔ ให้ ก.ขป. มีอํานาจออกระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล และการดําเนินการอื่นของสํานักงานศาลปกครองในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (๑) การกําหนดคุณสมบัติ การคัดเลือก การบรรจุ การแต่งตั้ง การทดลองปฏิบัติหน้าที่ ราชการ การย้าย การเลื่อนตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง การเลื่อนเงินเดือน การออกจากราชการ วินัย การสอบสวน การสั่งพักราชการ การสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน และการลงโทษทางวินัย การร้องทุกข์ และการอุทธรณ์การลงโทษสําหรับข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๒) การรักษาราชการแทนและการปฏิบัติราชการแทนในตําแหน่งของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๓) การกําหนดเครื่องแบบและการแต่งกายของข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง (๔) การแต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อดําเนินกิจการใด ๆ ตามแต่จะมอบหมาย (๕) การรักษาทะเบียนประวัติและควบคุมการเกษียณอายุของข้าราชการศาลปกครอง (๖) การกําหนดวิธีการและเงื่อนไขในการจ้างพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงาน ศาลปกครอง การกําหนดเครื่องแบบและการแต่งกาย วินัย การสอบสวนและการลงโทษทางวินัย การร้องทุกข์ การอุทธรณ์ การรักษาทะเบียนประวัติ รวมทั้งการอื่นที่จําเป็นของพนักงานราชการ และลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๗) พิจารณาเสนอแนะต่อ ก.บ.ศป. ในการออกประกาศแบ่งส่วนราชการภายในของ สํานักงานศาลปกครองและกําหนดอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการดังกล่าว (๘) พิจารณาเสนอแนะต่อ ก.บ.ศป. ในการออกระเบียบการจัดสวัสดิการและการสงเคราะห์อื่น แก่ข้าราชการศาลปกครอง และพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง (๙) การกําหนดกิจการอื่นที่อยู่ในอํานาจและหน้าที่ของ ก.ขป.” มาตรา ๓๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๘๔/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๘๔/๑ การประชุมของ ก.ขป. ให้นําความในมาตรา ๔๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม” มาตรา ๓๖ เพื่อประโยชน์ในการนับจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่า (๑) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่ดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและ เคยดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองชั้นต้นมาก่อน เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง (๑) (๒) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่ดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและ ไม่เคยดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองชั้นต้นมาก่อน เป็นตุลาการศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง (๒) มาตรา ๓๗ บทบัญญัติมาตรา ๑๕/๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มิให้ใช้บังคับกับตุลาการ ศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และให้ตุลาการศาลปกครองผู้นั้นพ้นจากตําแหน่งดังกล่าวเมื่อดํารงตําแหน่งครบสี่ปีนับแต่วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและให้ดํารงตําแหน่งได้เพียงวาระเดียว มาตรา ๓๘ ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นตุลาการศาลปกครองเพราะมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ก) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และยังคงดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้นั้นอยู่ในตําแหน่งต่อไปโดยไม่ถือว่า เป็นผู้ที่ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ บทบัญญัติในมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ค) (จ) และ (ช) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ มิให้นํามาใช้บังคับกับตุลาการศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๓๙ การพิจารณาคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น ที่ได้ดําเนินการตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ใช้บังคับอยู่ ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ดําเนินการตามพระราชบัญญัติดังกล่าวต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ และมิให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับ มาตรา ๔๐ ในวาระเริ่มแรก ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือก กรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ และกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ ให้คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ คงอยู่ในตําแหน่งต่อไปจนกว่าจะมีการประกาศผลการเลือกกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ กรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวรรคสอง ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ มาตรา ๔๑ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือคําสั่งที่ออกตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ จนกว่า จะมีระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หลักเกณฑ์ หรือคําสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๔๒ การสอบสวนตุลาการศาลปกครองผู้กระทําผิดวินัยอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ ให้ดําเนินการต่อไปตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะที่กระทําความผิดนั้นจนแล้วเสร็จ มาตรา ๔๓ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่สมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติ บางประการในพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้เหมาะสมยิ่งขึ้นโดยปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับการแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองชั้นต้น การเลื่อนตุลาการศาลปกครองชั้นต้น ซึ่งดํารงตําแหน่งไม่ต่ํากว่าตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นไปดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองสูงสุดได้ เพื่อคงความต่อเนื่องในการปฏิบัติหน้าที่ที่จําเป็นต้องอาศัยความเชี่ยวชาญและความชํานาญในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีปกครอง วาระการดํารงตําแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดโดยให้มีวาระสี่ปี การดําเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง กําหนดให้มีคณะกรรมการบริหารศาลปกครอง มีอํานาจหน้าที่กํากับดูแลการบริหารราชการของศาลปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการบริหารงานทั่วไป งบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน และการดําเนินการอื่นของศาลปกครอง รวมทั้งงานธุรการ ของสํานักงานศาลปกครองให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน และประเพณีปฏิบัติ ของทางราชการศาลปกครอง เพื่อให้การบริหารราชการศาลปกครองเป็นไปด้วยความเรียบร้อยยิ่งขึ้น และปรับปรุงองค์ประกอบและอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองให้เหมาะสม ยิ่งขึ้น ตลอดจนกําหนดเรื่องการดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองและการดําเนินการ ทางวินัยแก่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๔/ตอนที่ ๙๘ ก/หน้า ๕/๒๖ กันยายน ๒๕๖๐ [↑](#footnote-ref-1)
10,345
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2561
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๖ ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๔๔ มาตรา ๔๖ มาตรา ๖๐/๑ มาตรา ๖๖ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๕/๑ มาตรา ๗๕/๒ และมาตรา ๗๕/๔ ต้องส่งให้สภาผู้แทนราษฎรในวันที่ออกระเบียบดังกล่าว เพื่อให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบได้ ถ้าต่อมามีการเสนอญัตติและสภาผู้แทนราษฎรมีมติภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ส่งระเบียบดังกล่าว ให้สภาผู้แทนราษฎรด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ให้ยกเลิก ระเบียบใดไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ให้ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้เป็นไป ตามนั้น กําหนดวันตามวรรคหนึ่งให้หมายถึงวันในสมัยประชุม” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การพ้นจากตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง ให้นําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พ้นจากตําแหน่ง เว้นแต่การพ้นจากตําแหน่งตามวรรคหนึ่ง (๑) (๓) (๘) และ (๙) ให้นําความ กราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๒ ตุลาการศาลปกครองต้องประพฤติตนตามวินัยแห่งการเป็นตุลาการศาลปกครอง ตามที่ ก.ศป. กําหนด ก.ศป. อาจมีมติให้ตุลาการศาลปกครองผู้ใดออกจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ ข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ แล้วแต่กรณี ได้ในกรณีที่กฎหมายดังกล่าว บัญญัติให้ผู้ถูกสั่งให้ออกมีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญ แต่การให้ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญ เหตุทดแทนให้ทําได้ในกรณีดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ปฏิบัติหน้าที่บกพร่องอย่างร้ายแรงหรือประพฤติตนไม่สมควรตามที่กําหนดในวินัย แห่งการเป็นตุลาการศาลปกครอง (๒) หย่อนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือเจ็บป่วยไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ราชการได้ โดยสม่ําเสมอแต่ไม่ถึงเหตุทุพพลภาพ (๓) ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดอันได้กระทําโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ ในกรณีที่ ก.ศป. มีมติให้ตุลาการศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งตามมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๔) (๕) (๖) หรือ (๗) ให้มีสิทธิได้รับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ ข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ แล้วแต่กรณี ด้วย” มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๒๔ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๔ ในการพิจารณาให้ข้าราชการตุลาการศาลปกครองพ้นจากตําแหน่งโดยถูกสั่งให้ ออกจากราชการตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๑) หรือ (๒) หรือตามมาตรา ๒๒ วรรคสาม ประกอบ กับมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๔) หรือ (๗) หรือโดยถูกไล่ออกตามมาตรา ๒๓ (๑) หรือ (๒) ให้ ก.ศป. แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ประกอบด้วย ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการใน ศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสี่คน และเลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนหรือรองเลขาธิการ คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนที่เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมอบหมายจํานวนหนึ่งคน เป็นกรรมการเพื่อทําการสอบสวน” มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๕ ตุลาการศาลปกครองผู้ใดพ้นจากตําแหน่งไปโดยมิได้มีความผิดและมิใช่ เป็นการพ้นจากตําแหน่งตามมาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) หรือ (๙) ก.ศป. อาจพิจารณา คัดเลือกผู้นั้นให้กลับเข้ารับราชการเป็นตุลาการศาลปกครองในตําแหน่งไม่สูงกว่าตําแหน่งเดิมหรือ เทียบเท่าก็ได้ ถ้าผู้นั้นมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี และ ยังมีอายุไม่ครบหกสิบห้าปีบริบูรณ์ในวันสิ้นปีงบประมาณนั้น หรือยังมีอายุไม่ครบเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ ในวันสิ้นปีงบประมาณนั้นในกรณีที่เป็นผู้ซึ่งที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกให้ไป ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ หากผู้นั้นมีอายุครบเกณฑ์ที่จะต้องประเมินสมรรถภาพ ตามมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่งแล้ว แต่ยังไม่เคยผ่านการประเมินสมรรถภาพ ให้จัดให้มีการประเมิน สมรรถภาพได้ แม้จะมีอายุล่วงเลยการประเมินสมรรถภาพตามมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง แล้วก็ตาม ตุลาการศาลปกครองซึ่งโอนไปดํารงตําแหน่งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ถ้าต้องโอนกลับเข้า ดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองเพราะเหตุที่ครบวาระการดํารงตําแหน่งตามมาตรา ๗๘/๑ วรรคสอง หรือยื่นความประสงค์ขอโอนกลับก่อนครบวาระ และผู้นั้นมีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี ให้ ก.ศป. พิจารณาให้ความเห็นชอบให้ดํารงตําแหน่งในลําดับอาวุโสที่เคยครอง โดยให้ได้รับเงินเดือน เงินประจําตําแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่น ในชั้นเดียวกับตุลาการศาลปกครอง ที่อยู่ในลําดับอาวุโสเท่ากันในขณะที่ผู้นั้นดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง ในกรณีที่ผู้ซึ่งได้รับการคัดเลือกให้กลับเข้ารับราชการตามวรรคหนึ่ง หรือผู้ซึ่งได้รับความเห็นชอบ ให้โอนกลับเข้าดํารงตําแหน่งตุลาการศาลปกครองตามวรรคสอง มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๔ ให้นําความในมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๘ วรรคสอง แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับโดยอนุโลม ให้นําความในมาตรา ๑๕ วรรคสาม หรือมาตรา ๑๙ วรรคสาม แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับแก่ การคัดเลือกให้กลับเข้ารับราชการเป็นตุลาการศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง หรือการโอนกลับเข้าดํารงตําแหน่ง ตุลาการศาลปกครองตามวรรคสอง โดยอนุโลม” มาตรา ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๔/๑ ของหมวด ๒ ตุลาการศาลปกครอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๔/๑ การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีซึ่งตุลาการศาลปกครองได้กระทําโดยสุจริต ย่อมได้รับความคุ้มครอง” มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๕ ให้มีคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองคณะหนึ่งเรียกโดยย่อว่า “ก.ศป.” ประกอบด้วย (๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นตุลาการศาลปกครองจํานวนสิบคน ดังนี้ (ก) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนหกคนซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุด (ข) ตุลาการในศาลปกครองชั้นต้นจํานวนสี่คนซึ่งได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครอง ชั้นต้น (๓) กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็นตุลาการในศาลปกครอง จํานวนสองคน ที่ได้รับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุดและตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น ให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเป็นเลขานุการของ ก.ศป. และให้ ก.ศป. แต่งตั้งข้าราชการ ฝ่ายศาลปกครองจํานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ” มาตรา ๑๐ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๕/๒ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๓๕/๒ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) จะดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) หรือกรรมการข้าราชการฝ่ายศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) หรือ (๕) ในเวลาเดียวกันมิได้” มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๗ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศรับสมัครบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและ ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๓๕/๑ เข้ารับการเลือกเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) โดยให้คณะกรรมการดําเนินการเลือกตรวจสอบคุณสมบัติและ ลักษณะต้องห้ามของผู้สมัครเข้ารับการเลือก แล้วจัดทําบัญชีรายชื่อบุคคลผู้มีสิทธิได้รับเลือกส่งไปยังตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุดและตุลาการในศาลปกครองชั้นต้น และให้แจ้งกําหนดวัน เวลา และสถานที่ ที่จะทําการเลือกไปด้วย ให้นําความในมาตรา ๓๖ มาใช้บังคับแก่การเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ในวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม มาตรา ๓๘ หลักเกณฑ์และวิธีการเลือก การนับคะแนน และการประกาศผลการเลือก กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๙/๑ ให้เป็นไป ตามที่ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศกําหนดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป.” มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ก่อนกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) จะครบวาระเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหกสิบวันแต่ไม่เกินเก้าสิบวัน ให้ดําเนินการเลือกกรรมการตุลาการ ศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ โดยต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จก่อนที่กรรมการตุลาการศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิชุดเดิมจะพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ในกรณีจําเป็นที่ไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน กําหนดเวลาดังกล่าวได้ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินหกสิบวันนับแต่วันที่พ้นจากตําแหน่ง” มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๙/๑ ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรือ (๓) ว่างลงก่อนครบวาระ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกซ่อม ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลง เว้นแต่วาระการอยู่ในตําแหน่งของกรรมการผู้นั้น จะเหลือไม่ถึงเก้าสิบวัน จะไม่ดําเนินการเลือกซ่อมก็ได้ ให้ผู้ได้รับเลือกซ่อมเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง เข้ารับหน้าที่ เมื่อประธานศาลปกครองสูงสุดได้ประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกซ่อมเป็นกรรมการตุลาการศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิ และให้เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองดําเนินการประกาศรายชื่อผู้ได้รับเลือกซ่อมใน ราชกิจจานุเบกษา กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกซ่อมให้อยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระ ที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน” มาตรา ๑๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ “ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ตามวรรคหนึ่ง ให้ ก.ศป. เป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด” มาตรา ๑๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๔๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๔๐/๑ ให้ ก.ศป. โดยมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการตุลาการ ศาลปกครองทั้งหมด มีอํานาจออกระเบียบหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการตุลาการศาลปกครองและการอื่น ๆ ที่อยู่ในอํานาจหน้าที่ของ ก.ศป.” มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๑/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๔๑/๑ ในกรณีที่ไม่มีกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) (ก) หรือ (ข) หรือ (๓) หรือมีแต่ไม่ครบจํานวน ถ้ากรรมการตุลาการศาลปกครอง จํานวนไม่น้อยกว่าหกคน เห็นว่าเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องให้ความเห็นชอบ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครอง เท่าที่มีอยู่เป็น ก.ศป. พิจารณาเรื่องเร่งด่วนนั้นได้” มาตรา ๑๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๔๓ ในกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่ากฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดของ หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ให้เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง และให้ศาลปกครองพิจารณาวินิจฉัยโดยไม่ชักช้า ในการเสนอความเห็นดังกล่าวผู้ตรวจการแผ่นดิน มีสิทธิและหน้าที่เสมือนหนึ่งเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีตามมาตรา ๔๒” มาตรา ๑๘ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๔๕/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๔๕/๑ การฟ้องคดีที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาลตามมาตรา ๔๕ วรรคสี่ หากคู่กรณีใด ยื่นคําขอต่อศาลโดยอ้างว่า ไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะเสียค่าธรรมเนียมศาล หรือโดยสถานะของผู้ขอ ถ้าไม่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลจะได้รับความเดือดร้อนเกินสมควร ถ้าศาลเห็นว่ามีข้อเท็จจริงเพียงพอ ที่จะรับฟ้องไว้พิจารณา หรือในกรณีอุทธรณ์ซึ่งศาลเห็นว่ามีเหตุผลอันสมควรที่จะอุทธรณ์ได้ แล้วแต่กรณี และศาลได้แสวงหาข้อเท็จจริงโดยการไต่สวนหรือโดยวิธีอื่นแล้วเห็นว่ามีเหตุตามคําขอจริง ให้ศาลอนุญาต ให้คู่กรณีนั้นดําเนินคดี โดยยกเว้นค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดหรือเฉพาะบางส่วนได้ คําสั่งให้ยกเว้น ค่าธรรมเนียมศาลทั้งหมดให้เป็นที่สุด” มาตรา ๑๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๔๖ คําฟ้องให้ยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลปกครอง หรือส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียน ในการนี้อาจยื่นคําฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสาร ตามระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และเพื่อประโยชน์ในการนับอายุความ ให้ถือว่า วันที่ส่งคําฟ้องแก่เจ้าพนักงานไปรษณีย์หรือวันที่ส่งคําฟ้องทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสารเป็นวันที่ยื่นคําฟ้องต่อศาลปกครอง” มาตรา ๒๐ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามของมาตรา ๕๙ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “ในกรณีที่กฎหมายกําหนดระยะเวลาให้ศาลพิจารณาพิพากษาคดีหรือโดยลักษณะแห่งคดี มีความจําเป็นที่ศาลจะต้องพิจารณาพิพากษาคดีเป็นการเร่งด่วนหรือเพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวม การส่งสรุป ข้อเท็จจริงของตุลาการเจ้าของสํานวนให้คู่กรณีทราบตามวรรคสอง จะส่งล่วงหน้าเป็นเวลาอันสมควร แต่ไม่ถึงเจ็ดวันก็ได้ โดยต้องคํานึงถึงการคุ้มครองสิทธิของคู่กรณีด้วย” มาตรา ๒๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๕๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๕๙/๑ ในการพิจารณาคดีอุทธรณ์คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น หากองค์คณะ พิจารณาพิพากษาในศาลปกครองสูงสุดเห็นว่าคดีดังกล่าวมีข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน หรือเห็นว่าการไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีจะไม่ทําให้เสียความยุติธรรม องค์คณะพิจารณาพิพากษา อาจไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีก็ได้ ในกรณีนี้ให้ผู้แถลงคดีปกครองดําเนินการตามมาตรา ๕๘ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง ในวันประชุมปรึกษาเพื่อมีคําพิพากษา ให้ศาลแจ้งการไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีตามวรรคหนึ่งพร้อมส่งสรุปข้อเท็จจริงของตุลาการ เจ้าของสํานวนให้คู่กรณีทราบ ทั้งนี้ ไม่เป็นการตัดสิทธิคู่กรณีที่จะยื่นคําแถลงเป็นหนังสือต่อองค์คณะ พิจารณาพิพากษาภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง และหากคู่กรณีประสงค์ที่จะให้ศาลจัดให้มี การนั่งพิจารณาคดี ให้คู่กรณีแจ้งความประสงค์เช่นนั้นให้ศาลทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง และให้องค์คณะพิจารณาพิพากษาจัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีต่อไป” มาตรา ๒๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๖๐/๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “มาตรา ๖๐/๑ เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีคําขอและศาลเห็นว่า จะเป็นประโยชน์แก่ความยุติธรรมหรือเพื่ออํานวยความสะดวกแก่คู่กรณี ศาลอาจมีคําสั่งให้ดําเนินกระบวน พิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กําหนดโดยระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด การดําเนินกระบวนพิจารณาที่ต้องกระทําต่อหน้าศาลและศาลมีคําสั่งให้ดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ถือเป็นการดําเนินกระบวนพิจารณาในห้องพิจารณาของศาล และเป็นการกระทําต่อหน้าศาล ศาลอาจเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการดําเนินกระบวนพิจารณาตามวรรคหนึ่งจากคู่กรณีที่ร้องขอได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่ประธานศาลปกครองสูงสุดกําหนด โดยไม่ถือว่าค่าใช้จ่ายนั้นเป็น ค่าธรรมเนียมศาล” มาตรา ๒๓ ในวาระเริ่มแรก ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดดําเนินการให้มีการเลือกกรรมการ ตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) และ (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้แล้วเสร็จ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) (ก) และ (ข) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งพ้นจาก ตําแหน่งตามวาระแต่ต้องทําหน้าที่กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิไปพลางก่อนตามมาตรา ๒๗๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงทําหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีการประกาศผลการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) (ก) และ (ข) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งดํารงตําแหน่ง อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ พ้นจากตําแหน่ง แต่ให้ทําหน้าที่กรรมการตุลาการศาลปกครอง ผู้ทรงคุณวุฒิไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการประกาศผลการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวรรคสองและวรรคสาม ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ มาตรา ๒๔ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๙๐ บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและให้ตุลาการพ้นจากตําแหน่ง แต่ในกรณีที่พ้นจากตําแหน่ง เพราะความตายหรือเกษียณอายุ พ้นจากตําแหน่งตามวาระ หรือพ้นจากราชการเพราะถูกลงโทษ ให้นําความ กราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ มาตรา ๑๙๘ บัญญัติให้การบริหารงานบุคคลเกี่ยวกับตุลาการศาลปกครอง ต้องดําเนินการโดยคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองซึ่งประกอบด้วยประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธาน และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นตุลาการในศาลปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งไม่เป็นหรือเคยเป็นตุลาการ ในศาลปกครองไม่เกินสองคน บรรดาที่ได้รับเลือกจากข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และมาตรา ๒๓๑ บัญญัติให้ผู้ตรวจการแผ่นดินอาจเสนอเรื่องต่อศาลปกครองได้เมื่อเห็นว่ามีกรณีกฎ คําสั่ง หรือการกระทําใดของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมาย สมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ในเรื่องดังกล่าวให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ประกอบกับ มาตรา ๑๘๘ วรรคสอง บัญญัติให้ผู้พิพากษาและตุลาการย่อมมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี สมควรกําหนดความคุ้มครองตุลาการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีซึ่งได้กระทําโดยสุจริต นอกจากนั้น สมควรปรับปรุงการพิจารณาพิพากษาคดีและการบริหารจัดการคดีของศาลปกครองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยกําหนดให้สามารถยื่นคําฟ้องโดยส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสาร เพื่อประโยชน์ ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางปกครองได้โดยง่าย สะดวกรวดเร็ว และทั่วถึง รวมทั้งกําหนด กระบวนพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบการประชุมทางจอภาพ ตลอดจนแก้ไขเพิ่มเติม กระบวนพิจารณาในการพิจารณาคําขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล การนั่งพิจารณาคดีในกรณีที่มีความจําเป็นเร่งด่วน และการไม่จัดให้มีการนั่งพิจารณาคดีสําหรับคดีที่อุทธรณ์คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนที่ ๙๗ ก/หน้า ๖/๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ [↑](#footnote-ref-1)
10,346
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2561
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๑ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นปีที่ ๓ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๑ ” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งและวรรคสองของมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๓๐ อัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งของตุลาการศาลปกครองให้เป็นไป ตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ตุลาการศาลปกครองให้ได้รับเงินเดือนตามตําแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง ดังต่อไปนี้ 1. ในศาลปกครองสูงสุด 2. ประธานศาลปกครองสูงสุด ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๔ 3. รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด และตุลาการ ศาลปกครองสูงสุด ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๓ ขั้นสูงสุด 4. ในศาลปกครองชั้นต้น 5. อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๓ ขั้นสูงสุด 6. รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นและตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับ เงินเดือน ชั้น ๒ - ๓ โดยให้เริ่มรับเงินเดือนในชั้น ๒ และเมื่ออยู่ในชั้น ๒ มาครบเจ็ดปีแล้วให้เลื่อน ชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๓ 7. ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น ให้ได้รับเงินเดือน ชั้น ๑ - ๓ โดยให้เริ่มรับเงินเดือน ในชั้น ๑ เมื่ออยู่ในชั้น ๑ มาครบหนึ่งปีแล้วให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๒ และเมื่ออยู่ในชั้น ๒ มาครบเจ็ดปีแล้วให้เลื่อนชั้นเงินเดือนเป็นชั้น ๓ ” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้าย พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ และ ให้ใช้บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นไป มาตรา ๕ เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามระเบียบ ก.ศป. ว่าด้วย การจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตุลาการศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งตุลาการศาลปกครองได้รับไปแล้ว ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นมาจนถึงวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่า เป็นส่วนหนึ่งของเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งที่ได้รับการปรับเพิ่มตามบัญชีอัตราเงินเดือนและ เงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองในมาตรา ๔ และให้การได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว ในกรณีนั้นสิ้นสุดลงในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๖ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง | | | | | | | | --- | --- | --- | --- | --- | --- | | ชั้นศาล | ชั้นเงินเดือน | ตําแหน่ง | เงินเดือน(บาท/เดือน) | เงินประจําตําแหน่ง(บาท/เดือน) | | | ศาลปกครองสูงสุด | ๔ | ประธานศาลปกครองสูงสุด | ๘๓,๐๙๐ | ๕๕,๐๐๐ | | | ๓ | รองประธานศาลปกครองสูงสุดตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุดตุลาการศาลปกครองสูงสุดอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นรองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๘๑,๙๒๐๘๐,๕๔๐ | ๕๐,๐๐๐๔๒,๕๐๐ | | | ศาลปกครองชั้นต้น | | | ๒ | รองอธิบดีศาลปกครองชั้นต้นตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้นตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๗๖,๘๐๐ | ๔๑,๕๐๐ | | | ๑ | ตุลาการศาลปกครองชั้นต้น | ๗๔,๓๖๐ | ๓๐,๐๐๐ | | หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติม บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครองเพื่อให้เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและ ค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น โดยกําหนดให้ถือว่าเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามระเบียบ ก.ศป. ว่าด้วยการจ่ายเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวตุลาการศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งตุลาการศาลปกครอง ได้รับไปแล้วตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นมาจนถึงวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นส่วนหนึ่งของเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งที่ได้รับการปรับเพิ่มตามบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหน่งตุลาการศาลปกครอง และให้การได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราวในกรณีนั้นสิ้นสุดลงในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๕/ตอนที่ ๑๑๒ ก/หน้า ๘/๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๑ [↑](#footnote-ref-1)
10,347
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปีที่ ๔ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติทําหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นส่วนที่ ๒/๑ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มาตรา ๖๖/๑ มาตรา ๖๖/๒ มาตรา ๖๖/๓ มาตรา ๖๖/๔ มาตรา ๖๖/๕ มาตรา ๖๖/๖ มาตรา ๖๖/๗ มาตรา ๖๖/๘ มาตรา ๖๖/๙ มาตรา ๖๖/๑๐ มาตรา ๖๖/๑๑ และมาตรา ๖๖/๑๒ ของหมวด ๔ วิธีพิจารณาคดีปกครอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ “ส่วนที่ ๒/๑ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มาตรา ๖๖/๑ ให้ศาลปกครองชั้นต้นมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีที่อยู่ในอํานาจพิจารณา พิพากษาของศาลปกครองชั้นต้น และศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีที่อยู่ในอํานาจ พิจารณาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดซึ่งฟ้องเป็นครั้งแรกต่อศาลปกครองสูงสุด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้เป็นไปตามที่กําหนดในระเบียบ ของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๖๖/๒ ศาลปกครองมีอํานาจไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีที่อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษา ของศาลปกครอง ดังต่อไปนี้ (๑) คดีพิพาทเกี่ยวกับหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมาย กําหนดให้ต้องปฏิบัติ หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร (๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอย่างอื่นของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ (๓) คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง (๔) คดีพิพาทอื่นตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในกรณีที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามวรรคหนึ่งเป็นการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับเงินหรือ ทรัพย์สิน คณะรัฐมนตรีอาจกําหนดหลักเกณฑ์ให้หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็นคู่กรณี ต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังหรือหน่วยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลตามกฎหมายด้วยก็ได้ มาตรา ๖๖/๓ ห้ามมิให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในกรณีที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เป็นการฝ่าฝืนหรือต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย (๒) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (๓) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่มีผลกระทบต่อสถานะของบุคคลหรือมีผลกระทบในทางเสียหาย ต่อประโยชน์สาธารณะ (๔) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่มีผลกระทบร้ายแรงต่อการบังคับใช้กฎหมาย (๕) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่อยู่นอกเหนือสิทธิ อํานาจหน้าที่ หรือความสามารถของคู่กรณี (๖) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท ตามมาตรา ๑๑ (๑) (๗) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่เกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาทที่กฎหมาย กําหนดให้ฟ้องคดีต่อศาลปกครองสูงสุด (๘) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่มีลักษณะอื่นตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการ ในศาลปกครองสูงสุด มาตรา ๖๖/๔ ในเวลาใด ๆ นับแต่มีการฟ้องคดีต่อศาลปกครองจนถึงวันสิ้นสุดการแสวงหา ข้อเท็จจริง คู่กรณีอาจร่วมกันยื่นคําขอต่อศาลเพื่อให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หรือคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง อาจยื่นคําขอและคู่กรณีฝ่ายอื่นตกลงให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ในกรณีเช่นนี้ ถ้าองค์คณะพิจารณา พิพากษาเห็นสมควรและประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้น แล้วแต่กรณี เห็นชอบ ให้ศาลดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทระหว่างคู่กรณีนั้นได้ สําหรับคู่กรณีที่ไม่ได้ตกลงให้มีการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาท ศาลอาจดําเนินกระบวนพิจารณาต่อไปก็ได้ เมื่อองค์คณะพิจารณาพิพากษาเห็นสมควรให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและคู่กรณียินยอม ให้นําความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองชั้นต้น แล้วแต่กรณี แต่งตั้งตุลาการ ศาลปกครองซึ่งไม่มีหน้าที่รับผิดชอบคดีในสํานวนคดีนั้น ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท โดยคํานึงถึง ความรู้ความเชี่ยวชาญและความเหมาะสมของตุลาการศาลปกครองผู้นั้น มาตรา ๖๖/๕ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องดําเนินการให้เสร็จโดยเร็วภายในระยะเวลาที่ตุลาการ ศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทกําหนด โดยต้องไม่ทําให้การพิจารณาพิพากษาคดีนั้นล่าช้าออกไป โดยไม่สมควร มาตรา ๖๖/๖ ตุลาการศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต้องวางตนเป็นกลาง และปราศจาก อคติในการปฏิบัติหน้าที่ ให้นําความในมาตรา ๖๓ มาใช้บังคับแก่การคัดค้านและการถอนตัวของตุลาการศาลปกครอง ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยอนุโลม มาตรา ๖๖/๗ แนวทาง ความเห็นชอบ คําสั่ง หรือการดําเนินการใด บรรดาซึ่งกระทําลงใน การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยประธานศาลปกครองสูงสุด อธิบดีศาลปกครองชั้นต้น ตุลาการศาลปกครอง ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท องค์คณะพิจารณาพิพากษา หรือตุลาการเจ้าของสํานวนที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาท ไม่อาจอุทธรณ์ได้ มาตรา ๖๖/๘ ห้ามมิให้คู่กรณีที่เข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตุลาการศาลปกครอง ผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดําเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หรือบุคคลอื่นใด นําเรื่อง ดังต่อไปนี้ ไปเปิดเผยหรืออ้างอิง หรือนําสืบเป็นพยานหลักฐานในกระบวนพิจารณาคดีของศาล หรือ เพื่อดําเนินการอื่นใด ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใด ๆ (๑) ความประสงค์หรือความยินยอมของคู่กรณีในการขอเข้าร่วมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๒) ความเห็นหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการในการระงับข้อพิพาทของคู่กรณี ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๓) การยอมรับหรือข้อความที่กระทําโดยคู่กรณีในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๔) ข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนํามาใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๕) เอกสารที่จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ข้อมูลที่เกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอื่นนอกจากข้อมูลตามวรรคหนึ่ง อาจเปิดเผยหรืออ้างอิงได้ ตามที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด พยานหลักฐานใดที่ใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท หากเป็นพยานหลักฐานที่นําสืบได้อยู่แล้วใน กระบวนการอนุญาโตตุลาการ กระบวนพิจารณาของศาล หรือการดําเนินการอื่นใด โดยอาศัยอํานาจ ตามกฎหมาย ย่อมไม่ต้องห้ามตามความในวรรคหนึ่ง ห้ามมิให้อนุญาโตตุลาการ ศาล หน่วยงานทางปกครอง หรือบุคคลอื่นใดรับฟังหรือนําข้อเท็จจริง ที่ได้มาจากการฝ่าฝืนมาตรานี้ไปใช้ประโยชน์ มาตรา ๖๖/๙ การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองสิ้นสุดลง เมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ (๑) มีการถอนคําฟ้องโดยศาลอนุญาตให้ถอนคําฟ้องได้ หรือศาลมีคําสั่งจําหน่ายคดีนั้นจาก สารบบความโดยเหตุอื่น (๒) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทสําเร็จในประเด็นแห่งคดีทั้งหมดหรือบางส่วนตามมาตรา ๖๖/๑๐ (๓) คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ประสงค์ให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่อไป (๔) องค์คณะพิจารณาพิพากษามีคําสั่งให้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนั้นสิ้นสุดลง เมื่อตุลาการ ศาลปกครองผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเห็นว่าการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทต่อไปนั้นไม่เป็นประโยชน์แก่คดี ไม่อาจ สําเร็จได้ เป็นการประวิงคดี เป็นการฝ่าฝืน หรือเป็นการขัดหรือแย้งต่อหลักการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มาตรา ๖๖/๑๐ ในกรณีที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองสําเร็จและทําให้ประเด็น แห่งคดีเสร็จสิ้นไปทั้งหมด ให้ศาลปกครองมีคําพิพากษาไปตามนั้น หากการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททําให้ คดีเสร็จสิ้นไปบางส่วน ให้ศาลจดรายงานแสดงข้อความแห่งข้อตกลงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเหล่านั้นไว้ แล้วให้ศาลพิจารณาประเด็นข้อพิพาทที่ตกลงกันไม่ได้ต่อไปและนํามารวมพิพากษากับข้อพิพาทที่ตกลงกันได้ ไปในคราวเดียวกัน มาตรา ๖๖/๑๑ ห้ามมิให้อุทธรณ์คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นต้นซึ่งพิพากษาตามการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทในประเด็นแห่งคดีที่เสร็จสิ้นไปไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนตามมาตรา ๖๖/๑๐ เว้นแต่ในเหตุ ดังต่อไปนี้ (๑) เมื่อมีข้อกล่าวอ้างว่าคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฉ้อฉล (๒) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกล่าวอ้างว่าเป็นการละเมิดต่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันเกี่ยวด้วย ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (๓) เมื่อคําพิพากษานั้นถูกกล่าวอ้างว่ามิได้เป็นไปตามข้อตกลงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท การอุทธรณ์คําพิพากษาของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ให้ยื่นต่อศาลที่มีคําพิพากษาภายในกําหนด สามสิบวันนับแต่วันที่ได้มีคําพิพากษา มาตรา ๖๖/๑๒ ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดที่ออกตามความในส่วนนี้ ให้ดําเนินการตามมาตรา ๖ ด้วย” ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นกระบวนการหนึ่ง ที่ช่วยให้การบริหารจัดการคดีมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสและส่งเสริมให้คู่กรณี มีทางเลือกในการระงับข้อพิพาททางปกครองได้อีกทางหนึ่ง สมควรเพิ่มบทบัญญัติให้ศาลปกครองมีอํานาจ ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในคดีปกครองภายใต้หลักความชอบด้วยกฎหมาย เพื่อให้ข้อพิพาททางปกครองยุติลงได้ อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้นด้วยความสมัครใจของคู่กรณี และรักษาไว้ซึ่งสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน ตลอดจนส่งเสริมให้ การบริหารจัดการคดีของศาลปกครองมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖/ตอนที่ ๕๖ ก/หน้า ๒๔๗/๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ [↑](#footnote-ref-1)
10,348
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2564
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๔ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นปีที่ ๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอม ของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๔” มาตรา ๒[[1]](#footnote-1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๖/๑) ของมาตรา ๔๑/๘ แห่งพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ “(๖/๑) ออกระเบียบเกี่ยวกับการกําหนดเบี้ยประชุมสําหรับข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ซึ่งเข้าร่วมการประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรเพิ่มอํานาจหน้าที่ ของคณะกรรมการบริหารศาลปกครองให้รวมถึงการออกระเบียบเกี่ยวกับการกําหนดเบี้ยประชุมสําหรับ ข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ซึ่งเข้าร่วมการประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด เพื่อให้สอดคล้องกับ มาตรา ๑๙๓ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งบัญญัติให้ศาลปกครองมีระบบเงินเดือน และค่าตอบแทนเป็นการเฉพาะตามความเหมาะสมตามที่กฎหมายบัญญัติ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๘/ตอนที่ ๑๑ ก/หน้า ๑๐/๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ [↑](#footnote-ref-1)
10,349
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2564
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๔ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นปีที่ ๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๖๔” มาตรา ๒[1](#fn1) พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความใน (๘) ของมาตรา ๔๑/๘ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๘) ออกระเบียบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์ เงินค่าตอบแทนพิเศษและสิทธิและประโยชน์อื่นของข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง และพนักงานราชการและลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี *หมายเหตุ* :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารศาลปกครองในการออกระเบียบเกี่ยวกับเงินค่าตอบแทนพิเศษและสิทธิและประโยชน์อื่นของข้าราชการตุลาการศาลปกครอง ข้าราชการฝ่ายศาลปกครอง และพนักงานราชการ และลูกจ้างสํานักงานศาลปกครอง อันจะเป็นมาตรการสําคัญอย่างหนึ่งในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างขวัญกําลังใจและแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจในการอํานวยความยุติธรรมทางปกครองแก่บุคลากรของศาลปกครอง จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ --- 1.
10,350
พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติ กองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีที่ ๗๐ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยกองทุนยุติธรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “กองทุน” หมายความว่า กองทุนยุติธรรม “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกองทุนยุติธรรม “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ หมวด ๑ กองทุนยุติธรรม มาตรา ๕ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม เรียกว่า “กองทุนยุติธรรม” มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสําหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการช่วยเหลือประชาชนในการดําเนินคดี การขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลย การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน และการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน มาตรา ๖ ให้กองทุนมีอํานาจกระทํากิจการต่าง ๆ ภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ และอํานาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง และมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ (๒) ก่อตั้งสิทธิหรือกระทํานิติกรรมใด ๆ (๓) กระทําการอื่นใดที่เกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องในการจัดการให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์ของกองทุน มาตรา ๗ กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ (๑) เงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับโอนมาตามมาตรา ๔๐ (๒) เงินอุดหนุนที่ได้รับจากรัฐบาลหรือเงินที่ได้รับจากงบประมาณรายจ่ายประจําปี (๓) เงินที่ได้รับตามมาตรา ๘ (๔) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้แก่กองทุน (๕) ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน (๖) เงินหรือทรัพย์สินอื่นใดที่กองทุนได้รับไม่ว่ากรณีใด เงินและทรัพย์สินของกองทุนไม่ต้องส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน มาตรา ๘ ให้กองทุนมีรายได้จากเงินที่ศาลสั่งบังคับกรณีผิดสัญญาประกันต่อศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ค่าธรรมเนียมศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง และค่าปรับตามคําพิพากษาในคดีอาญา ทั้งนี้ ในอัตราไม่เกินร้อยละห้าของจํานวนเงินเฉพาะส่วนที่นําส่งคลังโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา ๙ เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการ ดังต่อไปนี้ (๑) การช่วยเหลือประชาชนในการดําเนินคดี (๒) การขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลย (๓) การช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน (๔) การให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน (๕) การดําเนินงานกองทุนหรือการบริหารกองทุน และกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับการจัดกิจการของกองทุน มาตรา ๑๐ ในกิจการของกองทุนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก ให้ปลัดกระทรวงยุติธรรมเป็นผู้แทนกองทุน เพื่อการนี้ ปลัดกระทรวงยุติธรรมจะมอบหมายให้บุคคลใดปฏิบัติงานในเรื่องใดแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๑๑ ให้จัดตั้งสํานักงานกองทุนยุติธรรมขึ้นในสํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ทําหน้าที่เกี่ยวกับงานธุรการให้กับกองทุน คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือบุคคลที่คณะกรรมการแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งให้มีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) รับคําขอรับความช่วยเหลือตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) เสนอความเห็นประกอบคําขอตาม (๑) เพื่อเสนอให้คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องพิจารณา (๓) ประสานงานและร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานเอกชนในการดําเนินงานของกองทุน (๔) รับเงิน จ่ายเงิน และเก็บรักษาเงินของกองทุนตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (๕) พัฒนาระบบ รูปแบบ วิธีการ และการให้บริการของกองทุน เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของกองทุน (๖) เก็บ รวบรวม วิเคราะห์ และวิจัยข้อมูลเกี่ยวกับการสนับสนุนการดําเนินงานของกองทุน (๗) ปฏิบัติการอื่นหรือกระทํากิจการตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ มาตรา ๑๒ ในการดําเนินงานของกองทุนในจังหวัดอื่นที่มิใช่กรุงเทพมหานคร ให้ปลัดกระทรวงยุติธรรมมอบหมายให้หน่วยงานในจังหวัดที่สังกัดกระทรวงยุติธรรมทําหน้าที่เกี่ยวกับงานธุรการให้กับกองทุนสําหรับเขตจังหวัดนั้น หมวด ๒ คณะกรรมการกองทุนยุติธรรม มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ผู้แทนสํานักงบประมาณ ผู้แทนสํานักงานตํารวจแห่งชาติ ผู้แทนสํานักงานศาลยุติธรรม ผู้แทนสํานักงานอัยการสูงสุด ผู้แทนสภาทนายความ และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจํานวนหกคน เป็นกรรมการ ให้รองปลัดกระทรวงยุติธรรมซึ่งได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงยุติธรรมเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ปลัดกระทรวงยุติธรรมแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของสํานักงานกองทุนยุติธรรมจํานวนสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๑๔ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) มีอายุไม่ต่ํากว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์ (๓) ไม่เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๔) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๕) ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้ดํารงตําแหน่งบริหารในพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง (๖) ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการหรือถูกพักงาน หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการหรือออกจากงานไว้ก่อน (๗) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะกระทําผิดวินัย (๘) ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๙) ไม่เคยต้องคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ํารวยผิดปกติ มาตรา ๑๕ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสี่ปี ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ภายในหกสิบวัน ในระหว่างที่ยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่ ให้กรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการที่ได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา ๑๖ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๔ (๔) รัฐมนตรีให้ออกจากตําแหน่งเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ มาตรา ๑๗ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าที่เหลืออยู่ และให้ดําเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตําแหน่งที่ว่างภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ตําแหน่งว่างลง และให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งแทนอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) กําหนดนโยบาย แผนงาน และแนวทางในการดําเนินงานของกองทุน (๒) ออกระเบียบต่าง ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย (๔) กํากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (๕) พิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานประจําปี (๖) ออกประกาศเกี่ยวกับการดําเนินงานเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดให้เป็นอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๑๙ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานและรองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๒๐ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เพื่อมีอํานาจหน้าที่พิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ยื่นคําขอในทุกภารกิจของกองทุนทั่วราชอาณาจักรตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ให้เลขานุการคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือรายงานผลการพิจารณาให้ความช่วยเหลือต่อคณะกรรมการทุกรอบสามเดือน มาตรา ๒๑ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัดขึ้นทุกจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร เพื่อมีอํานาจหน้าที่พิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ยื่นคําขอจากกองทุนเฉพาะกรณีการให้ค่าใช้จ่ายในการช่วยเหลือประชาชนในการดําเนินคดีและการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลยตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ให้หัวหน้าหน่วยงานในจังหวัดที่สังกัดกระทรวงยุติธรรมซึ่งได้รับมอบหมายตามมาตรา ๑๒ ทําหน้าที่เป็นอนุกรรมการและเลขานุการคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัด ให้เลขานุการคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัดรายงานผลการพิจารณาให้ความช่วยเหลือต่อคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือ เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการ ตามมาตรา ๒๐ วรรคสอง มาตรา ๒๒ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วนไม่สามารถเสนอคําขอให้คณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือหรือคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัดพิจารณาได้ ให้ประธานอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือหรือประธานอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัด แล้วแต่กรณี เป็นผู้พิจารณาคําขอ และรายงานให้คณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือหรือคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัด แล้วแต่กรณี ทราบโดยเร็ว ในการพิจารณาคําขอรับความช่วยเหลือการขอปล่อยชั่วคราว หากมีเหตุจําเป็นเร่งด่วนที่ไม่สามารถเสนอคําขอรับความช่วยเหลือการขอปล่อยชั่วคราวให้คณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือหรือคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัดพิจารณาได้ คณะอนุกรรมการดังกล่าวอาจมอบหมายให้อนุกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็นผู้พิจารณาคําขอก็ได้ และรายงานให้คณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือหรือคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัด แล้วแต่กรณี ทราบโดยเร็ว ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๓ ให้นําบทบัญญัติในมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๗ และมาตรา ๑๙ มาใช้บังคับกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม การดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง และการประชุมของคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือและคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัดโดยอนุโลม มาตรา ๒๔ ให้กรรมการและอนุกรรมการได้รับเบี้ยประชุมตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา ๒๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการและอนุกรรมการเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๓ การขอรับความช่วยเหลือจากกองทุน มาตรา ๒๖ บุคคลอาจขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนในการดําเนินคดี การขอปล่อยชั่วคราว การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือการได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการสนับสนุนโครงการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยื่นคําขอ แบบคําขอ การพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๗ การช่วยเหลือประชาชนในการดําเนินคดี ประกอบด้วยค่าจ้างทนายความ ค่าฤชาธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการดําเนินคดี หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการให้ความช่วยเหลือ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๘ การพิจารณาให้ความช่วยเหลือประชาชนในการดําเนินคดี และการให้ความช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน คณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือหรือคณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือประจําจังหวัดต้องคํานึงถึงหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) พฤติกรรมและข้อเท็จจริงของผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน (๒) ฐานะของผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุน (๓) โอกาสที่ผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุนจะได้รับการช่วยเหลือหรือบรรเทาความเสียหายตามกฎหมายอื่น มาตรา ๒๙ การพิจารณาให้ความช่วยเหลือในการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลย ให้คํานึงถึงว่าหากได้รับการปล่อยชั่วคราวแล้ว ผู้ต้องหาหรือจําเลยจะหลบหนี จะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือจะไปก่อเหตุภยันตรายประการใดหรือไม่ มาตรา ๓๐ การขอปล่อยชั่วคราวให้แก่ผู้ต้องหาหรือจําเลย กองทุนอาจมอบอํานาจให้แก่พนักงานของกองทุนหรือเจ้าหน้าที่ของกระทรวงยุติธรรมเป็นผู้ยื่นคําร้องขอปล่อยชั่วคราวและเป็นผู้ลงนามในสัญญาประกันก็ได้ คําร้องขอปล่อยชั่วคราวต้องแนบหนังสือรับรองการชําระเงินของกองทุน สําเนาหนังสือสัญญาของผู้ต้องหาหรือจําเลย และสําเนาหนังสือสัญญาค้ําประกันตามวรรคสี่ไปด้วย หนังสือรับรองการชําระเงินของกองทุนต้องระบุว่า หากผู้ต้องหาหรือจําเลยผิดสัญญาประกันและถูกปรับเป็นเงินเท่าใด กองทุนจะเป็นผู้ชําระแทน ก่อนออกหนังสือรับรองการชําระเงินของกองทุน จะต้องให้ผู้ต้องหาหรือจําเลยผู้ประสงค์จะได้รับการปล่อยชั่วคราวทําหนังสือสัญญาให้กองทุนไว้ว่า หากกองทุนต้องชําระเงินค่าปรับตามวรรคสามเป็นจํานวนเท่าใด ผู้ต้องหาหรือจําเลยจะชดใช้เงินให้แก่กองทุนจนครบถ้วน และผู้ต้องหาหรือจําเลยจะต้องนําสามี ภริยา บุพการี ผู้สืบสันดาน ญาติใกล้ชิด ผู้บังคับบัญชา หรือนายจ้าง มาเป็นผู้ค้ําประกันด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการออกหนังสือรับรองการชําระเงินของกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๓๑ ผู้ยื่นคําขอรับความช่วยเหลือจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือการได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน อาจขอรับเงินช่วยเหลือเพื่อความเสียหายที่ตนได้รับ ดังต่อไปนี้ (๑) ค่าใช้จ่ายที่จําเป็นในการรักษาพยาบาล รวมทั้งค่าฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ (๒) เงินช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ในกรณีที่ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนถึงแก่ความตาย (๓) ค่าขาดประโยชน์ทํามาหาได้ในระหว่างที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ตามปกติ (๔) เงินช่วยเหลือเยียวยาความเสียหายอื่นตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราการได้รับเงินช่วยเหลือ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๓๒ คณะอนุกรรมการให้ความช่วยเหลือมีอํานาจพิจารณาให้การสนับสนุนผู้เสนอโครงการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับความช่วยเหลือและการให้การสนับสนุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด หมวด ๔ การเงิน การบัญชี และการตรวจสอบ มาตรา ๓๓ กองทุนต้องจัดให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสมเพื่อบันทึกรายการทางบัญชีและแสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของกองทุนโดยถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งต้องจัดให้มีการตรวจสอบภายในเป็นประจํา ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการทราบตามที่คณะกรรมการกําหนด หมวด ๓๔ ให้กองทุนจัดทํารายงานการเงินเพื่อแสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของกองทุนเสนอผู้สอบบัญชีภายในหกสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี มาตรา ๓๕ ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือผู้สอบบัญชีที่สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินให้ความเห็นชอบเป็นผู้สอบบัญชีของกองทุน มาตรา ๓๖ ให้ผู้สอบบัญชีทํารายงานการสอบบัญชีของกองทุนเสนอต่อคณะกรรมการภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี และให้ประกาศรายงานการเงินที่ผู้สอบบัญชีได้ตรวจสอบแล้วและรายงานการสอบบัญชีในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓๗ ให้กองทุนจัดทํารายงานประจําปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี มาตรา ๓๘ ปีบัญชีของกองทุนหมายถึงปีงบประมาณ มาตรา ๓๙ การรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินของกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง หมวด ๕ บทเฉพาะกาล มาตรา ๔๐ ให้โอนบรรดาเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ และหนี้สิน ที่เกี่ยวเนื่องกับกองทุนยุติธรรมในสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงยุติธรรม ตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ ไปเป็นของกองทุนยุติธรรมตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนยุติธรรมตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ ปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อนจนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามพระราชบัญญัตินี้ โดยต้องดําเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๔๒ คําขอใด ๆ ที่ได้ยื่นไว้ตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ และยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา ให้ถือว่าเป็นคําขอตามพระราชบัญญัตินี้โดยอนุโลม และถ้าคําขอดังกล่าวมีข้อความแตกต่างไปจากคําขอตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับคําขอสั่งให้แก้ไขเพิ่มเติมคําขอเพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ได้ มาตรา ๔๓ บรรดาระเบียบ ประกาศ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่ออกตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีระเบียบหรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ . พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กองทุนยุติธรรมตามระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ มีงบประมาณที่จํากัด ประกอบกับไม่มีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานทําให้กองทุนไม่สามารถช่วยเหลือประชาชนในการดําเนินคดี และให้ความคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้อย่างทั่วถึง เสมอภาค และเป็นธรรม ทําให้เกิดความเหลื่อมล้ําของประชาชน ดังนั้น สมควรกําหนดให้กองทุนมีฐานะเป็นนิติบุคคล เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสําหรับช่วยเหลือประชาชนในการดําเนินคดี การขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลย การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน และการให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,351
พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นปีที่ ๔๖ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๕๓๔” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๔๙๗ (๒) ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๙๖ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ มาตรา ๔ ผู้ใดออกเช็คเพื่อชําระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายโดยมีลักษณะหรือมีการกระทําอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้ (๑) เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น (๒) ในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ (๓) ให้ใช้เงินมีจํานวนสูงกว่าจํานวนเงินที่มีอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น (๔) ถอนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินตามเช็คจนจํานวนเงินเหลือไม่เพียงพอที่จะใช้เงินตามเช็คนั้นได้ (๕) ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนั้นโดยเจตนาทุจริต เมื่อได้มีการยื่นเช็คเพื่อให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้าธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น ผู้ออกเช็คมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทั้งปรับทั้งจํา มาตรา ๕ ความผิดตามมาตรา ๔ เป็นความผิดอันยอมความได้ มาตรา ๖ การควบคุมหรือขังผู้ต้องหาหรือจําเลยในคดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวง แต่ถ้าผู้ต้องหาหรือจําเลยยื่นคําร้องขอให้ปล่อยชั่วคราว ให้พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล สั่งปล่อยชั่วคราวโดยมีประกันแต่ไม่มีหลักประกัน หรือมีประกันและหลักประกันไม่เกินหนึ่งในสามของจํานวนเงินตามเช็ค มาตรา ๗ ถ้าผู้กระทําความผิดตามมาตรา ๔ ได้ใช้เงินตามเช็คแก่ผู้ทรงเช็คหรือแก่ธนาคารภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้ออกเช็คได้รับหนังสือบอกกล่าวจากผู้ทรงเช็คว่าธนาคารไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น หรือหนี้ที่ผู้กระทําความผิดตามมาตรา ๔ ได้ออกเช็คเพื่อใช้เงินนั้นได้สิ้นผลผูกพันไปก่อนศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุด ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘ ถ้าจํานวนเงินในเช็คแต่ละฉบับหรือหลายฉบับรวมกันไม่เกินจํานวนเงินที่ผู้พิพากษาคนเดียวมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งได้ การฟ้องคดีแพ่งเรียกเงินตามเช็คนั้นจะรวมฟ้องต่อศาลซึ่งพิจารณาคดีอาญาก็ได้ การพิจารณาคดีแพ่งต้องเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๙ สําหรับบรรดาความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๙๖ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งอยู่ในระหว่างการสอบสวนของพนักงานสอบสวนหรือการดําเนินคดีของพนักงานอัยการก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้การสอบสวนของพนักงานสอบสวนหรือการดําเนินคดีของพนักงานอัยการที่ได้ดําเนินการไปตามกฎหมายก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับเป็นอันใช้ได้ แต่การดําเนินการต่อไปให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ในกรณีที่ได้มีการควบคุมหรือขังผู้ต้องหามาก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ การควบคุมหรือขังผู้ต้องหาต่อไปตามพระราชบัญญัตินี้รวมกับการควบคุมหรือขังผู้ต้องหามาก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ควบคุมหรือขังได้ไม่เกินกําหนดเวลาควบคุมหรือขังที่กําหนดไว้ตามกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๑๐ สําหรับบรรดาความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๙๖ ลงวันที่ ๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลใดก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ศาลนั้นดําเนินการพิจารณาพิพากษาต่อไปได้ มาตรา ๑๑ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ . อานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. ๒๔๙๗ ใช้บังคับมานานแล้ว บทบัญญัติที่มีอยู่ไม่เหมาะสมหลายประการ สมควรปรับปรุงให้มีบทบัญญัติชัดแจ้งว่า การออกเช็คที่จะมีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้จะต้องเป็นการออกเช็คเพื่อให้มีผลผูกพันและบังคับชําระหนี้ได้ตามกฎหมายเท่านั้น และกําหนดให้มีระวางโทษปรับเพียงไม่เกินหกหมื่นบาทเพื่อให้คดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้อยู่ในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลแขวง ทั้งให้การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลยจะกระทําโดยไม่มีหลักประกันก็ได้ แต่ถ้าจะให้มีหลักประกัน หลักประกันนั้นจะต้องไม่เกินหนึ่งในสามของจํานวนเงินตามเช็ค นอกจากนี้สมควรกําหนดให้การฟ้องคดีแพ่งตามเช็คที่มีจํานวนเงินไม่เกินอํานาจพิจารณาพิพากษาของผู้พิพากษาคนเดียวสามารถฟ้องรวมไปกับคดีส่วนอาญาได้ จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
10,352
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองภูเก็ต พ.ศ. 2555
พระราชบัญญัติ จัดตั้งศาลปกครองภูเก็ต พ.ศ. ๒๕๕๕ ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นปีที่ ๖๗ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดภูเก็ต จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองภูเก็ต พ.ศ. ๒๕๕๕” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ มาตรา ๓ ให้จัดตั้งศาลปกครองในภูมิภาคขึ้นในจังหวัดภูเก็ต เรียกว่า “ศาลปกครองภูเก็ต” และจะเปิดทําการเมื่อใด ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๔ ให้ศาลปกครองภูเก็ตมีเขตตลอดท้องที่จังหวัดกระบี่ จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง ในระหว่างที่ยังไม่ได้เปิดทําการศาลปกครองภูเก็ตตามประกาศที่ออกตามมาตรา ๓ ให้ศาลปกครองนครศรีธรรมราชมีเขตอํานาจตลอดถึงเขตศาลปกครองภูเก็ตด้วย บรรดาคดีของเขตท้องที่จังหวัดที่ระบุในวรรคหนึ่ง ซึ่งค้างพิจารณาอยู่ในศาลปกครองนครศรีธรรมราช ในวันเปิดทําการศาลปกครองภูเก็ตตามมาตรา ๓ ให้คงพิจารณาพิพากษาในศาลปกครองนครศรีธรรมราช มาตรา ๕ ให้ประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
10,353
พระราชบัญญัติการยาสูบแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2561
พระราชบัญญัติ การยาสูบแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ ------------------------------------------------- มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการยาสูบแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ยาสูบ” หมายความว่า ยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต “ใบยา” หมายความว่า ใบยาตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต “กิจการใบยา” หมายความว่า การเพาะปลูกต้นยาสูบ การบ่มใบยา การอบใบยา การหั่นใบยา หรือการดําเนินการอื่นใดเกี่ยวกับใบยาเพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ “ผลิตภัณฑ์จากพืชอื่น” หมายความว่า ผลิตภัณฑ์จากพืชอื่นที่ใช้ในการผลิตหรือที่เป็นประโยชน์ต่อการผลิตยาสูบตามที่กําหนดในกฎกระทรวง “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการการยาสูบแห่งประเทศไทย “ผู้ว่าการ” หมายความว่า ผู้ว่าการการยาสูบแห่งประเทศไทย “พนักงาน” หมายความว่า พนักงานของการยาสูบแห่งประเทศไทย “ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างของการยาสูบแห่งประเทศไทย “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้ หมวด ๑ การจัดตั้ง ทุน และทุนสํารอง ----------------------- มาตรา ๕ ให้จัดตั้งการยาสูบขึ้น เรียกว่า “การยาสูบแห่งประเทศไทย” เรียกโดยย่อว่า “ยสท.” และให้ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “Tobacco Authority of Thailand” เรียกโดยย่อว่า “TOAT” และ ให้มีตราเครื่องหมายของ “ยสท.” รูปลักษณะของตราเครื่องหมายตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖ ให้ ยสท. เป็นนิติบุคคล มีสํานักงานใหญ่อยู่ในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดอื่น และจะตั้งสํานักงานสาขาหรือตัวแทนขึ้น ณ ที่อื่นใดภายในหรือภายนอกราชอาณาจักรก็ได้ แต่การตั้งสํานักงานภายนอกราชอาณาจักรต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี มาตรา ๗ ให้ ยสท. มีวัตถุประสงค์ในการผลิตบุหรี่ซิกาแรตซึ่งเป็นกิจการผูกขาดของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต และการกระทํากิจการอื่น ดังต่อไปนี้ (๑) ประกอบอุตสาหกรรมและดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับยาสูบ ใบยา หรือผลิตภัณฑ์จากพืชอื่นทั้งในและนอกราชอาณาจักร (๒) รับจ้างผลิตยาสูบเพื่อส่งออกไปจําหน่ายนอกราชอาณาจักร (๓) ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับอุปกรณ์ เครื่องมือ หรือเครื่องใช้ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมหรือธุรกิจตาม (๑) (๔) ส่งเสริมให้มีการศึกษา วิจัย พัฒนา และปรับปรุงคุณภาพและมาตรฐานการผลิตยาสูบ ใบยาหรือผลิตภัณฑ์จากพืชอื่น (๕) ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐในการป้องกันและปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับยาสูบ ใบยา หรือผลิตภัณฑ์จากพืชอื่น (๖) ดําเนินกิจการอื่นอันเกี่ยวเนื่องกับการผลิตบุหรี่ซิกาแรตหรือการกระทํากิจการอื่นตาม (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) หรือเพื่อประโยชน์แก่ ยสท. มาตรา ๘ ให้ ยสท. มีอํานาจกระทํากิจการภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๗ ทั้งในและนอกราชอาณาจักร และอํานาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) ถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิครอบครอง มีทรัพยสิทธิต่าง ๆ หรือมีสิทธิอื่น (๒) กระทํานิติกรรมใด ๆ (๓) ช่วยเหลือ แนะนํา ให้คําปรึกษา ฝึกอบรม ให้ความรู้หรือความร่วมมือทางวิชาการเกี่ยวกับยาสูบ ใบยา หรือผลิตภัณฑ์จากพืชอื่น (๔) กู้หรือยืมเงิน (๕) ให้กู้หรือให้ยืมเงินโดยมีหลักประกันด้วยบุคคลหรือทรัพย์สินเพื่อส่งเสริมกิจการใบยาอุตสาหกรรมยาสูบ หรือผลิตภัณฑ์จากพืชอื่น (๖) ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อใช้ในการลงทุน (๗) จัดตั้งบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ ยสท. ทั้งนี้ บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งในราชอาณาจักรจะมีคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวถือหุ้นอันเป็นทุนเกินกว่าร้อยละสี่สิบเก้าของทุน จดทะเบียนของบริษัทนั้นไม่ได้ (๘) จัดตั้งนิติบุคคลที่ไม่มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากําไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน (๙) เข้าร่วมกิจการกับหน่วยงานอื่นไม่ว่าจะเป็นของเอกชนหรือของรัฐทั้งในและนอกราชอาณาจักร หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนที่เป็นนิติบุคคล หรือถือหุ้นในบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์แก่กิจการอันอยู่ในวัตถุประสงค์ของ ยสท. (๑๐) ปกครอง ดูแล บํารุงรักษา จัดการ ใช้ และจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สินของ ยสท. (๑๑) กระทําการอย่างอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดการให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์ของ ยสท. มาตรา ๙ ทุนของ ยสท. ประกอบด้วย (๑) เงินและทรัพย์สินที่ได้รับโอนมาตามมาตรา ๓๙ (๒) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้เป็นทุน (๓) เงินหรือทรัพย์สินอื่นที่รับโอนจากทางราชการหรือองค์การของรัฐบาล มาตรา ๑๐ ยสท. อาจมีรายได้ดังต่อไปนี้ (๑) รายได้จากการประกอบอุตสาหกรรมและการดําเนินธุรกิจตามวัตถุประสงค์ของ ยสท. (๒) รายได้จากการลงทุนหรือเข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นเพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับหรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการของ ยสท. (๓) ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือรายได้อื่นจากการดําเนินกิจการ (๔) ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินของ ยสท. มาตรา ๑๑ เงินสํารองของ ยสท. ให้ประกอบด้วยเงินสํารองธรรมดาซึ่งตั้งไว้เผื่อขาดเงินสํารองเพื่อขยายกิจการ เงินสํารองเพื่อการไถ่ถอนหนี้ และเงินสํารองอื่น ๆ ตามความประสงค์แต่ละอย่างโดยเฉพาะ ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร เงินสํารองจะนําออกใช้ได้ก็แต่โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ มาตรา ๑๒ ทรัพย์สินของ ยสท. ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี หมวด ๒ คณะกรรมการและผู้ว่าการ -------------------------- มาตรา ๑๓ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการการยาสูบแห่งประเทศไทย”ประกอบด้วย ประธานกรรมการหนึ่งคนและกรรมการอื่นอีกไม่เกินเก้าคน ให้ผู้ว่าการเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ผู้ว่าการแต่งตั้งพนักงานจํานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่น มาตรา ๑๔ ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านเกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกฎหมาย มาตรา ๑๕ ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละสามปี เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการขึ้นใหม่ ให้ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตําแหน่งเพื่อดําเนินงานต่อไปจนกว่าประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่จะดํารงตําแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้ มาตรา ๑๖ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๕ ประธานกรรมการและกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่จนกว่าจะมีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่าง และในกรณีที่ประธานกรรมการพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้กรรมการที่เหลือเลือกกรรมการคนหนึ่งทําหน้าที่ประธานกรรมการเป็นการชั่วคราว ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการแทนตําแหน่งที่ว่าง หรือในกรณีที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตําแหน่งให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งแทนตําแหน่งที่ว่างหรือเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว มาตรา ๑๗ ให้คณะกรรมการมีหน้าที่และอํานาจวางนโยบายและควบคุมดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของ ยสท. หน้าที่และอํานาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) ออกระเบียบหรือข้อบังคับเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอํานาจตามมาตรา ๗ และมาตรา ๘ (๒) ประกาศกําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการประกอบกิจการใบยา หรือการดําเนินการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จากพืชอื่น (๓) ออกระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารและการดําเนินงาน (๔) ออกระเบียบหรือข้อบังคับการประชุมและการดําเนินกิจการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ (๕) ออกข้อบังคับว่าด้วยการปฏิบัติงานของผู้ว่าการ และการมอบให้ผู้อื่นปฏิบัติงานแทนผู้ว่าการ (๖) ออกระเบียบหรือข้อบังคับว่าด้วยการบรรจุ แต่งตั้ง การประเมินผลงาน การเลื่อนเงินเดือน หรือลดเงินเดือน วินัยและการลงโทษทางวินัย การร้องทุกข์และการอุทธรณ์การลงโทษทางวินัยการออกจากตําแหน่ง ตลอดจนการกําหนดตําแหน่ง อัตราเงินเดือน ค่าจ้าง และเงินอื่น ๆ ของพนักงานและลูกจ้าง (๗) ออกข้อบังคับว่าด้วยกองทุนสงเคราะห์ หรือการสงเคราะห์อื่นเพื่อสวัสดิการของพนักงานลูกจ้าง และครอบครัว (๘) ออกระเบียบว่าด้วยเครื่องแบบและเครื่องแต่งกายของประธานกรรมการ กรรมการ ผู้ว่าการและพนักงาน (๙) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดําเนินกิจการตามที่คณะกรรมการมอบหมายระเบียบหรือข้อบังคับซึ่งมีข้อความจํากัดอํานาจผู้ว่าการหรือผู้ซึ่งผู้ว่าการมอบหมายในการทํานิติกรรมให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๑๘ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการเป็นผู้แต่งตั้งผู้ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ว่าการ มาตรา ๒๐ ผู้ว่าการมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละไม่เกินสี่ปี และอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน มาตรา ๒๑ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๐ ผู้ว่าการพ้นจากตําแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) สัญญาจ้างสิ้นสุดลง (๔) คณะรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่หรือมีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ (๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ มาตรา ๒๒ ผู้ว่าการมีหน้าที่บริหารกิจการของ ยสท. ให้เป็นไปตามกฎหมาย นโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรี ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และนโยบายที่คณะกรรมการกําหนด และมีอํานาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง ผู้ว่าการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการในการบริหารกิจการของ ยสท. มาตรา ๒๓ ผู้ว่าการมีอํานาจ (๑) บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย และกิจการอื่นด้านการบริหารงานบุคคลของพนักงานและลูกจ้าง ตามระเบียบหรือข้อบังคับที่คณะกรรมการกําหนดแต่ถ้าเป็นพนักงานตั้งแต่ตําแหน่งผู้อํานวยการฝ่ายหรือเทียบเท่าขึ้นไปจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการก่อน (๒) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานและกําหนดเงื่อนไขในการทํางานของพนักงานและลูกจ้าง โดยไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบหรือข้อบังคับและนโยบายที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๔ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้ว่าการเป็นผู้แทนของ ยสท. และเพื่อการนี้ผู้ว่าการอาจมอบให้บุคคลใดปฏิบัติงานแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกําหนด กิจการที่ผู้ว่าการกระทําโดยฝ่าฝืนระเบียบหรือข้อบังคับตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง ย่อมไม่ผูกพัน ยสท.เว้นแต่คณะกรรมการจะให้สัตยาบัน มาตรา ๒๕ ในกรณีที่ผู้ว่าการไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ด้วยเหตุหนึ่งเหตุใด หรือเมื่อตําแหน่งผู้ว่าการว่างลงและยังมิได้มีการแต่งตั้งผู้ว่าการ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งพนักงานในระดับรองผู้ว่าการคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทน แต่ในกรณีที่ไม่มีรองผู้ว่าการหรือรองผู้ว่าการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทน ให้ผู้รักษาการแทนผู้ว่าการมีหน้าที่และอํานาจอย่างเดียวกับผู้ว่าการ มาตรา ๒๖ ประธานกรรมการ กรรมการ และพนักงาน อาจได้รับโบนัสหรือเงินรางวัลตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด หมวด ๓ การร้องทุกข์และการสงเคราะห์ ------------------------- มาตรา ๒๗ พนักงานและลูกจ้างมีสิทธิร้องทุกข์ได้ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด มาตรา ๒๘ ให้ ยสท. จัดให้มีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กองทุนสงเคราะห์ หรือการสงเคราะห์อื่นเพื่อสวัสดิการของพนักงาน ลูกจ้าง และครอบครัว ในกรณีพ้นจากตําแหน่ง ประสบอุบัติเหตุ เจ็บป่วย ตาย หรือกรณีอื่นอันควรแก่การสงเคราะห์ ทั้งนี้ตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกําหนด การจัดให้มีกองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นตามวรรคหนึ่ง การกําหนดหลักเกณฑ์การออกเงินสมทบเข้ากองทุนสงเคราะห์ การกําหนดประเภทของผู้ซึ่งพึงได้รับการสงเคราะห์ และหลักเกณฑ์การสงเคราะห์ ตลอดจนการจัดการเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะห์ให้เป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกําหนด หมวด ๔ การเงิน การบัญชี และการตรวจสอบ -------------------------- มาตรา ๒๙ ให้ ยสท. จัดทํางบประมาณประจําปีโดยจําแนกเงินที่จะได้รับในปีหนึ่ง ๆ และค่าใช้จ่ายในการดําเนินกิจการ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินกิจการ ให้แยกเป็นงบลงทุนและงบทําการ สําหรับงบลงทุนให้นําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบ ส่วนงบทําการให้นําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ มาตรา ๓๐ รายได้ที่ ยสท. ได้รับจากการดําเนินกิจการในปีหนึ่ง ๆ ให้ตกเป็นของ ยสท. สําหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินกิจการ และเมื่อได้หักรายจ่ายสําหรับการดําเนินงาน ค่าภาระต่าง ๆ ที่เหมาะสม รวมตลอดถึงค่าบํารุงรักษา ค่าเสื่อมราคา เงินสํารองตามมาตรา ๑๑ หนี้เงินกู้ที่ถึงกําหนดชําระกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กองทุนสงเคราะห์หรือการสงเคราะห์อื่นเพื่อสวัสดิการของพนักงานและลูกจ้างตามมาตรา ๒๘ และเงินลงทุนตามที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว เหลือเท่าใดให้ ยสท.นําส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ทั้งนี้ ตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกําหนด มาตรา ๓๑ ให้ ยสท. เปิดบัญชีเงินฝากไว้กับธนาคารตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกําหนด มาตรา ๓๒ ให้ ยสท. วางและรักษาไว้ซึ่งระบบการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปแยกตามประเภทงานส่วนที่สําคัญ มีการลงรายการรับและจ่ายเงิน สินทรัพย์และหนี้สินที่แสดงกิจการที่เป็นอยู่จริงและตามที่ควรตามประเภทงาน พร้อมด้วยข้อความอันเป็นที่มาของรายการดังกล่าว และให้มีการตรวจสอบบัญชีภายในเป็นประจํา มาตรา ๓๓ ให้ ยสท. จัดทํางบการเงินส่งผู้สอบบัญชีภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี มาตรา ๓๔ ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือบุคคลภายนอกตามที่คณะกรรมการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชี และทําการตรวจสอบรับรองบัญชีและการเงินทุกประเภทของ ยสท. ทุกรอบปีบัญชี ให้ผู้สอบบัญชีจัดทํารายงานการสอบบัญชีและการเงินเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อเสนอต่อรัฐมนตรีภายในหนึ่งร้อยหกสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี มาตรา ๓๕ ให้ ยสท. จัดทําและโฆษณารายงานประจําปีที่ล่วงมาแล้ว โดยแสดงงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว รวมทั้งรายงานสรุปผลงานของ ยสท. ในปีที่ล่วงมาแล้ว หมวด ๕ การกํากับและควบคุม ------------------------- มาตรา ๓๖ ให้รัฐมนตรีมีหน้าที่และอํานาจกํากับโดยทั่วไปซึ่งกิจการของ ยสท. เพื่อการนี้จะสั่งให้ ยสท. ชี้แจงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ทํารายงาน กระทําการหรือยับยั้งการกระทําใดเพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการดําเนินกิจการของ ยสท. ได้ มาตรา ๓๗ ในกรณีที่ ยสท. จะต้องเสนอเรื่องใด ๆ ไปยังคณะรัฐมนตรี ให้ ยสท. นําเรื่องเสนอรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อไปยังคณะรัฐมนตรี ในการนี้ รัฐมนตรีอาจเสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีด้วยก็ได้ มาตรา ๓๘ ยสท. ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีก่อน จึงจะดําเนินการดังต่อไปนี้ได้ (๑) โครงการลงทุนที่มีมูลค่าตั้งแต่หนึ่งพันล้านบาทขึ้นไป (๒) กู้ยืมหรือให้กู้ยืมเงินเป็นจํานวนเกินคราวละหนึ่งร้อยล้านบาท (๓) ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อใช้ในการลงทุน (๔) จําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาเกินสิบล้านบาท (๕) จัดตั้งบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดในหรือนอกราชอาณาจักร (๖) เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่น หรือถือหุ้นในบริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด หรือเข้าเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนที่เป็นนิติบุคคล บทเฉพาะกาล ----------------------------- มาตรา ๓๙ ให้กระทรวงการคลังโอนบรรดากิจการ เงิน ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ หนี้ และความรับผิด ของกระทรวงการคลังในส่วนที่เกี่ยวกับกิจการของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ที่มีอยู่ ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับไปเป็นของ ยสท. ซึ่งตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้ แต่ทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ให้โอนเฉพาะในส่วนที่จําเป็นต่อการดําเนินกิจการของ ยสท. ดังนี้ (๑) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นที่ตั้งสํานักงาน โรงพยาบาลโรงงานยาสูบ หรือใช้ในกิจการของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ตามรายการที่รัฐมนตรีกําหนดตามข้อเสนอของกรมธนารักษ์ร่วมกับโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง รวมทั้งส่วนควบและอุปกรณ์ ให้โอนไปเป็นของ ยสท. ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ (๒) อสังหาริมทรัพย์อื่นตามที่กรมธนารักษ์และ ยสท. ตกลงร่วมกันและรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบซึ่งต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มิให้นําบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยที่ราชพัสดุมาใช้บังคับกับการโอนตามวรรคหนึ่ง ในระหว่างที่ยังมิได้โอนอสังหาริมทรัพย์ตาม (๒) ให้ ยสท. ใช้ประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ต่อไปได้โดยไม่ต้องเสียค่าเช่า มาตรา ๔๐ ให้ประธานกรรมการและกรรมการอํานวยการโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลังตามระเบียบการบริหารงานโรงงานยาสูบ พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบการบริหารงานโรงงานยาสูบ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับเป็นประธานกรรมการและกรรมการการยาสูบแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัตินี้ และปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีคณะกรรมการการยาสูบแห่งประเทศไทยตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มาตรา ๔๑ ให้ผู้อํานวยการยาสูบ ตามระเบียบการบริหารงานโรงงานยาสูบ พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบการบริหารงานโรงงานยาสูบ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นผู้ว่าการตามพระราชบัญญัตินี้ และปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะครบกําหนดตามสัญญาจ้าง ทั้งนี้ ให้ได้รับค่าตอบแทนคงที่ ค่าตอบแทนพิเศษ และสิทธิประโยชน์อื่นตามสัญญาจ้างต่อไป การนับวาระการดํารงตําแหน่งของผู้ว่าการตามมาตรา ๒๐ ให้นับรวมวาระการดํารงตําแหน่งการเป็นผู้อํานวยการยาสูบด้วย มาตรา ๔๒ ให้บรรดาพนักงานและลูกจ้างของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ซึ่งดํารงตําแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของ ยสท. ตามพระราชบัญญัตินี้ แล้วแต่กรณี โดยให้ได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นเท่าที่เคยได้รับอยู่เดิมไปพลางก่อน จนกว่าผู้ว่าการจะได้บรรจุและแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งแต่จะแต่งตั้งให้ได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง สวัสดิการและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นต่ํากว่าที่ได้รับอยู่เดิมไม่ได้ ทั้งนี้ ให้เสร็จสิ้นภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ การเปลี่ยนสถานะไปเป็นพนักงานหรือลูกจ้างของ ยสท. ตามวรรคหนึ่ง ไม่ถือว่าเป็นการออกจากงานเพราะสังกัดเดิมเลิกจ้าง และให้ถือว่าระยะเวลาการทํางานในขณะที่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง เป็นระยะเวลาที่ทํางานให้แก่ ยสท. มาตรา ๔๓ ให้กองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพยังคงอยู่ต่อไป โดยให้ ยสท. ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้มีฐานะเป็นนายจ้าง มาตรา ๔๔ บรรดาคดีเกี่ยวกับโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ซึ่งกระทรวงการคลังเป็นคู่ความหรือเข้าเกี่ยวข้องในฐานะใด ๆ ที่ได้ยื่นฟ้องไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ ยสท. เข้าเป็นคู่ความหรือเป็นผู้เกี่ยวข้องในฐานะนั้นแทน ไม่ว่าการดําเนินกระบวนพิจารณานั้นจะอยู่ในชั้นใดและให้ถือว่าผู้รับมอบอํานาจให้ดําเนินคดีแทนกระทรวงการคลังในคดีนั้น ๆ เป็นผู้รับมอบอํานาจจาก ยสท. ต่อไปด้วย มาตรา ๔๕ บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคํา สั่ง ของโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคําสั่ง ตามพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
10,354
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 251) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลของผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูล
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 251) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สําหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลของผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูล อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 4 และมาตรา 5 (4) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 759) พ.ศ. 2565 อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม สําหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลของผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูล ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “การให้บริการศูนย์ข้อมูล” หมายความว่า การให้บริการดังต่อไปนี้ (1) การให้บริการพื้นที่ของเซิร์ฟเวอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการจัดเก็บประมวลผล และเชื่อมต่อข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (2) การให้บริการสนับสนุนการให้บริการตาม (1) ดังต่อไปนี้ (ก) การให้บริการสํารองข้อมูลเพื่อป้องกันเหตุขัดข้องอันทําให้ข้อมูลเกิดความเสียหาย (ข) การให้บริการเชื่อมต่อเครือข่ายกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตหรือผู้ให้บริการคลาวด์ หรือ (ค) การให้บริการบริหารจัดการระบบและการรักษาความปลอดภัยทางสารสนเทศ ข้อ ๒ ให้ผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลที่ประสงค์จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลยื่นคําขอตามแบบแนบท้ายประกาศนี้พร้อมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ณ กองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่สําหรับผู้ประกอบการที่อยู่ในความรับผิดชอบของกองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ หรือสํานักงานสรรพากรพื้นที่สําหรับผู้ประกอบการที่มีสถานประกอบการซึ่งเป็นสํานักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่รับผิดชอบของสํานักงานสรรพากรพื้นที่นั้น หรือส่งคําขอตามแบบดังกล่าวพร้อมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์มายังที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ของกรมสรรพากร [email protected] ภายในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2570 ข้อ ๓ ผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลที่จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (2) เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (3) เป็นผู้ประกอบการซึ่งได้รับการส่งเสริมในกิจการศูนย์ข้อมูลตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุนหรือตามกฎหมายว่าด้วยการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสําหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย และ (4) เป็นผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลที่ไม่ได้นําภาษีซื้อที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการศูนย์ข้อมูลมาหักออกจากภาษีขายในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มภายในสามปีก่อนเดือนภาษีที่ยื่นหรือส่งคําขอตามข้อ 2 อื่นๆ กรณีที่ผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลได้นําภาษีซื้อที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการศูนย์ข้อมูลมาหักออกจากภาษีขายในการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มภายในสามปีก่อนเดือนภาษีที่ยื่นหรือส่งคําขอตามข้อ 2 แล้ว แต่ได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่มโดยไม่นําภาษีซื้อที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการศูนย์ข้อมูลดังกล่าวมาหักออกจากภาษีขายภายในสามปีก่อนเดือนภาษีที่ยื่นหรือส่งคําขอ พร้อมชําระภาษี เบี้ยปรับ และเงินเพิ่ม ตามมาตรา 89 และมาตรา 89/1 แห่งประมวลรัษฎากร ก่อนวันยื่นหรือส่งคําขอตามข้อ 2 ให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลดังกล่าว มีคุณสมบัติเป็นไปตามวรรคหนึ่ง ข้อ ๔ ผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลที่ได้ยื่นหรือส่งคําขอตามข้อ 2 และมีคุณสมบัติและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กําหนดตามข้อ 3 แล้ว ให้ได้รับสิทธิยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 759) พ.ศ. 2565 ตั้งแต่วันถัดจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งผลการอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร ข้อ ๕ ให้ผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลที่ประสงค์จะขอยกเลิกสิทธิยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 759) พ.ศ. 2565 ยื่นคําขอตามแบบแนบท้ายประกาศนี้ ณ กองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่สําหรับผู้ประกอบการที่อยู่ในความรับผิดชอบของกองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ หรือสํานักงานสรรพากรพื้นที่สําหรับผู้ประกอบการที่มีสถานประกอบการซึ่งเป็นสํานักงานใหญ่ตั้งอยู่ในเขตท้องที่รับผิดชอบของสํานักงานสรรพากรพื้นที่นั้น หรือส่งคําขอตามแบบดังกล่าวทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์มายังที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ของกรมสรรพากร [email protected] ทั้งนี้ ให้สิทธิยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสําหรับการให้บริการศูนย์ข้อมูลของผู้ประกอบกิจการศูนย์ข้อมูลนั้นสิ้นสุดลงนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งผลการพิจารณาจากอธิบดีกรมสรรพากร ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ประกาศ ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2566 ลวรณ แสงสนิท (นายลวรณ แสงสนิท) อธิบดีกรมสรรพากร
10,355